SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 23
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ปัจจัยภายนอกระดับธุรกิจ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการดาเนินธุรกิจค้าปลีก
ปัจจัยภายนอก: ระดับธุรกิจ
ร้านค้าปลีก
คู่ค้า
(ผู้ผลิต/ผู้ค้าส่ง)
คู่แข่ง ผู้บริโภค
อิทธิพลของผู้บริโภคต่อร้านค้าปลีก
A B C D
เลือกร้านไหนดี ?
อิทธิพลของผู้บริโภคต่อร้านค้าปลีก
Bulk Breaking
Assortment
Storing /
Inventory Keeping
Service
สนองความต้องการลูกค้า
ลูกค้าพึงพอใจ
- กลับมาซื้อซ้า
- กลับมาซื้อบ่อยขึ้น
- กลับมาซื้อครั้งละเยอะขึ้นรายได้
กาไรสูงขึ้น
อะไรที่ลูกค้าคานึงถึงเมื่อเลือกร้านค้าปลีก
กลยุทธ์เพื่อดึงดูดลูกค้า
 การส่งเสริมการขาย
 พนักงานขาย
 การคัดเลือกสินค้า
 การตั้งราคา
 การจัดบรรยากาศของร้าน
 การเลือกทาเลที่ตั้งร้าน
 การให้บริการของร้าน
อิทธิพลของคู่ค้ากับการค้าปลีก
ลูกค้ามักซื้อสินค้าที่เป็นแบรนด์ที่ตนเองรู้จัก
อิทธิพลของคู่ค้ากับการค้าปลีก
ร้านค้าปลีกจึงต้องมีการคัดเลือกสินค้าให้สอดคล้องกับความต้องการ
อิทธิพลของคู่ค้ากับการค้าปลีก
โรงงานผู้ผลิต
คลังสินค้าสารองเพื่อการขาย
ร้านค้าปลีกซื้อจานวนมาก
 ต้นทุนต่อหน่วยต่า
 กาไรต่อหน่วยสูง
ความเสี่ยง
 สินค้าไม่ตรงกับความต้องการ
 สินค้าล้าสมัย
 สินค้าหมดอายุ
ขาดทุน
กลยุทธ์การจัดการความเสี่ยงการค้าปลีก
“ Strategic partnership”
 การร่วมมือของร้านค้าปลีกและคู่ค้า (ผู้ผลิต)
 มุ่งเน้นที่การนาสินค้าเข้าสู่ร้านในเวลาที่เหมาะสม
 เพื่อลดสินค้าคงคลังแต่ยังคงตอบสนองความต้องการลูกค้าได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
ECR
ECR : Efficient consumer response
: แนวคิดเรื่องการปรับปรุงประสิทธิภาพ การดาเนินงานของธุรกิจที่มีผลต่อเนื่องกัน
ในกระบวนการขายและจัดส่งสินค้าจากผู้ผลิตไปยังร้านค้าปลีก โดยยึดผู้บริโภค
เป็นศูนย์กลางด้านข้อมูล
: ประกอบด้วยวัตถุประสงค์ดังนี้
 ลดความเสี่ยงจากการมีสินค้าคงคลังจานวนมาก
 ลดต้นทุนสินการดาเนินงาน
 ลดขั้นตอนการดาเนินการในการเตรียมการผลิตสินค้า
 ตอบสนองความต้องการลูกค้า
 เพิ่มความพึงพอใจของลูกค้า
ECR : Efficient consumer response
กระบวนการเริ่มต้นจากผู้บริโภค ย้อนกลับไปยังผู้ผลิต
ความต้องการของลูกค้า
รวบรวมข้อมูล
แจ้งผู้ผลิต/คู่ค้า
องค์ประกอบหลักของระบบ ECR
1. การจัดการด้านอุปสงค์ : Demand Management
2. การจัดการด้านอุปทาน : Supply Management
3. การพัฒนาและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีร่วมกัน : Enabling Technology
การจัดการด้านอุปสงค์ :
Demand Management
: การบริหารงานเพื่ออานวยให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพสูงสุด ในการ
ตอบสนองความต้องการผู้บริโภค
 การนาเสนอสินค้าใหม่อย่างเหมาะสม
การร่วมมือกันของผู้ผลิต และร้านค้าปลีก ทาให้ได้รับข้อมูล
การบริโภคสินค้าแต่ละกลุ่ม ในแต่ละพื้นที่อย่างถูกต้อง จึงทาให้การ
นาเสนอสินค้าใหม่มีโอกาสประสบความสาเร็จเพิ่มข้น
การจัดการอุปสงค์ประกอบด้วย
การจัดการด้านอุปสงค์ :
Demand Management
 การกาหนดการส่งเสริมการขายร่วมกันอย่างเหมาะสม
จากการที่ผู้ผลิตและผู้ค้าปลีกมีการประสานร่วมกัน มีการเปิดเผยข้อมูล
มีการเชื่อมระบบต่างๆทางเทคโนโลยี มีกระบวนการแบ่งสินค้าออกเป็นหมวดสินค้า
จึงทาให้เกิดการกาหนดบทบาทของกลุ่มสินค้า และแนวทางในการส่งเสริมการขาย
ร่วมกัน เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคกลุ่มเป้ าหมายได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
การจัดการด้านอุปสงค์ :
Demand Management
 การบริหารความหลากหลายของสินค้าอย่างเหมาะสม
เนื่องจากร้านค้าปลีกจะมีพื้นที่จากัด แต่สินค้าต่างๆกลับเพิ่มความหลากหลาย
มากขึ้น ดังนั้นการนาระบบ ERC เข้ามาใช้ในการบริหารจัดการ จะทาให้ทราบ
อย่างชัดเจนว่าสินค้าชนิดใดหรือประเภทใดที่ตรงกับความต้องการของคนหมู่มาก
ซึ่งจะนามาเป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกสินค้าเข้าร้านให้มีความหลากหลายสอดคล้อง
กับข้อจากัดของพื้นที่นั่นเอง
การจัดการด้านอุปสงค์ :
Demand Management
 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในการดาเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ในการบริหารกลุ่มสินค้าร่วมกัน เช่น การออกแบบพื้นที่การขาย หรือแสดงสินค้า
เป็นต้น
การจัดการด้านอุปทาน :
Supply Management
: เป็นกระบวนการที่มุ่งเน้นการเพิ่มปประสิทธิภาพให้การระบบการจัดส่งสินค้า
จากแหล่งผลิตไปจนถึงมือผู้บริโภคได้อย่างรวดเร็วตามความต้องการ โดยมุ่งเน้น
การดาเนินงานที่มีคุณภาพสูง แต่ต้นทุนการดาเนินงานต่า เพื่อจุดมุ่งหมายที่ทาให้
เกิดความสัมพันธ์ระหว่าง
 การจัดส่งสินค้าที่ถูกต้องตรงความต้องการในปริมาณที่เหมาะสม
 การจัดส่งสินค้าการจัดส่งสินค้าไปยังสถานที่ร้านค้า ที่สอดคล้องกับกลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย
 การจัดส่งสินค้าอย่างทันเวลา ไม่ทาเกิดการขาดตลาด
Right Stock
Right Place
Right Time
การจัดการด้านอุปทาน :
Supply Management
การจัดการอุปทานประกอบด้วย
 การจัดเตรียมละเติมสินค้าอย่างต่อเนื่อง
เป็นการพัฒนาการบริหารสินค้าจากผู้ผลิต เพื่อส่งสินค้าให้มีจาหน่ายใน
ร้านค้าปลีกตลอดเวลา จากเดิม 70% เป็น 98% ซึ่งช่วยแก้ปัญหาสินค้าหมดชั้นวาง
ช่วยลดความสูญเสียของพื้นที่ขาย และเพิ่มโอกาสทางการขายให้ร้านค้าปลีก
การจัดการด้านอุปทาน :
Supply Management
การจัดการอุปทานประกอบด้วย
 การลดปริมาณสินค้าคงคลัง
เป็นผลสืบเนื่องจากการจัดเตรียมและเติมสอนค้าอย่างต่อเนื่อง หากการจัด
เตรียมและเติมสินค้าเป็นไปอย่างสม่าเสมอ จะช่วยลดปริมาณสินค้าคงคลัง
ทั้งระบบลงได้
อิทธิพลของคู่แข่งต่อร้านค้าปลีก
อิทธิพลของคู่แข่งต่อร้านค้าปลีก
ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง Market Share
กลยุทธ์ร้านค้าปลีกต่อคู่แข่งขัน
แนวทางสร้างความสาเร็จเหนือคู่แข่ง
 กลยุทธ์ด้านลูกค้า
- สร้างความภักดีของลูกค้า (Loyalty)
- กาหนดตาแหน่งทางการตลาดให้แตกต่างจากคู่แข่ง (Positioning)
- สร้างภาพลักษณ์ของร้านให้มีความชัดเจน (Brand Image)
 กลยุทธ์ด้านคู่ค้า
- Strategic Partnership
 กลยุทธ์ด้านการจัดการค้าปลีก
- การเลือกทาเลที่ตั้ง
- การคัดเลือกสินค้าเข้าร้าน
- การกาหนดราคา
- การออกแบบและจัดร้าน
- การส่งเสริมการขาย

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie Retailing3+1

Customer care for community pharmacist
Customer care for community pharmacistCustomer care for community pharmacist
Customer care for community pharmacistUtai Sukviwatsirikul
 
การจัดการร้านค้าปลีก
การจัดการร้านค้าปลีกการจัดการร้านค้าปลีก
การจัดการร้านค้าปลีกsuttinun jiyaamorndach
 
กูเกิ้ลเพื่อธุรกิจ การตลาดแบบหวังผลได้ขายถึงเป้า
กูเกิ้ลเพื่อธุรกิจ การตลาดแบบหวังผลได้ขายถึงเป้ากูเกิ้ลเพื่อธุรกิจ การตลาดแบบหวังผลได้ขายถึงเป้า
กูเกิ้ลเพื่อธุรกิจ การตลาดแบบหวังผลได้ขายถึงเป้าMasterPeach Brand
 

Ähnlich wie Retailing3+1 (7)

Customer care for community pharmacist
Customer care for community pharmacistCustomer care for community pharmacist
Customer care for community pharmacist
 
Siwaakr 023
Siwaakr 023Siwaakr 023
Siwaakr 023
 
การจัดการร้านค้าปลีก
การจัดการร้านค้าปลีกการจัดการร้านค้าปลีก
การจัดการร้านค้าปลีก
 
Perceptions 040
Perceptions 040Perceptions 040
Perceptions 040
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Case Study : Customer Centric & Lead User 2
Case Study : Customer Centric & Lead User 2Case Study : Customer Centric & Lead User 2
Case Study : Customer Centric & Lead User 2
 
กูเกิ้ลเพื่อธุรกิจ การตลาดแบบหวังผลได้ขายถึงเป้า
กูเกิ้ลเพื่อธุรกิจ การตลาดแบบหวังผลได้ขายถึงเป้ากูเกิ้ลเพื่อธุรกิจ การตลาดแบบหวังผลได้ขายถึงเป้า
กูเกิ้ลเพื่อธุรกิจ การตลาดแบบหวังผลได้ขายถึงเป้า
 

Mehr von Thamonwan Theerabunchorn

ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชรภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชรThamonwan Theerabunchorn
 
Qr code เข้าห้องเรียน
Qr code เข้าห้องเรียนQr code เข้าห้องเรียน
Qr code เข้าห้องเรียนThamonwan Theerabunchorn
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
บทที่  5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯบทที่  5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
บทที่ 5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็Thamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯบทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าวตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าวThamonwan Theerabunchorn
 
3การวางแผนทางธุรกิจ
3การวางแผนทางธุรกิจ3การวางแผนทางธุรกิจ
3การวางแผนทางธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 
2การจัดตั้งธุรกิจ
2การจัดตั้งธุรกิจ2การจัดตั้งธุรกิจ
2การจัดตั้งธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 

Mehr von Thamonwan Theerabunchorn (20)

ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชรภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
 
Qr code เข้าห้องเรียน
Qr code เข้าห้องเรียนQr code เข้าห้องเรียน
Qr code เข้าห้องเรียน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
1intro information system
1intro information system1intro information system
1intro information system
 
บทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketingบทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketing
 
บทที่ 5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
บทที่  5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯบทที่  5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
บทที่ 5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
 
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯบทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าวตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
 
3 c 2
3 c 23 c 2
3 c 2
 
3 c 1
3 c 13 c 1
3 c 1
 
4. 4 ps
4. 4 ps4. 4 ps
4. 4 ps
 
3การวางแผนทางธุรกิจ
3การวางแผนทางธุรกิจ3การวางแผนทางธุรกิจ
3การวางแผนทางธุรกิจ
 
2การจัดตั้งธุรกิจ
2การจัดตั้งธุรกิจ2การจัดตั้งธุรกิจ
2การจัดตั้งธุรกิจ
 
1ผู้ประกอบการ
1ผู้ประกอบการ1ผู้ประกอบการ
1ผู้ประกอบการ
 
Humaness f1
Humaness f1Humaness f1
Humaness f1
 
Lesson 3 4lastest
Lesson 3 4lastestLesson 3 4lastest
Lesson 3 4lastest
 
Lesson9
Lesson9Lesson9
Lesson9
 

Retailing3+1