SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 4
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การเขียนผังงาน
ในขั้นตอนของการพัฒนาโปรแกรม ขั้นตอนที่ 2 คือการออกแบบโปรแกรม ผู้เขียนโปรแกรม
สามารถใช้ภาษาที่คล้ายคลึงกับภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เพื่อเขียนขั้นตอนวิธีในการทางานของ
โปรแกรมที่ออกแบบไว้ เรียก ภาษานั้นว่า รหัสจาลอง (pseudo code) และนอกจากนี้ ผู้เขียนโปรแกรมยัง
สามารถใช้ผังงาน (flowchart) ซึ่งเป็นภาพสัญลักษณ์ที่ใช้ถ่ายทอดลาดับการทางานจากขั้นตอนวิธีได้
เช่นเดียวกันสัญลักษณ์ที่ใช้ในผังงานมีความหมายเฉพาะที่ผู้เขียนจะต้องศึกษาให้เข้าใจก่อนนาไปใช้
โครงสร้างควบคุมการทางานทั้ง 3 รูปแบบที่กล่าวในข้างต้น สามารถแสดงโดยใช้สัญลักษณ์ของผังงานที่
เหมาะสมทาให้ผู้เขียนโปรแกรมเห็นภาพของลาดับการทางานของขั้นตอนวิธีที่ชัดเจน
สัญลักษณ์ คือ เครื่องหมายรูปแบบต่างๆ ซึ่งใช้สาหรับสื่อความหมายให้เข้าใจตรงกัน สถาบัน
มาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา (American National Standard Institute, ANSI) ได้กาหนดสัญลักษณ์
ไว้เป็นมาตรฐานแล้ว สามารถนาไปใช้ได้ตามความเหมาะสม ซึ่งมีรายละเอียดรูปแบบและความหมายที่ควร
ทราบตามตารางต่อไปนี้
ตารางแสดงความหมายของสัญลักษณ์
สัญลักษณ์ ชื่อเรียก ความหมาย
การทางานด้วยมือ
(manual operation)
การนาข้อมูลเข้าและการส่งข้อมูล
ออกโดยทั่วไป (general
input/output)
แถบบันทึกข้อมูล
(magnetic tape)
จานบันทึกข้อมูล
(magnetic disk)
การนาเข้าข้อมูลด้วยมือ
(manual input)
การแสดงข้อมูลออกด้วยจอภาพ
(display)
การทาเอกสาร
(documents)
แทนจุดที่มีการทางานด้วยแรงคน
แทนจุดที่จะนาข้อมูลเข้าหรือส่งข้อมูล
ออกจากระบบคอมพิวเตอร์ โดยไม่ระบุ
ชนิดของอุปกรณ์
แทนจุดที่จะนาข้อมูลเข้าหรือส่งข้อมูล
ออกจากโปรแกรมด้วยแถบบันทึกข้อมูล
แทนจุดที่จะนาข้อมูลเข้าหรือส่งข้อมูลออกจาก
โปรแกรมด้วยจานบันทึก
ข้อมูล
แทนจุดที่นาข้อมูลเข้าด้วยมือ
แทนจุดที่แสดงข้อมูลด้วยจอภาพ
แทนจุดที่มีข้อมูลเป็นเอกสารหรือแสดง
ข้อมูลออกด้วยเครื่องพิมพ์
สัญลักษณ์ ชื่อเรียก
การตัดสินใจ
(decision)
การปฏิบัติงาน
(process)
การเตรียมการ
(preparation)
การเรียกโปรแกรมภายนอก
(external subroutine)
การเรียกโปรแกรมภายใน
(internal subroutine)
การเรียงข้อมูล
(sort)
ทิศทาง
(flow line)
ความหมาย
แทนจุดที่จะต้องเลือกปฏิบัติอย่างใดอย่าง
หนึ่ง
แทนจุดที่มีการปฏิบัติงานอย่างใดอย่าง
หนึ่ง
แทนจุดกาหนดชื่อข้อมูลหรือค่าเริ่มต้น
ต่างๆ
แทนจุดเรียกใช้โปรแกรมย่อยที่ไม่ได้อยู่
ในโปรแกรมนั้น
แทนจุดเรียกใช้โปรแกรมย่อยที่อยู่ใน
โปรแกรมนั้น
แทนจุดที่มีการเรียงข้อมูลใหม่ตาม
ข้อกาหนด
แทนทิศทางของขั้นตอนการดาเนินงาน
ซึ่งจะปฏิบัติต่อเนื่องกันตามหัวลูกศรชี้
สัญลักษณ์ ชื่อเรียก
หมายเหตุ
(annotation)
การติดต่อทางไกล
(communication link)
จุดเชื่อมต่อ
(connector)
จุดเชื่อมต่อหน้ากระดาษ
(offpage connector)
เริ่มต้นและลงท้าย
(terminal)
ความหมาย
แทนจุดที่แสดงรายละเอียดเพิ่มเติมหรือ
หมายเหตุของจุดต่างๆที่แสดงในผังงาน
ด้วยสัญลักษณ์ไม่ชัดเจน
แทนช่วงที่มีการติดต่อหรือย้าย
ข้อมูลด้วยระบบการติดต่อทางไกล
แทนจุดเชื่อมต่อของผังงานเมื่อใช้
สัญลักษณ์เพื่อให้ดูง่ายขึ้น
แทนจุดเชื่อมต่อของผังงานที่อยู่คนละ
หน้ากระดาษ
แทนจุดเริ่มต้นและลงท้ายของผังงานของ
โปรแกรมหลักและโปรแกรมย่อย

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic 6.0
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมVisual Basic 6.0พื้นฐานการเขียนโปรแกรมVisual Basic 6.0
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic 6.0Bass Bass
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Sunipha Ruamsap
 
Lesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptLesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptskiats
 
นายณภัทร เกษรสิทธิ์
นายณภัทร  เกษรสิทธิ์นายณภัทร  เกษรสิทธิ์
นายณภัทร เกษรสิทธิ์Napat Kasonsit
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์Onrutai Intanin
 
โปรแกรม dream 8
โปรแกรม dream 8โปรแกรม dream 8
โปรแกรม dream 8kruppp46
 
ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0
ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0
ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0Bass Bass
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นNattapon
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beansการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beansDonnapha Bor-sap
 
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6Tom Nuntiya
 
นาย รัฐติกรณ์ ประไพสนธิพงศ์ ม
นาย รัฐติกรณ์  ประไพสนธิพงศ์  มนาย รัฐติกรณ์  ประไพสนธิพงศ์  ม
นาย รัฐติกรณ์ ประไพสนธิพงศ์ มTarnn Prapaisonthipong
 

Was ist angesagt? (20)

Photo3
Photo3Photo3
Photo3
 
Know1 2
Know1 2Know1 2
Know1 2
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic 6.0
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมVisual Basic 6.0พื้นฐานการเขียนโปรแกรมVisual Basic 6.0
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic 6.0
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Lesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptLesson1 programing concept
Lesson1 programing concept
 
นายณภัทร เกษรสิทธิ์
นายณภัทร  เกษรสิทธิ์นายณภัทร  เกษรสิทธิ์
นายณภัทร เกษรสิทธิ์
 
การเขียนโปรแกรมด้วย Vb 6.0
การเขียนโปรแกรมด้วย Vb 6.0การเขียนโปรแกรมด้วย Vb 6.0
การเขียนโปรแกรมด้วย Vb 6.0
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
Flowchart
FlowchartFlowchart
Flowchart
 
5
55
5
 
โปรแกรม dream 8
โปรแกรม dream 8โปรแกรม dream 8
โปรแกรม dream 8
 
Mind map
Mind mapMind map
Mind map
 
ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0
ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0
ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beansการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans
 
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
 
นาย รัฐติกรณ์ ประไพสนธิพงศ์ ม
นาย รัฐติกรณ์  ประไพสนธิพงศ์  มนาย รัฐติกรณ์  ประไพสนธิพงศ์  ม
นาย รัฐติกรณ์ ประไพสนธิพงศ์ ม
 
เมื่อเครื่องมือหาย
เมื่อเครื่องมือหายเมื่อเครื่องมือหาย
เมื่อเครื่องมือหาย
 
การเขียนโปรแกรมด้วยVb 6.0
การเขียนโปรแกรมด้วยVb 6.0การเขียนโปรแกรมด้วยVb 6.0
การเขียนโปรแกรมด้วยVb 6.0
 

Ähnlich wie การเขียนผังงาน

3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlopPor Kung
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมComputer ITSWKJ
 
(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)JoyCe Zii Zii
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
โครงงานใบที่5
โครงงานใบที่5โครงงานใบที่5
โครงงานใบที่5Anny Na Sonsawan
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมPassawan' Koohar
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาN'Name Phuthiphong
 
โครงงานประเภท5
โครงงานประเภท5โครงงานประเภท5
โครงงานประเภท5Yong Panupun
 
Lesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรม
Lesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรมLesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรม
Lesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรมErrorrrrr
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีssuser5adb53
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงานSomporn Boonrin
 

Ähnlich wie การเขียนผังงาน (20)

Unit2flowchart
Unit2flowchartUnit2flowchart
Unit2flowchart
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlop
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรม
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
โครงงานใบที่5
โครงงานใบที่5โครงงานใบที่5
โครงงานใบที่5
 
โครงงานใบที่5
โครงงานใบที่5โครงงานใบที่5
โครงงานใบที่5
 
โครงงานใบที่5
โครงงานใบที่5โครงงานใบที่5
โครงงานใบที่5
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
โครงงานประเภท5
โครงงานประเภท5โครงงานประเภท5
โครงงานประเภท5
 
K5
K5K5
K5
 
Lesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรม
Lesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรมLesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรม
Lesson 1การเริ่มต้นใช้โปรแกรม
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซี
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงาน
 

Mehr von ThaNit YiamRam (20)

Lesson 21
Lesson 21Lesson 21
Lesson 21
 
Lesson 20
Lesson 20Lesson 20
Lesson 20
 
Lesson 19
Lesson 19Lesson 19
Lesson 19
 
Lesson 18
Lesson 18Lesson 18
Lesson 18
 
Lesson 17
Lesson 17Lesson 17
Lesson 17
 
Lesson 16
Lesson 16Lesson 16
Lesson 16
 
Lesson 15
Lesson 15Lesson 15
Lesson 15
 
Lesson 14
Lesson 14Lesson 14
Lesson 14
 
Lesson 13
Lesson 13Lesson 13
Lesson 13
 
Lesson 12
Lesson 12Lesson 12
Lesson 12
 
Lesson 11
Lesson 11Lesson 11
Lesson 11
 
Lesson 10
Lesson 10Lesson 10
Lesson 10
 
Lesson 9
Lesson 9Lesson 9
Lesson 9
 
Lesson 8
Lesson 8Lesson 8
Lesson 8
 
Lesson 7
Lesson 7Lesson 7
Lesson 7
 
Lesson 6
Lesson 6Lesson 6
Lesson 6
 
Lesson 5
Lesson 5Lesson 5
Lesson 5
 
Lesson 22
Lesson 22Lesson 22
Lesson 22
 
Lesson 4
Lesson 4Lesson 4
Lesson 4
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 

การเขียนผังงาน

  • 1. การเขียนผังงาน ในขั้นตอนของการพัฒนาโปรแกรม ขั้นตอนที่ 2 คือการออกแบบโปรแกรม ผู้เขียนโปรแกรม สามารถใช้ภาษาที่คล้ายคลึงกับภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เพื่อเขียนขั้นตอนวิธีในการทางานของ โปรแกรมที่ออกแบบไว้ เรียก ภาษานั้นว่า รหัสจาลอง (pseudo code) และนอกจากนี้ ผู้เขียนโปรแกรมยัง สามารถใช้ผังงาน (flowchart) ซึ่งเป็นภาพสัญลักษณ์ที่ใช้ถ่ายทอดลาดับการทางานจากขั้นตอนวิธีได้ เช่นเดียวกันสัญลักษณ์ที่ใช้ในผังงานมีความหมายเฉพาะที่ผู้เขียนจะต้องศึกษาให้เข้าใจก่อนนาไปใช้ โครงสร้างควบคุมการทางานทั้ง 3 รูปแบบที่กล่าวในข้างต้น สามารถแสดงโดยใช้สัญลักษณ์ของผังงานที่ เหมาะสมทาให้ผู้เขียนโปรแกรมเห็นภาพของลาดับการทางานของขั้นตอนวิธีที่ชัดเจน สัญลักษณ์ คือ เครื่องหมายรูปแบบต่างๆ ซึ่งใช้สาหรับสื่อความหมายให้เข้าใจตรงกัน สถาบัน มาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา (American National Standard Institute, ANSI) ได้กาหนดสัญลักษณ์ ไว้เป็นมาตรฐานแล้ว สามารถนาไปใช้ได้ตามความเหมาะสม ซึ่งมีรายละเอียดรูปแบบและความหมายที่ควร ทราบตามตารางต่อไปนี้
  • 2. ตารางแสดงความหมายของสัญลักษณ์ สัญลักษณ์ ชื่อเรียก ความหมาย การทางานด้วยมือ (manual operation) การนาข้อมูลเข้าและการส่งข้อมูล ออกโดยทั่วไป (general input/output) แถบบันทึกข้อมูล (magnetic tape) จานบันทึกข้อมูล (magnetic disk) การนาเข้าข้อมูลด้วยมือ (manual input) การแสดงข้อมูลออกด้วยจอภาพ (display) การทาเอกสาร (documents) แทนจุดที่มีการทางานด้วยแรงคน แทนจุดที่จะนาข้อมูลเข้าหรือส่งข้อมูล ออกจากระบบคอมพิวเตอร์ โดยไม่ระบุ ชนิดของอุปกรณ์ แทนจุดที่จะนาข้อมูลเข้าหรือส่งข้อมูล ออกจากโปรแกรมด้วยแถบบันทึกข้อมูล แทนจุดที่จะนาข้อมูลเข้าหรือส่งข้อมูลออกจาก โปรแกรมด้วยจานบันทึก ข้อมูล แทนจุดที่นาข้อมูลเข้าด้วยมือ แทนจุดที่แสดงข้อมูลด้วยจอภาพ แทนจุดที่มีข้อมูลเป็นเอกสารหรือแสดง ข้อมูลออกด้วยเครื่องพิมพ์
  • 3. สัญลักษณ์ ชื่อเรียก การตัดสินใจ (decision) การปฏิบัติงาน (process) การเตรียมการ (preparation) การเรียกโปรแกรมภายนอก (external subroutine) การเรียกโปรแกรมภายใน (internal subroutine) การเรียงข้อมูล (sort) ทิศทาง (flow line) ความหมาย แทนจุดที่จะต้องเลือกปฏิบัติอย่างใดอย่าง หนึ่ง แทนจุดที่มีการปฏิบัติงานอย่างใดอย่าง หนึ่ง แทนจุดกาหนดชื่อข้อมูลหรือค่าเริ่มต้น ต่างๆ แทนจุดเรียกใช้โปรแกรมย่อยที่ไม่ได้อยู่ ในโปรแกรมนั้น แทนจุดเรียกใช้โปรแกรมย่อยที่อยู่ใน โปรแกรมนั้น แทนจุดที่มีการเรียงข้อมูลใหม่ตาม ข้อกาหนด แทนทิศทางของขั้นตอนการดาเนินงาน ซึ่งจะปฏิบัติต่อเนื่องกันตามหัวลูกศรชี้
  • 4. สัญลักษณ์ ชื่อเรียก หมายเหตุ (annotation) การติดต่อทางไกล (communication link) จุดเชื่อมต่อ (connector) จุดเชื่อมต่อหน้ากระดาษ (offpage connector) เริ่มต้นและลงท้าย (terminal) ความหมาย แทนจุดที่แสดงรายละเอียดเพิ่มเติมหรือ หมายเหตุของจุดต่างๆที่แสดงในผังงาน ด้วยสัญลักษณ์ไม่ชัดเจน แทนช่วงที่มีการติดต่อหรือย้าย ข้อมูลด้วยระบบการติดต่อทางไกล แทนจุดเชื่อมต่อของผังงานเมื่อใช้ สัญลักษณ์เพื่อให้ดูง่ายขึ้น แทนจุดเชื่อมต่อของผังงานที่อยู่คนละ หน้ากระดาษ แทนจุดเริ่มต้นและลงท้ายของผังงานของ โปรแกรมหลักและโปรแกรมย่อย