SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 10
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
Write Your Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่11
2
Write Your Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการ
รวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์
ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม
ความหมาย
เทคโนโลยี
สารสนเทศ
(Information
Technology)
ระบบสารสนเทศ
(Information System)
ขบวนการประมวลผลข่าวสารที่มีอยู่ ให้อยู่ในรูปของข่าวสารที่ เป็นประโยชน์สูง สุด เพื่อเป็นข้อสรุปที่ใช้
สนับสนุนการตัดสินใจของบุคคลระดับบริหาร ขบวนการที่ทําให้เกิดข่าวสารสารสนเทศนี้เรียกว่า การ
ประมวลผลผลสารสนเทศ )Information Processing) และเรียกวิธีการประมวลผลสารสนเทศด้วยเครื่องมือทาง
อีเล็กทรอนิกส์ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ )Information Technology : IT) เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง
เทคโนโลยีที่ประกอบขึ้นด้วยระบบจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ระบบสื่อสารโทรคมนาคม และอุปกรณ์
สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสารสนเทศที่มีการวางแผน จัดการ และใช้ง่านร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ
3
Write Your Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ
ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศแบ่งตามลักษณะการ
บริหารจัดการได้ 3 ระดับดังนี้
- ระดับสูง )Top Level Management) กลุ่มของ
ผู้ใช้ระดับนี้จะเกี่ยวข้องกับ ผู้บริหารระดับสูง มีหน้าที่
กําหนดและวางแผนกลยุทธ์ขององค์กรเพื่อนําไปสู่
เป้ าหมาย โดยมีทั้งสารสนเทศภายใน และสารสนเทศ
ภายนอก เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์โดยรวม ซึ่ง
ระบบสารสนเทศในระดับนี้ต้องออกแบบให้ง่ายและ
สะดวกต่อการใช้งาน ไม่มีความซับซ้อนหรือยุ่งยาก
แสดงผลทางด้านกราฟฟิคบ้าง ต้องตอบสนองที่รวดเร็ว
และทันท่วงทีด้วยเช่นกัน
- ระดับกลาง )Middle Level Management)
เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้ใช้งานระดับการบริหารและจัดการ
องค์กร ซึ่งมีหน้าที่รับนโยบายมาจากผู้บริหารระดับสูง
นํามาสานต่อให้บรรลุตามเป้ าหมายที่กําหนดไว้ ด้วยการ
ใช้หลักบริหารและจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบ
สารสนเทศที่ใช้มักได้มาจากแหล่งข้อมูลภายใน ระบบ
สารสนเทศจึงต้องมีการจัดอันดับทางเลือกแบบต่างๆไว้
โดยเลือกใช้ค่าทางสถิติช่วยพยากรณ์หรือทํานายทิศทาง
ไว้ด้วย หากระดับของการตัดสินใจนั้นมีความซับซ้อนหรือ
ยุ่งยากมากเกินไป
- ระดับปฏิบัติการ )Operation Level
Management) ผู้ใช้กลุ่มนี้จะเกี่ยวข้องกับการผลิตหรือ
การปฏิบัติงานหลักขององค์กร เช่น การผลิตหรือประกอบ
สินค้า งานทั่วไปที่ไม่จําเป็นต้องใช้การวางแผนหรือระดับ
การตัดสินใจมากนัก ข้อมูลหรือสารสนเทศในระดับนี้จะ
ถูกนําไปประมวลผลในระดับกลางและระดับสูงต่อไป
4
Write Your Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ประเภทของระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศสามารถจําแนกได้ตามลักษณะการดําเนินงานได้ดังนี้
1.ระบบสารสนเทศแบบประมวลรายการ(TPS:Transaction Processing Systems )
เป็นระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับการบันทึกและประมวลข้อมูลที่เกิดจาก ธุรกรรมหรือการปฏิบัติงานประจําหรืองานขั้น
พื้นฐานขององค์การ เช่น การซื้อขายสินค้า การบันทึกจํานวนวัสดุคงคลัง เมื่อใดก็ตามที่มีการทําธุรกรรมหรือปฏิบัติงานใน
ลักษณะดังกล่าวข้อมูลที่เกี่ยวข้องจะเกิดขึ้นทันที เช่น ทุกครั้งที่มีการขายสินค้า ข้อมูลที่เกิดขึ้นก็คือ ชื่อลูกค้า ประเภทของ
ลูกค้า จํานวนและราคาของสินค้าที่ขายไป รวมทั้งวิธีการชําระเงินของลูกค้า
2.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS:Management Information System)
คือระบบที่ให้สารสนเทศ ที่ผู้บริหารต้องการ เพื่อให้สามารทํางาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจะรวมทั้งสารสนเทศภายใน
และภายนอกสารสนเทศที่เกี่ยวพันกับองค์กรทั้งในอดีตและปัจจุบัน นอกจากนี้ระบบนี้จะต้องให้สารสนเทศในช่วงเวลาที่
เป็นประโยชน์ เพื่อให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในการวางแผนการควบคุม และการปฏิบัติการขององค์กรได้อย่าง ถูกต้อง
แม้ว่าผู้บริหารที่จะได้รับประโยชน์จากระบบนี้สูงสุดคือผู้บริหารระดับกลาง แต่โดยพื้นฐานของระบบนี้แล้วจะเป็นระบบที่
สามารถสนับสนุนข้อมูลให้ผู้บริหารทั้งสาม ระดับ คือทั้งผู้บริหารระดับต้น ผู้บริหารระดับกลางและผู้บริหารระดับสูง โดย
ระบบนี้จะให้รายงานที่สรุปสารสนเทศซึ่งรวบรวมจากฐานข้อมูลทั้งหมดของบริษัท
3.ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ(DSS:Decision Support System)
เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นจากระบบ MIS อีกระดับหนึ่ง เนื่องจาก ถึงแม้ว่าผู้ที่มีหน้าที่ในการตัดสินใจจะสามารถใช้
ประสบการณ์หรือใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้วในระบบเอ็มไอเอส ของบริษัท สําหรับทําการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพในงาน
ปกติ แต่บ่อยครั้งที่ผู้ตัดสินใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้บริหารในระดับสูงและระดับกลางจะเผชิญกับการตัดสินใจที่
ประกอบด้วยปัจจัยที่ซับซ้อนเกินกว่าความสามารถของมนุษย์ที่จะประมวล เข้าด้วยกันได้อย่างถูกต้อง จึก ทําให้เกิดระบบ
นี้ขึ้น ซึ่งเป็นระบบที่สนับสนุนความต้องการเฉพาะของผู้บริหารแต่ละคน (made by order) ในหลายๆสถานะการณ์ ระบบ
นี้มีหน้าที่ช่วยให้การตัดสินใจเป็นไปได้อย่างสะดวก
4.ระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุ่ม (GDSS:Group Decision Support System)
เป็นระบบย่อยหนึ่งในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ โดยที่ระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะช่วยผู้บริหารในเรื่องการ
ตัดสินใจในเหตุการณ์หรือกิจกรรมทางธุรกิจที่ไม่มีโครงสร้างแน่นอน หรือกึ่งโครงสร้าง ระบบสนับสนุนการตัดสินใจอาจจะ
ใช้กับบุคคลเดียวหรือช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเป็นกลุ่ม นอกจากนั้น ยังมีระบบสนับสนุนผู้บริหารเพื่อช่วยผู้บริหารใน
การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์
5
Write Your Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
5.ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS:Geographic Information System )
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือ Geographic Information System : GIS คือกระบวนการ
ทํางานเกี่ยวกับข้อมูลในเชิงพื้นที่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ที่ใช้กําหนดข้อมูลและสารสนเทศ ที่มี
ความสัมพันธ์กับตําแหน่งในเชิงพื้นที่ เช่น ที่อยู่ บ้านเลขที่ สัมพันธ์กับตําแหน่งในแผนที่
ตําแหน่ง เส้นรุ้ง เส้นแวง ข้อมูลและแผนที่ใน GIS เป็นระบบข้อมูลสารสนเทศที่อยู่ในรูปของ
ตารางข้อมูล และฐานข้อมูลที่มีส่วนสัมพันธ์กับข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) ซึ่งรูปแบบและ
ความสัมพันธ์ของข้อมูลเชิงพื้นที่ทั้งหลาย จะสามารถนํามาวิเคราะห์ด้วย GIS และทําให้สื่อ
ความหมายในเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธ์กับเวลาได้ เช่น การแพร่ขยายของโรคระบาด การ
เคลื่อนย้าย ถิ่นฐาน การบุกรุกทําลาย การเปลี่ยนแปลงของการใช้พื้นที่ ฯลฯ ข้อมูลเหล่านี้เมื่อ
ปรากฏบนแผนที่ทําให้สามารถแปลและสื่อความหมาย ใช้งานได้ง่าย
6.ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง(EIS:Excutive Information System)
เป็นระบบที่สร้างขึ้น เพื่อสนับสนุน สารสนเทศและการตัดสินใจสําหรับผู้บริหารระดับสูง
โดยเฉพาะ หรือ สามารถกล่าวได้ว่าระบบนี้คือส่วนหนึ่งของ DSS ที่แยกออกมา เพื่อเน้นการให้
สารสนเทศที่สําคัญต่อการบริการแก่ผู้บริหาร
7. ปัญญาประดิษฐ์ (AI:Artificial Intelligence)
ระบบที่ทําให้เครื่องคอมพิวเตอร์กลายเป็นผู้ชํานาญการณ์ ในสาขาใดสาขาหนึ่ง คล้ายกับมนุษย์
ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนคล้ายคลึงกับระบบอื่นๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไข
ปัญหาหรือทําการ ตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดีระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก
เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับการจัดการ ความรู้ (Knowledge) มากกว่า
สารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่ มนุษย์ โดย
ใช้หลักการทํางานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)
8.ระบบสํานักงานอัตโนมัติ(OAS: Office Automation System)
เป็นระบบที่ใช้บุคลากรน้อยที่สุด โดยอาศัยเครื่องมือแบบอัตโนมัติและระบบสื่อสารเชื่องโยง
ข่าวสารระหว่างเครื่องมือเหล่านั้นเข้าด้วยกัน QAS มีจุดมุ่งหมายให้เป็นระบบที่ไม่ใช้กระดาษ
(Paperless System) ส่งข่าว สารถึงกันด้วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data
Interchange) แทน ซึ่งมีรูปแบบในการใช้งาน 2 ลักษณะคือ
รูปแบบของระบบงานพิมพ์และการประมวลผลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Publishing &
Processing System) ได้แก่การสื่อสารด้วยข้อความ รูปภาพ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Mail : E-Mail) โทรสาร (FAX)หรือ เสียงอิเล็กทรอนิกส์ (Voice Mail) เป็นต้น
รูปแบบการประชุมทางไกลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Meeting System) เป็นเทคนิค
ที่ทําให้กลุ่มคนทั่วโลกสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ คล้ายการพูดคุยกันโดยตรง เช่น การประชุม
ทางไกลแบบมีแต่เสียง (Audio Conferencing),การประชุมทางไกลแบบมีทั้งภาพและเสียง
(Video Conferencing) หรือ ทั้งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โทรสาร และ เสียงอิเล็กทรอนิกส์
รวมกัน เป็นต้น
6
Write Your Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศกําลังเข้ามามีบทบาทต่อชีวิตประจําวัน สังเกตได้จากการนําคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมา
ใช้ในสํานักงาน การจัดทําระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ การใช้อุปกรณ์อํานวยความสะดวกที่ประกอบด้วย
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ แสดงว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ เพื่อการคํานวณและเก็บข้อมูลได้แพร่
ไปทั่วทุกแห่ง เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสําคัญต่อการแข่งขันด้านธุรกิจและการขยายตัวของบริษัท มีผล
ต่อการให้บริการขององค์การและหน่วยงาน และมีผลต่อการประกอบกิจในแต่ละวัน
ก่อนการปฏิวัติทางอุตสาหกรรม ประชากรโลกส่วนใหญ่จะยึดอาชีพเกษตรกรรมเป็นแกนหลัก มีเพียง
บางส่วนยึดอาชีพบริการและทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม แต่เมื่อมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม พลเมืองใน
ชนบทเป็นจํานวนมากละทิ้งถิ่นฐานเดิม จากการทําไร่ไถนามาทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม ทําให้เกิดการ
ขยายตัวของประชากรในภาคอุตสาหกรรมและการลดน้อยลงในภาคเกษตรกรรม ขณะที่ผู้ทํางานด้านบริการ
จะค่อย ๆ ขยับสูงขึ้นอย่างช้า ๆ พร้อม ๆ กับการมีผู้ทํางานด้านสารสนเทศ ที่ค่อย ๆ เพิ่มสูงขึ้นตลอดอย่าง
ต่อเนื่อง
เทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่งเกิดขึ้น และเริ่มเมื่อไม่นานมานี้เอง เมื่อราว พ.ศ. 2500 เทคโนโลยีสารสนเทศยังไม่
แพร่หลายนัก จะมีเพียงการใช้โทรศัพท์เพื่อการติดต่อสื่อสารและเริ่มมีการนําคอมพิวเตอร์มาช่วยประมวลผล
ข้อมูล งานด้านสารสนเทศอื่น ๆ ส่วนใหญ่ยังคงเป็นงานภายในสํานักงานที่ยังไม่มีอุปกรณ์และเครื่องมือด้าน
เทคโนโลยีมาช่วยงานเท่าใดนัก
เมื่อมีการประดิษฐ์คิดค้นอุปกรณ์ช่วยงานสารสนเทศมากขึ้น เช่น เครื่องถ่ายสําเนาเอกสาร เครื่องพิมพ์ดีด
ไฟฟ้ า เครื่องโทรสาร และเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ อาชีพของประชากรก็ปรับเปลี่ยนมาสู่งานด้านสารสนเทศ
มากขึ้น งานด้านสารสนเทศมีแนวโน้มขยายตัวที่ค่อนข้างสดใส เพราะเทคโนโลยีด้านนี้ได้รับการส่งเสริม
สนับสนุนอย่างเต็มที่ด้วยการพัฒนาค้นคว้าวิจัยให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ ออกมาตอบสนองความต้องการของ
มนุษย์อยู่ตลอดเวลา
7
Write Your Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ
เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในด้านเศรษฐกิจโดยสามารถนํามา
ประยุกต์ใช้ประโยชน์และเพิ่มขีดสามารถในการแข่งขันทั้งภาคการผลิตและ
บริการ ภาคการเงินการคลังทั้งภายใน ประเทศ และเพื่อการส่งออก อีกทั้งยัง
ประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนวิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อม
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาสังคม
เทคโนโลยีสารสนเทศ จัดว่ามีบทบาทสําคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศของ
ทุกประเทศก็ว่าได้ ไม่ว่าจะเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว หรือประเทศที่กําลังพัฒนา
เพราะแม้ว่าเทคโนโลยีนี้จะยังไม่มีบทบาทโดดเด่นในการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม
และการค้าในกลุ่มประเทศที่กําลังพัฒนาทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม แต่ก็มี
ความสําคัญอย่างยิ่งยวดในด้านการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชน
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในด้านการจัดให้บริการสังคมพื้นฐาน (การศึกษา และการ
สาธารณสุข ฯลฯ) ในการบริหารประเทศ และในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมี
ประสิทธิภาพและยั่งยืนในปัจจุบัน อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศได้
กลายเป็นอุตสาหกรรมการผลิตที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีการประมาณการว่า
ตลาดโลกสําหรับอุปกรณ์ ทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ โทรคมนาคม และ
ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ จะมีขนาด 1,600 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 1994
ด้วยอัตราการเติบโตเฉลี่ยถึงร้อยละ 20 ต่อปีการลงทุนในด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศทําให้เกิดศักยภาพในการแข่งขัน จึงย่อมส่งผลทั้งทางตรงและ
ทางอ้อมต่อเศรษฐกิจของนานาประเทศ จากผลการศึกษาใน 11 ประเทศใน
ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ซึ่งมีทั้งประเทศที่ถือว่าพัฒนาแล้ว พัฒนาใหม่ และกําลัง
พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศจะมีผลกระทบต่อสังคมมากน้อยเพียงใด ย่อมขึ้นอยู่
กับว่ามนุษย์จะเลือกใช้มันอย่างไร ในโลกปัจจุบันแรงผลักดันทางเศรษฐกิจมักจะ
มีบทบาทสูงในการกําหนดทิศทางของเทคโนโลยีเป็นที่ทราบกันดีว่าเทคโนโลยี
การสื่อสารทั้งในอดีตและปัจจุบันได้เปลี่ยนโฉมไปอย่างมาก ในอนาคตธุรกิจ
บันเทิงจะเป็นธุรกิจอีกประเภทหนึ่งที่จะทําเงินให้แก่ผู้ประกอบการทางด้านการ
สื่อสารโทรคมนาคม เนื่องจากเป็นธุรกิจที่มีอิทธิพลอย่างสูงกับแนวความคิด
ความอ่านของผู้คนในสังคม เพราะเป็นวิถีทางหนึ่งที่ผู้ร่วมบันเทิงได้รับอิทธิพล
ทางความคิดจากผู้อื่นที่ร่วมอยู่ในวงบันเทิง และยอมรับสถานภาพว่าตนก็เป็น
ส่วนหนึ่งของสังคมนั้นๆ การถ่ายทอดแนวความคิดระหว่างบคคลในสังคมนั้นก็
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
หมายถึง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศกับงานด้านการศึกษา
อันได้แก่ การจัดเก็บข้อมูล และ
ประมวลผลฐานข้อมูล การพัฒนา
ระบบสารสนเทศช่วยการเรียนการ
สอน การวางแผนและการบริหาร
การศึกษา การวางแผนหลักสูตร
การแนะแนวและบริการ การ
ทดสอบวัดผล การพัฒนาบุคลากร
เทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งเป็นที่นิยม
ประยุกต์ใช้ในปัจจุบัน อาทิ
1. ระบบสารสนเทศช่วยในการเรียน
การสอน
2. การสอนทางไกลผ่านดาวเทียม
3. การประชุมทางไกลระบบจอภาพ
4. ระบบฐานข้อมูลการศึกษา
5. ระบบสารสนเทศเอกสาร
8
Write Your Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เทคโนโลยีสารสนเทศด้านการสื่อสารและโทรคมนาคม
เทคโนโลยีของการสื่อสารและโทรคมนาคมในปัจจุบันก้าวไกลไปมาก มีบริการ
มากมายที่ทันสมัยและตอบรับกับการนํามาประยุกต์ใช้ในการดําเนินธุรกิจ
ตัวอย่างการใช้โทรศัพท์ในปัจจุบันนี้ก็มิไดมีไว้เพียงสําหรับคุยสนทนาเพียงอย่าง
เดียวอีกต่อไป แต่มันสามารถช่วยงานได้มากขึ้น โดยอ้างอิงข้อมูลและการเปิด
ให้บริการของบริษัท มีติดต่อสื่อสารผ่านดาวเทียมทั้งภาพและเสียง มี
โทรศัพท์มือถือรุ่นต่าง ๆ ออกมามากมาย พัฒนาทั้งหน่วยงานของภาครัฐและ
เอกชน เช่นเทเลคอม เอเชีย คอร์ปอร์เรชั่น จํากัด (มหาชน) ซึ่งเป็นผู้วางแผนการ
ก่อสร้าง และติดตั้งขยายบริการโทรศัพท์พื้นฐาน 2.6 ล้านเลขหมาย ครอบคลุม
พื้นที่ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล รวมถึงการซ่อมบํารุงรักษาเป็นระยะเวลา 25
ปี และเป็นหนึ่งในผู้ให้บริการในปัจจุบัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ
นําเอาเทคโนโลยีที่เรียกว่า GIS (Geographic Information System) เข้ามาจัดเก็บและ
ประมวลผลข้อมูลทางภูมิศาสตร์ โดยกําหนดข้อมูลด้านตําแหน่งที่ตั้งบนผิวโลก (ground position)
ซึ่งรวบรวม จากแหล่งต่างๆ ทั้งข้อมูลพื้นที่ แผนที่ รูปถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายทางดาวเทียม เพื่อ
นํามาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาผังเมือง ประยุกต์ใช้งานทางด้านธรณีวิทยา การพยากรณ์
อากาศและการควบคุมสิ่งแวดล้อม
9
Write Your Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
นโยบายและแผนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย
การกําหนดนโยบายและแผนพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทยนั้น ได้ให้
ความสําคัญกับบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศในฐานะเครื่องมือในการขับเคลื่อนการ
พัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม โดยเน้นถึงการประยุกต์ใช้ในสาขาหลักที่เป็น
เป้ าหมายของการพัฒนาอย่างคํานึงถึงความสมดุลระหว่างภาคเศรษฐกิจและภาคสังคม
ความหมายของนโยบายและแผนและคําที่เกี่ยวข้อง
นโยบาย (Policy) คือหลัก และวิธีการปฏิบัติซึ่งถือเป็นแนวทางดําเนินการ
แผน (Plan) คือ การกําหนดทิศทางที่ชัดเจนของประเทศ (รัฐบาล องค์กร หน่วยงาน) เพื่อชี้นํา
การปฏิบัติงานในอนาคต
วิสัยทัศน์ (Vision) คือ ความคิดเห็นที่มีขอบเขต ระเบียบ ระบบหรือการมองภายในอนาคต
ของหน่วยงานอยากเห็น อยากให้เป็นภาพที่หน่วยงานคาดหวังให้เกิดขึ้นในอนาคตโดยมี
พื้นฐานอยู่บนความจริงปัจจุบัน
พันธกิจ (Mission) คือ ขอบเขต ภารกิจ บทบาท หน้าที่ของหน่วยงานทั้งที่เป็นไปตามกฎหมาย
และที่ได้รับมอบหมายเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์
ยุทธศาสตร์ (Strategy) คือ การมองทิศทางและวิเคราะห์ไปสู่อนาคต โดยพิจารณาถึง
ทรัพยากร ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ทางเลือกต่าง ๆ ความเป็นไปได้ขององค์การเพื่อระดมมาใช้ และ
พิจารณาว่าสามารถนําองค์การไปสู่ภารกิจและเป้ าหมายที่วางไว้กลยุทธ์ คือ เครื่องมือที่
กําหนดทิศทางการทํางานของหน่วยงานเพื่อให้สอดคล้องกับเป้ าหมายการให้บริการ
10
Write Your Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
หน่วยงานที่มีบทบาทหน้าที่กําหนดนโยบายและแผนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
1. ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ )National Electronics and Computer
Technology Center : NECTEC)
ภารกิจที่สําคัญของเนคเทค คือ การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาในสาขาอิเล็กทรอนิกส์และ
คอมพิวเตอร์ โดยมีวิสัยทัศน์คือ " องค์กรวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ โทรคมนาคม
และสารสนเทศ เพื่อเศรษฐกิจที่แข็งแกร่ง และสังคมแห่งภูมิปัญญา " จนถึงปัจจุบัน คณะกรรมการส่งเสริมการ
พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ ได้จัดทํานโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทยแล้ว 2 ฉบับ คือ
นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย ฉบับ พ .ศ. 2544 - 2549 (ไอที 2000) และนโยบายเทคโนโลยี
สารสนเทศของประเทศไทย ฉบับ พ .ศ. 2544 - 2553 ( ไอที 2010 )
2. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร )Ministry of Information and Communication
Technology) กระทรวงICT
1. นโยบาย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจะผลักดันนโยบาย 4 ด้าน ดังนี้
2. การพัฒนาบุคลากรด้าน I CT
3. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศและการสื่อสาร
4. การพัฒนาอุสาหกรรมซอฟต์แวร์
5. การบริหารจัดการภาครัฐ E – Governmen

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลWanphen Wirojcharoenwong
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1airly2011
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายSassygirl Sassyboy
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศManas Panjai
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศDuangsuwun Lasadang
 
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)Patchara Wioon
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจminniemild25
 

Was ist angesagt? (19)

ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Gis
GisGis
Gis
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (พัชรา P)
 
infomation
infomationinfomation
infomation
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 

Ähnlich wie เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39

Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1paween
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศPom Tanut
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศkruchanon2555
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศkhanidthakpt
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1nutty_npk
 
กลุ่ม 4
กลุ่ม 4กลุ่ม 4
กลุ่ม 4poppy4444
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111jongjang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศTay Chaloeykrai
 

Ähnlich wie เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39 (20)

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
It
ItIt
It
 
ความหมาย
ความหมายความหมาย
ความหมาย
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
กลุ่ม 4
กลุ่ม 4กลุ่ม 4
กลุ่ม 4
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
 

เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39

  • 1. 1 Write Your Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่11
  • 2. 2 Write Your Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการ รวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม ความหมาย เทคโนโลยี สารสนเทศ (Information Technology) ระบบสารสนเทศ (Information System) ขบวนการประมวลผลข่าวสารที่มีอยู่ ให้อยู่ในรูปของข่าวสารที่ เป็นประโยชน์สูง สุด เพื่อเป็นข้อสรุปที่ใช้ สนับสนุนการตัดสินใจของบุคคลระดับบริหาร ขบวนการที่ทําให้เกิดข่าวสารสารสนเทศนี้เรียกว่า การ ประมวลผลผลสารสนเทศ )Information Processing) และเรียกวิธีการประมวลผลสารสนเทศด้วยเครื่องมือทาง อีเล็กทรอนิกส์ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ )Information Technology : IT) เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีที่ประกอบขึ้นด้วยระบบจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ระบบสื่อสารโทรคมนาคม และอุปกรณ์ สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสารสนเทศที่มีการวางแผน จัดการ และใช้ง่านร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ
  • 3. 3 Write Your Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศแบ่งตามลักษณะการ บริหารจัดการได้ 3 ระดับดังนี้ - ระดับสูง )Top Level Management) กลุ่มของ ผู้ใช้ระดับนี้จะเกี่ยวข้องกับ ผู้บริหารระดับสูง มีหน้าที่ กําหนดและวางแผนกลยุทธ์ขององค์กรเพื่อนําไปสู่ เป้ าหมาย โดยมีทั้งสารสนเทศภายใน และสารสนเทศ ภายนอก เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์โดยรวม ซึ่ง ระบบสารสนเทศในระดับนี้ต้องออกแบบให้ง่ายและ สะดวกต่อการใช้งาน ไม่มีความซับซ้อนหรือยุ่งยาก แสดงผลทางด้านกราฟฟิคบ้าง ต้องตอบสนองที่รวดเร็ว และทันท่วงทีด้วยเช่นกัน - ระดับกลาง )Middle Level Management) เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้ใช้งานระดับการบริหารและจัดการ องค์กร ซึ่งมีหน้าที่รับนโยบายมาจากผู้บริหารระดับสูง นํามาสานต่อให้บรรลุตามเป้ าหมายที่กําหนดไว้ ด้วยการ ใช้หลักบริหารและจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบ สารสนเทศที่ใช้มักได้มาจากแหล่งข้อมูลภายใน ระบบ สารสนเทศจึงต้องมีการจัดอันดับทางเลือกแบบต่างๆไว้ โดยเลือกใช้ค่าทางสถิติช่วยพยากรณ์หรือทํานายทิศทาง ไว้ด้วย หากระดับของการตัดสินใจนั้นมีความซับซ้อนหรือ ยุ่งยากมากเกินไป - ระดับปฏิบัติการ )Operation Level Management) ผู้ใช้กลุ่มนี้จะเกี่ยวข้องกับการผลิตหรือ การปฏิบัติงานหลักขององค์กร เช่น การผลิตหรือประกอบ สินค้า งานทั่วไปที่ไม่จําเป็นต้องใช้การวางแผนหรือระดับ การตัดสินใจมากนัก ข้อมูลหรือสารสนเทศในระดับนี้จะ ถูกนําไปประมวลผลในระดับกลางและระดับสูงต่อไป
  • 4. 4 Write Your Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ประเภทของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศสามารถจําแนกได้ตามลักษณะการดําเนินงานได้ดังนี้ 1.ระบบสารสนเทศแบบประมวลรายการ(TPS:Transaction Processing Systems ) เป็นระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับการบันทึกและประมวลข้อมูลที่เกิดจาก ธุรกรรมหรือการปฏิบัติงานประจําหรืองานขั้น พื้นฐานขององค์การ เช่น การซื้อขายสินค้า การบันทึกจํานวนวัสดุคงคลัง เมื่อใดก็ตามที่มีการทําธุรกรรมหรือปฏิบัติงานใน ลักษณะดังกล่าวข้อมูลที่เกี่ยวข้องจะเกิดขึ้นทันที เช่น ทุกครั้งที่มีการขายสินค้า ข้อมูลที่เกิดขึ้นก็คือ ชื่อลูกค้า ประเภทของ ลูกค้า จํานวนและราคาของสินค้าที่ขายไป รวมทั้งวิธีการชําระเงินของลูกค้า 2.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS:Management Information System) คือระบบที่ให้สารสนเทศ ที่ผู้บริหารต้องการ เพื่อให้สามารทํางาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจะรวมทั้งสารสนเทศภายใน และภายนอกสารสนเทศที่เกี่ยวพันกับองค์กรทั้งในอดีตและปัจจุบัน นอกจากนี้ระบบนี้จะต้องให้สารสนเทศในช่วงเวลาที่ เป็นประโยชน์ เพื่อให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในการวางแผนการควบคุม และการปฏิบัติการขององค์กรได้อย่าง ถูกต้อง แม้ว่าผู้บริหารที่จะได้รับประโยชน์จากระบบนี้สูงสุดคือผู้บริหารระดับกลาง แต่โดยพื้นฐานของระบบนี้แล้วจะเป็นระบบที่ สามารถสนับสนุนข้อมูลให้ผู้บริหารทั้งสาม ระดับ คือทั้งผู้บริหารระดับต้น ผู้บริหารระดับกลางและผู้บริหารระดับสูง โดย ระบบนี้จะให้รายงานที่สรุปสารสนเทศซึ่งรวบรวมจากฐานข้อมูลทั้งหมดของบริษัท 3.ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ(DSS:Decision Support System) เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นจากระบบ MIS อีกระดับหนึ่ง เนื่องจาก ถึงแม้ว่าผู้ที่มีหน้าที่ในการตัดสินใจจะสามารถใช้ ประสบการณ์หรือใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้วในระบบเอ็มไอเอส ของบริษัท สําหรับทําการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพในงาน ปกติ แต่บ่อยครั้งที่ผู้ตัดสินใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้บริหารในระดับสูงและระดับกลางจะเผชิญกับการตัดสินใจที่ ประกอบด้วยปัจจัยที่ซับซ้อนเกินกว่าความสามารถของมนุษย์ที่จะประมวล เข้าด้วยกันได้อย่างถูกต้อง จึก ทําให้เกิดระบบ นี้ขึ้น ซึ่งเป็นระบบที่สนับสนุนความต้องการเฉพาะของผู้บริหารแต่ละคน (made by order) ในหลายๆสถานะการณ์ ระบบ นี้มีหน้าที่ช่วยให้การตัดสินใจเป็นไปได้อย่างสะดวก 4.ระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุ่ม (GDSS:Group Decision Support System) เป็นระบบย่อยหนึ่งในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ โดยที่ระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะช่วยผู้บริหารในเรื่องการ ตัดสินใจในเหตุการณ์หรือกิจกรรมทางธุรกิจที่ไม่มีโครงสร้างแน่นอน หรือกึ่งโครงสร้าง ระบบสนับสนุนการตัดสินใจอาจจะ ใช้กับบุคคลเดียวหรือช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเป็นกลุ่ม นอกจากนั้น ยังมีระบบสนับสนุนผู้บริหารเพื่อช่วยผู้บริหารใน การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์
  • 5. 5 Write Your Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 5.ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS:Geographic Information System ) ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือ Geographic Information System : GIS คือกระบวนการ ทํางานเกี่ยวกับข้อมูลในเชิงพื้นที่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ที่ใช้กําหนดข้อมูลและสารสนเทศ ที่มี ความสัมพันธ์กับตําแหน่งในเชิงพื้นที่ เช่น ที่อยู่ บ้านเลขที่ สัมพันธ์กับตําแหน่งในแผนที่ ตําแหน่ง เส้นรุ้ง เส้นแวง ข้อมูลและแผนที่ใน GIS เป็นระบบข้อมูลสารสนเทศที่อยู่ในรูปของ ตารางข้อมูล และฐานข้อมูลที่มีส่วนสัมพันธ์กับข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) ซึ่งรูปแบบและ ความสัมพันธ์ของข้อมูลเชิงพื้นที่ทั้งหลาย จะสามารถนํามาวิเคราะห์ด้วย GIS และทําให้สื่อ ความหมายในเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธ์กับเวลาได้ เช่น การแพร่ขยายของโรคระบาด การ เคลื่อนย้าย ถิ่นฐาน การบุกรุกทําลาย การเปลี่ยนแปลงของการใช้พื้นที่ ฯลฯ ข้อมูลเหล่านี้เมื่อ ปรากฏบนแผนที่ทําให้สามารถแปลและสื่อความหมาย ใช้งานได้ง่าย 6.ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง(EIS:Excutive Information System) เป็นระบบที่สร้างขึ้น เพื่อสนับสนุน สารสนเทศและการตัดสินใจสําหรับผู้บริหารระดับสูง โดยเฉพาะ หรือ สามารถกล่าวได้ว่าระบบนี้คือส่วนหนึ่งของ DSS ที่แยกออกมา เพื่อเน้นการให้ สารสนเทศที่สําคัญต่อการบริการแก่ผู้บริหาร 7. ปัญญาประดิษฐ์ (AI:Artificial Intelligence) ระบบที่ทําให้เครื่องคอมพิวเตอร์กลายเป็นผู้ชํานาญการณ์ ในสาขาใดสาขาหนึ่ง คล้ายกับมนุษย์ ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนคล้ายคลึงกับระบบอื่นๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไข ปัญหาหรือทําการ ตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดีระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับการจัดการ ความรู้ (Knowledge) มากกว่า สารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่ มนุษย์ โดย ใช้หลักการทํางานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) 8.ระบบสํานักงานอัตโนมัติ(OAS: Office Automation System) เป็นระบบที่ใช้บุคลากรน้อยที่สุด โดยอาศัยเครื่องมือแบบอัตโนมัติและระบบสื่อสารเชื่องโยง ข่าวสารระหว่างเครื่องมือเหล่านั้นเข้าด้วยกัน QAS มีจุดมุ่งหมายให้เป็นระบบที่ไม่ใช้กระดาษ (Paperless System) ส่งข่าว สารถึงกันด้วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange) แทน ซึ่งมีรูปแบบในการใช้งาน 2 ลักษณะคือ รูปแบบของระบบงานพิมพ์และการประมวลผลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Publishing & Processing System) ได้แก่การสื่อสารด้วยข้อความ รูปภาพ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail : E-Mail) โทรสาร (FAX)หรือ เสียงอิเล็กทรอนิกส์ (Voice Mail) เป็นต้น รูปแบบการประชุมทางไกลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Meeting System) เป็นเทคนิค ที่ทําให้กลุ่มคนทั่วโลกสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ คล้ายการพูดคุยกันโดยตรง เช่น การประชุม ทางไกลแบบมีแต่เสียง (Audio Conferencing),การประชุมทางไกลแบบมีทั้งภาพและเสียง (Video Conferencing) หรือ ทั้งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โทรสาร และ เสียงอิเล็กทรอนิกส์ รวมกัน เป็นต้น
  • 6. 6 Write Your Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศกําลังเข้ามามีบทบาทต่อชีวิตประจําวัน สังเกตได้จากการนําคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมา ใช้ในสํานักงาน การจัดทําระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ การใช้อุปกรณ์อํานวยความสะดวกที่ประกอบด้วย ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ แสดงว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ เพื่อการคํานวณและเก็บข้อมูลได้แพร่ ไปทั่วทุกแห่ง เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสําคัญต่อการแข่งขันด้านธุรกิจและการขยายตัวของบริษัท มีผล ต่อการให้บริการขององค์การและหน่วยงาน และมีผลต่อการประกอบกิจในแต่ละวัน ก่อนการปฏิวัติทางอุตสาหกรรม ประชากรโลกส่วนใหญ่จะยึดอาชีพเกษตรกรรมเป็นแกนหลัก มีเพียง บางส่วนยึดอาชีพบริการและทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม แต่เมื่อมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม พลเมืองใน ชนบทเป็นจํานวนมากละทิ้งถิ่นฐานเดิม จากการทําไร่ไถนามาทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม ทําให้เกิดการ ขยายตัวของประชากรในภาคอุตสาหกรรมและการลดน้อยลงในภาคเกษตรกรรม ขณะที่ผู้ทํางานด้านบริการ จะค่อย ๆ ขยับสูงขึ้นอย่างช้า ๆ พร้อม ๆ กับการมีผู้ทํางานด้านสารสนเทศ ที่ค่อย ๆ เพิ่มสูงขึ้นตลอดอย่าง ต่อเนื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่งเกิดขึ้น และเริ่มเมื่อไม่นานมานี้เอง เมื่อราว พ.ศ. 2500 เทคโนโลยีสารสนเทศยังไม่ แพร่หลายนัก จะมีเพียงการใช้โทรศัพท์เพื่อการติดต่อสื่อสารและเริ่มมีการนําคอมพิวเตอร์มาช่วยประมวลผล ข้อมูล งานด้านสารสนเทศอื่น ๆ ส่วนใหญ่ยังคงเป็นงานภายในสํานักงานที่ยังไม่มีอุปกรณ์และเครื่องมือด้าน เทคโนโลยีมาช่วยงานเท่าใดนัก เมื่อมีการประดิษฐ์คิดค้นอุปกรณ์ช่วยงานสารสนเทศมากขึ้น เช่น เครื่องถ่ายสําเนาเอกสาร เครื่องพิมพ์ดีด ไฟฟ้ า เครื่องโทรสาร และเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ อาชีพของประชากรก็ปรับเปลี่ยนมาสู่งานด้านสารสนเทศ มากขึ้น งานด้านสารสนเทศมีแนวโน้มขยายตัวที่ค่อนข้างสดใส เพราะเทคโนโลยีด้านนี้ได้รับการส่งเสริม สนับสนุนอย่างเต็มที่ด้วยการพัฒนาค้นคว้าวิจัยให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ ออกมาตอบสนองความต้องการของ มนุษย์อยู่ตลอดเวลา
  • 7. 7 Write Your Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในด้านเศรษฐกิจโดยสามารถนํามา ประยุกต์ใช้ประโยชน์และเพิ่มขีดสามารถในการแข่งขันทั้งภาคการผลิตและ บริการ ภาคการเงินการคลังทั้งภายใน ประเทศ และเพื่อการส่งออก อีกทั้งยัง ประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาสังคม เทคโนโลยีสารสนเทศ จัดว่ามีบทบาทสําคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศของ ทุกประเทศก็ว่าได้ ไม่ว่าจะเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว หรือประเทศที่กําลังพัฒนา เพราะแม้ว่าเทคโนโลยีนี้จะยังไม่มีบทบาทโดดเด่นในการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม และการค้าในกลุ่มประเทศที่กําลังพัฒนาทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม แต่ก็มี ความสําคัญอย่างยิ่งยวดในด้านการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในด้านการจัดให้บริการสังคมพื้นฐาน (การศึกษา และการ สาธารณสุข ฯลฯ) ในการบริหารประเทศ และในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมี ประสิทธิภาพและยั่งยืนในปัจจุบัน อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศได้ กลายเป็นอุตสาหกรรมการผลิตที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีการประมาณการว่า ตลาดโลกสําหรับอุปกรณ์ ทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ โทรคมนาคม และ ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ จะมีขนาด 1,600 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 1994 ด้วยอัตราการเติบโตเฉลี่ยถึงร้อยละ 20 ต่อปีการลงทุนในด้านเทคโนโลยี สารสนเทศทําให้เกิดศักยภาพในการแข่งขัน จึงย่อมส่งผลทั้งทางตรงและ ทางอ้อมต่อเศรษฐกิจของนานาประเทศ จากผลการศึกษาใน 11 ประเทศใน ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ซึ่งมีทั้งประเทศที่ถือว่าพัฒนาแล้ว พัฒนาใหม่ และกําลัง พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศจะมีผลกระทบต่อสังคมมากน้อยเพียงใด ย่อมขึ้นอยู่ กับว่ามนุษย์จะเลือกใช้มันอย่างไร ในโลกปัจจุบันแรงผลักดันทางเศรษฐกิจมักจะ มีบทบาทสูงในการกําหนดทิศทางของเทคโนโลยีเป็นที่ทราบกันดีว่าเทคโนโลยี การสื่อสารทั้งในอดีตและปัจจุบันได้เปลี่ยนโฉมไปอย่างมาก ในอนาคตธุรกิจ บันเทิงจะเป็นธุรกิจอีกประเภทหนึ่งที่จะทําเงินให้แก่ผู้ประกอบการทางด้านการ สื่อสารโทรคมนาคม เนื่องจากเป็นธุรกิจที่มีอิทธิพลอย่างสูงกับแนวความคิด ความอ่านของผู้คนในสังคม เพราะเป็นวิถีทางหนึ่งที่ผู้ร่วมบันเทิงได้รับอิทธิพล ทางความคิดจากผู้อื่นที่ร่วมอยู่ในวงบันเทิง และยอมรับสถานภาพว่าตนก็เป็น ส่วนหนึ่งของสังคมนั้นๆ การถ่ายทอดแนวความคิดระหว่างบคคลในสังคมนั้นก็ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา หมายถึง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศกับงานด้านการศึกษา อันได้แก่ การจัดเก็บข้อมูล และ ประมวลผลฐานข้อมูล การพัฒนา ระบบสารสนเทศช่วยการเรียนการ สอน การวางแผนและการบริหาร การศึกษา การวางแผนหลักสูตร การแนะแนวและบริการ การ ทดสอบวัดผล การพัฒนาบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งเป็นที่นิยม ประยุกต์ใช้ในปัจจุบัน อาทิ 1. ระบบสารสนเทศช่วยในการเรียน การสอน 2. การสอนทางไกลผ่านดาวเทียม 3. การประชุมทางไกลระบบจอภาพ 4. ระบบฐานข้อมูลการศึกษา 5. ระบบสารสนเทศเอกสาร
  • 8. 8 Write Your Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เทคโนโลยีสารสนเทศด้านการสื่อสารและโทรคมนาคม เทคโนโลยีของการสื่อสารและโทรคมนาคมในปัจจุบันก้าวไกลไปมาก มีบริการ มากมายที่ทันสมัยและตอบรับกับการนํามาประยุกต์ใช้ในการดําเนินธุรกิจ ตัวอย่างการใช้โทรศัพท์ในปัจจุบันนี้ก็มิไดมีไว้เพียงสําหรับคุยสนทนาเพียงอย่าง เดียวอีกต่อไป แต่มันสามารถช่วยงานได้มากขึ้น โดยอ้างอิงข้อมูลและการเปิด ให้บริการของบริษัท มีติดต่อสื่อสารผ่านดาวเทียมทั้งภาพและเสียง มี โทรศัพท์มือถือรุ่นต่าง ๆ ออกมามากมาย พัฒนาทั้งหน่วยงานของภาครัฐและ เอกชน เช่นเทเลคอม เอเชีย คอร์ปอร์เรชั่น จํากัด (มหาชน) ซึ่งเป็นผู้วางแผนการ ก่อสร้าง และติดตั้งขยายบริการโทรศัพท์พื้นฐาน 2.6 ล้านเลขหมาย ครอบคลุม พื้นที่ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล รวมถึงการซ่อมบํารุงรักษาเป็นระยะเวลา 25 ปี และเป็นหนึ่งในผู้ให้บริการในปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ นําเอาเทคโนโลยีที่เรียกว่า GIS (Geographic Information System) เข้ามาจัดเก็บและ ประมวลผลข้อมูลทางภูมิศาสตร์ โดยกําหนดข้อมูลด้านตําแหน่งที่ตั้งบนผิวโลก (ground position) ซึ่งรวบรวม จากแหล่งต่างๆ ทั้งข้อมูลพื้นที่ แผนที่ รูปถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายทางดาวเทียม เพื่อ นํามาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาผังเมือง ประยุกต์ใช้งานทางด้านธรณีวิทยา การพยากรณ์ อากาศและการควบคุมสิ่งแวดล้อม
  • 9. 9 Write Your Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved นโยบายและแผนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย การกําหนดนโยบายและแผนพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทยนั้น ได้ให้ ความสําคัญกับบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศในฐานะเครื่องมือในการขับเคลื่อนการ พัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม โดยเน้นถึงการประยุกต์ใช้ในสาขาหลักที่เป็น เป้ าหมายของการพัฒนาอย่างคํานึงถึงความสมดุลระหว่างภาคเศรษฐกิจและภาคสังคม ความหมายของนโยบายและแผนและคําที่เกี่ยวข้อง นโยบาย (Policy) คือหลัก และวิธีการปฏิบัติซึ่งถือเป็นแนวทางดําเนินการ แผน (Plan) คือ การกําหนดทิศทางที่ชัดเจนของประเทศ (รัฐบาล องค์กร หน่วยงาน) เพื่อชี้นํา การปฏิบัติงานในอนาคต วิสัยทัศน์ (Vision) คือ ความคิดเห็นที่มีขอบเขต ระเบียบ ระบบหรือการมองภายในอนาคต ของหน่วยงานอยากเห็น อยากให้เป็นภาพที่หน่วยงานคาดหวังให้เกิดขึ้นในอนาคตโดยมี พื้นฐานอยู่บนความจริงปัจจุบัน พันธกิจ (Mission) คือ ขอบเขต ภารกิจ บทบาท หน้าที่ของหน่วยงานทั้งที่เป็นไปตามกฎหมาย และที่ได้รับมอบหมายเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ (Strategy) คือ การมองทิศทางและวิเคราะห์ไปสู่อนาคต โดยพิจารณาถึง ทรัพยากร ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ทางเลือกต่าง ๆ ความเป็นไปได้ขององค์การเพื่อระดมมาใช้ และ พิจารณาว่าสามารถนําองค์การไปสู่ภารกิจและเป้ าหมายที่วางไว้กลยุทธ์ คือ เครื่องมือที่ กําหนดทิศทางการทํางานของหน่วยงานเพื่อให้สอดคล้องกับเป้ าหมายการให้บริการ
  • 10. 10 Write Your Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved หน่วยงานที่มีบทบาทหน้าที่กําหนดนโยบายและแผนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1. ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ )National Electronics and Computer Technology Center : NECTEC) ภารกิจที่สําคัญของเนคเทค คือ การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาในสาขาอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์ โดยมีวิสัยทัศน์คือ " องค์กรวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ โทรคมนาคม และสารสนเทศ เพื่อเศรษฐกิจที่แข็งแกร่ง และสังคมแห่งภูมิปัญญา " จนถึงปัจจุบัน คณะกรรมการส่งเสริมการ พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ ได้จัดทํานโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทยแล้ว 2 ฉบับ คือ นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย ฉบับ พ .ศ. 2544 - 2549 (ไอที 2000) และนโยบายเทคโนโลยี สารสนเทศของประเทศไทย ฉบับ พ .ศ. 2544 - 2553 ( ไอที 2010 ) 2. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร )Ministry of Information and Communication Technology) กระทรวงICT 1. นโยบาย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจะผลักดันนโยบาย 4 ด้าน ดังนี้ 2. การพัฒนาบุคลากรด้าน I CT 3. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศและการสื่อสาร 4. การพัฒนาอุสาหกรรมซอฟต์แวร์ 5. การบริหารจัดการภาครัฐ E – Governmen