SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 38
รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
[object Object],[object Object],พระราชบัญญัติการผังเมือง พ . ศ .  2518
 
พระราชบัญญัติการผังเมือง พ . ศ .  ๒๕๑๘ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
พระราชบัญญัติการผังเมือง พ . ศ . 2518   แก้ไขเพิ่มเติม  ( ฉบับที่  2)  พ . ศ . 2525 ( ฉบับที่  3)  พ . ศ . 2535 พ . ร . บ .  ฉบับนี้ให้อำนาจ จัดทำผังเมืองรวมหรือผังเมืองเฉพาะใน  บริเวณเมืองและบริเวณที่เกี่ยวเนื่อง หรือชนบท เพื่อสร้าง  หรือพัฒนาเมือง หรือส่วนหนึ่งของเมืองใหม่หรือแทนเมือง  หรือส่วนของเมืองที่ได้รับความเสียหาย
1.1  พระราชบัญญัติการผังเมืองพ . ศ .2518 ให้มีสภาพแวดล้อมและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีความ  เจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ มีการดำรงรักษาหรือ บูรณะสถานที่  ประวัติศาสตร์หรือโบราณคดี หรือ การบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งภูมิประเทศ ที่งดงามหรือมีคุณค่าทางเศรษฐกิจ ผังเมืองรวม  ใช้ในรูปกฎกระทรวงมหาดไทย ผังเมืองเฉพาะ  ใช้ในรูปพระราชบัญญัติ
1.1  พระราชบัญญัติการผังเมืองพ . ศ .2518 พ . ร . บ .  การผังเมืองประกอบด้วยบทบัญญัติ  84  มาตรา แบ่งออกเป็น  11  หมวด คือ ส่วนคำจำกัดความ หมวด  1  คณะกรรมการผังเมือง กำหนดส่วประกอบของคณะกรรมการ อำนาจหน้าที่ วาระการ  ดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่ง และการประชุมคณะกรรมการ หมวด  2  การสำรวจเพื่อวางและจัดทำผังเมืองหรือผังเฉพาะ โดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา กำหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขตการวางผัง เจ้าพนักงานการผังและอำนาจหน้าที่ หมวด  3  การวางและจักทำผังเมืองรวม กำหนดส่วนประกอบพื้นฐานของผังเมืองรวม ขั้นตอน วิธิการ และระยะเวลา ในการจัดทำและวางผังเมืองรวม
1.1  พระราชบัญญัติการผังเมืองพ . ศ .2518 หมวด  4  การใช้บังคับผังเมืองรวม กำหนดระยะเวลาการใช้บังคับ การขยายเวลา การปรับปรุงและแก้ไขผ้งเมืองรวม หมวด  5  การวางและจัดทำผังเฉพาะ กำหนส่วนประกอบพื้นฐานของผังเมืองเฉพาะ ขั้นตอน วิธีการและระยะเวลา ในการวางและจัดทำผังเมืองเฉพาะ หมวด  6  การใช้บังคับผังเมืองเฉพาะ กำหนดระยะเวลาการใช้บังคับ การขยายเวลา การปรับปรุงและแก้ไขผังเมืองเฉพาะ หมวด  7  คณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่น กำหนดส่วนประกอบของคณะกรรมการ อำนาจหน้าที่ วาระการดำรงตำแหน่ง และการประชุมคณะกรรมการ
1.1  พระราชบัญญัติการผังเมืองพ . ศ .2518 หมวด  8  การรื้อย้ายหรือดัดแปลงอาคาร กำหนดรายละเอียดการดำเนินการรื้อ ย้าย หรือดัดแปลงอาคารโดยคณะกรรมการ บริหารผังเมืองส่วนท้องถิ่น หมวด  9  การอุทธรณ์ สิทธิในการอุทธรณ์ ระยะเวลา  30  วัน คณะกรรมการอุทธรณ์ ส่วนประกอบ อำนาจ  หน้าที่ วาระการดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแน่ง หลักเกณฑ์ และวธีการอุทธรณ์ หมวด  10  บทเบ็ดเสร็จ กำหนดรายละเอียดในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ของเจ้าพนักงาน และ  คณะกรรมการฯ หมวด  11  บทกำหนดโทษ กำหนดบทลงโทษสำหรับผู้ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามผังเมืองฯ ไม่ส่งเอกสาร หลักฐานที่ เกี่ยวข้อง ขัดขวางมิให้ความสะดวก ฝ่าฝืนคำสั่งให้รื้อ หรือย้ายเอกสาร
1.1  พระราชบัญญัติการผังเมืองพ . ศ .2518 การนำผังเมืองไปปฏิบัติโดยการใช้กฎหมายผังเมือง ก การใช้บังคับผังเมืองรวม ม . 26  การใช้บังคับผังเมืองรวมให้กระทำโดยใช้กฎกระทรวง -  ผังเมืองรวมให้ใช้บังคับได้ไม่เกิน  5  ปี -  ภายใน  1  ปี ก่อนส้นสุดระยะเวลาการใช้บังคับ ให้ท้องที่สำรวจและ รับฟังความคิดเห็นเพื่อปรับปรุงผังเมืองรวม  -  หากสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมไม่มีการเปลี่ยนแปลงในสาระสำคัญ สามารถขยายเวลาการใช้บังคับออกไปอีกได้  5  ปี -  หากไม่สามารถดำเนินการแก้ไขผังเมืองรวมได้ทันอาจขยายเวลาได้อีก  2  ครั้งครั้งละไม่เกิน  1  ปี -  ผังเมืองรวมไม่ได้ใช้บังคับย้อนหลัง ม  27  เมื่อมีกฎกระทรวงบังคับใช้ผังเมืองรวมแล้วห้ามใช้ประโยชน์ที่ดิน หรือปฏิบัติการขัดแย้งกับ  ข้อกำหนดของผังเมืองรวม -  ผู้ฝ่าฝืนมีความผิดต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน  6  เดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
1.1  พระราชบัญญัติการผังเมืองพ . ศ .2518 ข .  การใช้บังคับผังเมืองเฉพาะ ม . 41  ผังเมืองเฉพาะจะใช้ในท้องที่ใดให้ตราเป็นพระราชบัญญัติ  -  พ . ร . บ .  ผังเมืองเฉพาะอาจขยายระยะเวลาใช้บังคับต่อไปอีกได้ -  ในระหว่างการใช้บังคับ หากสถานการณ์และสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงอาจแก้ไขปรับปรุง  ข้อกำหนดและรายละเอียดที่ไม่เกี่ยวกับการเวนคืนโดยใช้กฎกระทรวง ม .43  ที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์ของเอกชนให้เวนคืน ถ้า 1  เพื่อใช้เป็น  ทางหลวง 2  เพื่อใช้ในการอันเป็นประโยชน์แก่การผังเมืองอย่างอื่น ม .45  รัฐมนตรีมีอำนาจออกกฎหมาย 1  รายละเอียดของข้อกำหนดต่างๆ 2  หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเพื่อให้เป็นไปตาม พ . ร . บ .  การใช้บังคับผังเมืองเฉพาะ  ม .46  ข้อบัญญัติหรือเทศบัญญัติที่ขัดแย้งให้ใช้กฎกระทรวงตาม ม .45  แทน  ม .48  เมื่อมี พ . ร . บ .  การใช้บังคับผังเมืองเฉพาะแล้วห้ามใช้ประโยชน์หรือแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลง  ผู้ฝ่าฝืนมีความผิดต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน  6  เดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
ลักษณะของผังเมืองรวม ตาม พ . ร . บ . การผังเมือง  2518 (1)  วัตถุประสงค์ในการวางและจัดทำผังเมืองรวม (2)  แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวม (3)  แผนผัง พร้อมข้อกำหนด
ลักษณะของผังเมืองรวม ( 3)  แผนผัง พร้อมข้อกำหนด ก .  แผนผังกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ข .  แผนผังแสดงที่โล่ง ค .  แผนผังแสดงโครงการคมนาคมขนส่ง ง .  แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค ( 4)  รายการประกอบแผนผัง (5)  นโยบาย มาตรการ และวิธีดำเนินการ เพื่อปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ของผังเมืองรวม
ลักษณะของผังเมืองเฉพาะ ตาม พ . ร . บ .  การผังเมือง  2518 (1)  วัตถุประสงค์ในการวางและจัดทำผังเมืองเฉพาะ (2)  แผนที่แสดงเขตของผังเมืองเฉพาะ (3)  แผนผังเมืองหรือผังบริเวณ ก .  แผนผังแสดงการกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน   แนวเขตการแบ่งที่ดินออกเป็นประเภทและย่าน
ลักษณะของผังเมืองเฉพาะ ข .  แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง พร้อมรายละเอียดแสดงแนว และขนาดทางสาธารณะ ค .  แผนผังแสดงรายละเอียดของกิจการสาธารณูปโภค ง .  แผนผังแสดงที่โล่ง จ .  แผนผังแสดงการกำหนดระดับพื้นดิน ฉ .  แผนผังแสดงที่ตั้งของสถานที่ที่มีคุณค่า ทางประวัติศาสตร์ฯ ช .  แผนผังแสดงบริเวณที่มีทรัพยากรธรรมชาติ
(4)  รายการและคำอธิบายประกอบแผนผัง อาคารที่อนุญาต / ไม่อนุญาต (5)  ข้อกำหนดที่จะให้ปฏิบัติหรือไม่ให้ปฏิบัติ มีข้อย่อย  9  ข้อ (6)  รายละเอียด อสังหาริมทรัพย์  ที่จะต้องเวนคืนเพื่อใช้เป็นทางหลวง
( 7)  รายละเอียด อสังหาริมทรัพย์ ที่จะต้องเวนคืน เพื่อใช้ประโยชน์ แก่การผังเมือง (8)  รายละเอียด และแผนที่ อสังหาริมทรัพย์ ที่เป็นสมบัติของแผ่นดิน (9)  แผนที่ แผนผัง หรือรายละเอียดอื่น ตามความจำเป็น
มาตรฐานการใช้ประโยชน์ที่ดินของกรมโยธาธิการและผังเมือง
ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย  ให้ใช้ประโยชน์เพื่อการอยู่อาศัย  สถาบันราชการ สาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง  ให้ใช้ประโยชน์เพื่อการอยู่อาศัย  สถาบันราชการ สาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ ที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก  ให้ใช้ประโยชน์เพื่อการพาณิชยกรรม การอยู่อาศัย สถาบันราชการ  ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมเฉพาะกิจ  ให้ใช้ประโยชน์เพื่อการอุตสาหกรรมที่ให้บริการแก่ชุมชนหรือคลังสินค้า ที่ประกอบกิจการโดยไม่เป็นมลพิษต่อชุมชน ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม  ให้ใช้ประโยชน์เพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม ที่ดินประเภทปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม  ให้ใช้ประโยชน์เพื่อเกษตรกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา  ให้ใช้ประโยชน์เพื่อการศึกษาหรือเกี่ยวข้องกับการศึกษาสถาบันราชการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น ที่ดินประเภทสถาบันการศาสนา  ให้ใช้ประโยชน์เพื่อการศึกษาหรือเกี่ยวข้องกับ ศาสนา การศึกษา ที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ  ให้ใช้ประโยชน์เพื่อกิจการของรัฐ ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตผังเมืองรวมเมืองกาฬสินธุ์
ขั้นตอนการวางผังเมืองรวม 1.  สำรวจ กำหนดเขตผัง 2.  วิเคราะห์ วางผังร่าง ปรึกษาส่วนผังเมืองและส่วนวิเคราะห์ 3.  ประชุมพิจารณาผังร่าง       3.1  ประชุมคณะกรรมการพิจารณาด้านผังเมือง  ( กรมฯ )       3.2  ประชุมคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาประสานงาน              และจัดทำผังเมืองรวม  ( อนุฯ ประสาน ) 4.  ประชุมรับฟังความคิดเห็นของประชาชน       4.1  ประชุมคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม  ( ทปษ )       4.2  ประชุมประชาชน 5.  ประชุมคณะกรรมการผังเมือง  ( พิจารณาร่างผังเมืองรวม )       5.1  ประชุมคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณางานวางและ              จัดทำผังเมืองรวม  ( อนุฯ วางผัง )       5.2  ประชุมคณะกรรมการผังเมือง 6.  ปิดประกาศพร้อมกำหนด  90  วัน 7.  รวบรวม ตรวจสอบ พิจารณาคำร้องและแจ้งผลการพิจารณาคำร้องต่อผู้ร้อง       7.1  ประชุมคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม  ( ทปษ )       7.2  ประชุมคณะกรรมการพิจารณาด้านผังเมือง  ( กรมฯ )       7.3  ประชุมคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคำร้องของผู้มีส่วนได้เสียที่ร้องขอแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกข้อกำหนดเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ที่ดินของผังเมือง  ( อนุฯ คำร้อง )       7.4  ประชุมคณะกรรมการผังเมือง       7.5  แจ้งผลการพิจารณาคำร้องต่อผู้ร้อง 8.  จัดทำเอกสารเสนอกระทรวงมหาดไทย 9.  เสนอคณะกรรมการร่างกฎหมายของกระทรวงมหาดไทย       9.1  ประชุมคณะกรรมการร่างกฎหมายมหาดไทย       9.2  ประชุมกระทรวงมหาดไทย 10.  เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณารับหลักการ 11.  คณะรัฐมนตรีพิจารณาเห็นชอบและส่งให้สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 12.  สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา 13.  สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกานัดประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 14.  กรมฯ จัดทำร่างกฎกระทรวงที่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจแล้ว 15.  สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาส่งให้กระทรวงมหาดไทย 16.  เสนอกระทรวงฯ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยลงนาม 17.  กรมฯ จัดพิมพ์แผนที่และแผนผัง 18.  ส่งกฎกระทรวงไปประกาศราชกิจจานุเบกษา
กฎกระทรวง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนหินกอง - โคกแย้ จังหวัดสระบุรี พ . ศ .  ๒๕๕๐
วัตถุประสงค์ของการประเมินผลผังเมืองรวม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ขั้นตอนการประเมินผลผังเมืองรวม
วิธีการประเมินผล ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
1.  การประเมินการเติบโตของประชากร 1.1  การพิจารณาเป้าหมายประชากร จุดประสงค์   เป็นการประเมินเพื่อให้ทราบว่าการคาดการณ์ประชากร ในเป้าหมายของการวางผังเป็นไปตามที่กำหนดไว้หรือไม่ วิธีการ การประเมินด้านประชากร ประชากรจริง  ( จำนวน  47,929   คน )  น้อยกว่า  ประชากรคาดการณ์  ( จำนวน  56,870  คน ) ผลการประเมิน เปรียบเทียบ ประชากรคาดการณ์  ( ปีที่ทำการประเมิน  2549) ประชากรจริง ( ปีที่ทำการประเมิน  2549) บริเวณที่มีจำนวนประชากรสูงสุด  3  อันดับ บริเวณ ชนบทและเกษตรกรรม บริเวณ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย  บริเวณ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง
1.  การประเมินการเติบโตของประชากร  ( ต่อ ) จุดประสงค์  เป็นการประเมินเพื่อเปรียบเทียบค่าความหนาแน่น ของประชากรในแต่ละหน่วยการใช้ที่ดินต่อความหนาแน่น  ตามเกณฑ์และมาตรฐานผังเมืองรวม  ( ผังเมืองรวมเมืองกาฬสินธุ์ มีจำนวนประชากรน้อยกว่า  60,000  คนถือเป็นเมืองขนาดเล็ก  ) เปรียบเทียบ ค่าความหนาแน่น ( ประชากรในแต่ละบริเวณการใช้ประโยชน์ที่ดิน ) เกณฑ์มาตรฐาน ( ตามประเภทเมืองและประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน ) วิธีการ 1.2  การพิจารณาความหนาแน่น การประเมินความหนาแน่นของประชากร การประเมินความหนาแน่นของประชากร การประเมินความหนาแน่นของประชากร การประเมินความหนาแน่นของจำนวนประชากร  ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน การประเมินความหนาแน่นของประชากร ผลการประเมิน บริเวณ พาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก  ความหนาแน่น   13  คน บริเวณ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง  ความหนาแน่น  10  คน บริเวณ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย  ความหนาแน่น  4  คน บริเวณที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุด  3  อันดับ
2.  การประเมินผลการใช้ประโยชน์ที่ดิน 2.1  การพิจารณาการใช้ประโยชน์ที่ดินหลักและการใช้ประโยชน์ที่ดินรอง จุดประสงค์   เป็นการประเมินเพื่อให้ทราบถึงผลการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินของเมือง  โดยการวิเคราะห์หาความแตกต่างของการใช้ที่ดินแต่ละหมายเลข  นับตั้งแต่มีการประกาศกฎกระทรวงบังคับใช้ตามกฎหมายผังเมืองรวมจนถึงปีที่ทำการประเมินผล การใช้ประโยชน์ที่ดิน ปีฐาน  ( ปีที่วางผัง ) การใช้ประโยชน์ทีดิน ปีปัจจุบัน  ( ปีประเมิน ) วิธีการ ผลการประเมิน เปรียบเทียบ บริเวณ ชนบทและเกษตรกรรม บริเวณ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย  บริเวณ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง บริเวณที่มีจำนวนอาคารเพิ่มจากปีฐาน  ( พ . ศ . 2540 )   สูงสุด  3  อันดับ บริเวณ ชนบทและเกษตรกรรม บริเวณ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย  บริเวณ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง บริเวณที่มีพื้นที่อาคารคลุมดินเพิ่มจากปีฐาน  ( พ . ศ . 2540 )   สูงสุด  3  อันดับ
2.  การประเมินผลการใช้ประโยชน์ที่ดิน  ( ต่อ ) การใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการอื่น  ( รอง ) ข้อกำหนดในกฎกระทรวง ประกาศกฎกระทรวง  ( ฉบับที่  394 ) วิธีการ ผลการประเมิน บริเวณการใช้ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง  มีการใช้ที่ดินเพื่อกิจการอื่น  เกินที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวง   เปรียบเทียบ พื้นที่กิจการอื่นตามกฎกระทรวง พื้นที่การใช้ที่ดินของกิจการอื่น บริเวณการใช้ที่ดินเขตย่อย ที่ เกินที่กำหนด ไว้ในกฎกระทรวง  ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย  เกินที่กำหนด  4   บริเวณ ได้แก่  1.3,1.5,1.9  และ  1.10 ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง  เกินที่กำหนด  9  บริเวณ จากเขตการใช้ที่ดิน 10  บริเวณ  ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมเฉพาะกิจ  เกินที่กำหนด  1  บริเวณ ได้แก่ บริเวณ  4.2 ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม  เกินที่กำหนด   1  บริเวณ ได้แก่ บริเวณ  5.7
2.  การประเมินผลการใช้ประโยชน์ที่ดิน  ( ต่อ ) 2.2  การพิจารณาการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ผิดไปจากกฎกระทรวงกำหนดไว้ จุดประสงค์  เป็นการตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ผิดไปจากกฎกระทรวง ในส่วนของข้อห้ามตามข้อกำหนด ซึ่งมีผลกระทบต่อการใช้ประโยชน์ที่ดินในบริเวณดังกล่าวโดยการตรวจสอบประเภทและกิจกรรมของอาคาร ปัญหาที่พบจากการดำเนินการ 1.  จากคู่มือการติดตามและประเมินผลผังเมืองรวม สำหรับการถ่ายโอนภารกิจ  ของกรมโยธาธิการและผังเมือง  กระทรวงมหาดไทย ไม่ได้มีการกล่าวถึงวิธีการในการวิเคราะห์หรือพิจารณาข้อมูล 2.  เทศบาล ไม่ได้จัดเก็บข้อมูลการใช้ที่ดินที่ผิดไปจากการอนุญาตตามกฎกระทรวง ซึ่งหากมีการจัดเก็บข้อมูลและพิจารณาตามกฎกระทรวงแล้ว น่าจะมีการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ผิดไปจากที่กฎกระทรวงกำหนด  ยกตัวอย่าง เช่น  ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย  ห้ามไม่ให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อ ซื้อขายเศษวัสดุ
3.  การประเมินผลโครงการคมนาคมและขนส่ง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ตามประกาศกฎกระทรวงฉบับที่  394  ( พ . ศ .  2541 )  ผังเมืองรวมเมืองกาฬสินธุ์ ได้ระบุโครงการคมนาคมและขนส่งมี  1   รายการได้แก่  ถนนแบบ ก  ขนาดเขตทาง  20.00  เมตร จำนวน  1  สาย การดำเนินการ ในส่วนของถนนเกษตรสมบูรณ์ได้มีการเวนคืนที่ดินเรียบร้อยแล้ว แต่ในส่วนเชื่อมต่อระหว่างถนนถีนานนท์กับทางเลี่ยงเมือง ได้มีการออกพ ระราชกฤษีกากำหนดเขตในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่ตำบลกาฬสินธุ์ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ พ . ศ .  2540  โดยมีความกว้างของถนน  60  เมตร
4.  ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเมือง จุดประสงค์  เป็นการศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อการใช้ประโยชน์ที่ดิน เช่น บทบาทของเมือง และโครงการพัฒนาในเขตผังเมืองรวม และชุมชนใกล้เคียง รวมทั้งวิเคราะห์ทิศทางการขยายตัวของเมือง ซึ่งมีผลกระทบต่อพื้นที่ในเขตผังเมืองรวม  วิธีการ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ชุมชนเมืองกาฬสินธุ์ มีความสำคัญ ->  เป็นชุมชนศูนย์กลางของจังหวัด  ->  เป็นชุมชนศูนย์กลางบริหาร การปกครอง พาณิชยกรรม  การบริการ และศูนย์กลางการศึกษาในระดับจังหวัด โครงการพัฒนาที่สำคัญ  ->   โครงการก่อสร้างสวนสาธารณะแก่งดอนกลาง  ->   โครงการก่อสร้าง สนามกีฬากลางจังหวัดกาฬสินธุ์ แก่งดอนกลาง สนามกีฬากลางจังหวัดกาฬสินธุ์
ขยายตัวตามทางหลวงหมายเลข  213 ขยายตัวตามเส้นทาง รพช . หมายเลข กส .  11007 ขยายตัวตามแนวถนน หมายเลข  203   ไปอำเภอยางตลาด 4.  ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเมือง  ( ต่อ ) 2.   วิเคราะห์ทิศทางการขยายตัวของเมือง และทางหลวงหมายเลข  214   ไปอำเภอกมลาไสย
ข้อกำหนดตามกฎกระทรวง
ข้อกำหนดตามกฎกระทรวง  ( ต่อ )
ข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินผังเมืองรวมเมืองกาฬสินธุ์ ข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ ประเภทการใช้ที่ดิน ที่อยู่อาศัย พาณิชยกรรม ที่อยู่อาศัย หนาแน่นน้อย ที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง พาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก อนุญาต การอยู่อาศัย   การอยู่อาศัย   -  พาณิชยกรรม -  การอยู  อาศัย สถาบันราชการ  , สาธารณูปโภค , สาธารณูปการ ข้อห้าม (1)   โรงงานทุกจำ พวกว่าด้วยกฎหมายโรงงาน  (2)   สถานที่บรรจุก๊าซและสถานที่เก็บก๊าซตามกฎหมายว่าด้วยการบรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลว (3)   สถานที่เก็บน้ำมันเชื้อเพลิงที่ต้องขออนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการเก็บรักษาน้ำมันเชื้อเพลิง  (4)   กำจัดมูลฝอย (5)   ซื้อขายเศษวัสดุ - (6)  เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่าตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้ม ครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า - (7)  ไซโลเก็บผลผลิตทางการเกษตร - (8)   สุสานและฌาปนสถานตามกฎ -  หมาย ว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน
ข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ ประเภทการใช้ที่ดิน ที่อยู่อาศัย พาณิชยกรรม ที่อยู่อาศัย หนาแน่นน้อย ที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง พาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ข้อยกเว้น (1)   ใช้พื้นที่เพื่อกิจการอื่น ให้ใช้เพิ่มได้อีกไม่เกินร้อย   10   ของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ (2)   สถานีบริการ ร้านจำหน่ายก๊าซ   สถานที่ใช้ก๊าซและสถานที่จำหน่ายอาหารที่ใช้ก๊าซ (3)  สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง (4)  โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวมของชุมชน - (5)   กิจการที่มิได้ระบุห้ามไว้
ข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ ประเภทการใช้ที่ดิน ชนบทและเกษตรกรรม ชนบทและเกษตรกรรม เขตปฏิรูปที่ดิน ที่โล่งเพื่อนันทนาการและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม อนุญาต เพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม ให้ใช้ประโยชน์เพื่อเกษตรกรรมตามกำหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เพื่อนันทนาการ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือสาธารณประโยชน์ สถาบันราชการ , สาธารณูปโภค , สาธารณูปการ ข้อห้าม โรงงานทุกจำพวกตามกฎ หมายว่าด้วยโรงงาน  จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม จัดสรรที่ดินเพื่อพาณิชยกรรม จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม ประเภทห้องแถวหรือตึกแถว การอยู่อาศัยประเภทห้องชุด อาคารชุด หรือหอพัก
ข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ ประเภทการใช้ที่ดิน ชนบทและเกษตรกรรม ชนบทและเกษตรกรรม เขตปฏิรูปที่ดิน ที่โล่งเพื่อนันทนาการและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ข้อยกเว้น ใช้พื้นที่เพื่อกิจการอื่น ให้ใช้เพิ่มได้อีกไม่เกินร้อย   10  ของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ ให้ใช้ประโยชน์เพื่อเกษตรกรรมตามกำหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม - ที่ดินเพื่อพาณิชยกรรมที่เป็นส่วนหนึ่งของที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยและมีพื้นที่ไม่เกินร้อยละ  5  โครงการทั้งหมด - ที่ดินประเภทห้องแถวหรือตึกแถวที่เป็นส่วนหนึ่งของที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยและมีพื้นที่ไม่เกินร้อยละ  5  โครงการทั้งหมด -

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แบบสอบถาม ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
แบบสอบถาม  ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41แบบสอบถาม  ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
สำเร็จ นางสีคุณ
 
การจัดเลี้ยงอาหาร
การจัดเลี้ยงอาหารการจัดเลี้ยงอาหาร
การจัดเลี้ยงอาหาร
พัน พัน
 
โครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินโครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดิน
LittleZozind
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
FURD_RSU
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
noeiinoii
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ARM ARM
 
พุทธนิกาย
พุทธนิกายพุทธนิกาย
พุทธนิกาย
Benz Zenitta
 
การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซียการศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
krupanisara
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
Samorn Tara
 
รายงานสังคม
รายงานสังคมรายงานสังคม
รายงานสังคม
thnaporn999
 

Was ist angesagt? (20)

แบบสอบถาม ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
แบบสอบถาม  ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41แบบสอบถาม  ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
 
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Pptการพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
 
การจัดเลี้ยงอาหาร
การจัดเลี้ยงอาหารการจัดเลี้ยงอาหาร
การจัดเลี้ยงอาหาร
 
โครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินโครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดิน
 
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียงความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
 
หลักการออกแบบ Principle of Design
หลักการออกแบบ Principle of Design หลักการออกแบบ Principle of Design
หลักการออกแบบ Principle of Design
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
 
พุทธนิกาย
พุทธนิกายพุทธนิกาย
พุทธนิกาย
 
การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซียการศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
 
ระบบประปา
ระบบประปาระบบประปา
ระบบประปา
 
Batasan dan muatan rzwp3 k kabupaten kota
Batasan dan muatan rzwp3 k kabupaten kotaBatasan dan muatan rzwp3 k kabupaten kota
Batasan dan muatan rzwp3 k kabupaten kota
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
 
เขาหินซ้อน
เขาหินซ้อนเขาหินซ้อน
เขาหินซ้อน
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
 
รายงานสังคม
รายงานสังคมรายงานสังคม
รายงานสังคม
 
การเขียนแผนปฏิบัติงาน
การเขียนแผนปฏิบัติงานการเขียนแผนปฏิบัติงาน
การเขียนแผนปฏิบัติงาน
 
Kai Zen
Kai ZenKai Zen
Kai Zen
 

Andere mochten auch

กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างบ้านพักอาศัย
กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างบ้านพักอาศัยกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างบ้านพักอาศัย
กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างบ้านพักอาศัย
ยาแก้ไอ รักษาได้
 
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร 2552
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร 2552พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร 2552
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร 2552
Poramate Minsiri
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
Peerapong Veluwanaruk
 

Andere mochten auch (10)

กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างบ้านพักอาศัย
กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างบ้านพักอาศัยกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างบ้านพักอาศัย
กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างบ้านพักอาศัย
 
การจัดภูมิทัศน์ชุมชนน่าอยู่และพื้นที่สาธารณะ
การจัดภูมิทัศน์ชุมชนน่าอยู่และพื้นที่สาธารณะการจัดภูมิทัศน์ชุมชนน่าอยู่และพื้นที่สาธารณะ
การจัดภูมิทัศน์ชุมชนน่าอยู่และพื้นที่สาธารณะ
 
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
 
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร 2552
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร 2552พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร 2552
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร 2552
 
กฎหมายว่าด้วยการผังเมืองและการควบคุมอาคารกับสิ่งแวดล้อม (๑)
กฎหมายว่าด้วยการผังเมืองและการควบคุมอาคารกับสิ่งแวดล้อม (๑)กฎหมายว่าด้วยการผังเมืองและการควบคุมอาคารกับสิ่งแวดล้อม (๑)
กฎหมายว่าด้วยการผังเมืองและการควบคุมอาคารกับสิ่งแวดล้อม (๑)
 
คู่มือการออกแบบสภาพแวดล้อมสำหรับคนพิการ และคนทุกวัย
คู่มือการออกแบบสภาพแวดล้อมสำหรับคนพิการ และคนทุกวัยคู่มือการออกแบบสภาพแวดล้อมสำหรับคนพิการ และคนทุกวัย
คู่มือการออกแบบสภาพแวดล้อมสำหรับคนพิการ และคนทุกวัย
 
กฎหมายสำหรับสถาปนิก
กฎหมายสำหรับสถาปนิกกฎหมายสำหรับสถาปนิก
กฎหมายสำหรับสถาปนิก
 
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคารการติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
 
บันไดเลื่อน Escalator
บันไดเลื่อน Escalatorบันไดเลื่อน Escalator
บันไดเลื่อน Escalator
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
 

2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง

  • 2.
  • 3.  
  • 4.
  • 5. พระราชบัญญัติการผังเมือง พ . ศ . 2518 แก้ไขเพิ่มเติม ( ฉบับที่ 2) พ . ศ . 2525 ( ฉบับที่ 3) พ . ศ . 2535 พ . ร . บ . ฉบับนี้ให้อำนาจ จัดทำผังเมืองรวมหรือผังเมืองเฉพาะใน บริเวณเมืองและบริเวณที่เกี่ยวเนื่อง หรือชนบท เพื่อสร้าง หรือพัฒนาเมือง หรือส่วนหนึ่งของเมืองใหม่หรือแทนเมือง หรือส่วนของเมืองที่ได้รับความเสียหาย
  • 6. 1.1 พระราชบัญญัติการผังเมืองพ . ศ .2518 ให้มีสภาพแวดล้อมและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีความ เจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ มีการดำรงรักษาหรือ บูรณะสถานที่ ประวัติศาสตร์หรือโบราณคดี หรือ การบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งภูมิประเทศ ที่งดงามหรือมีคุณค่าทางเศรษฐกิจ ผังเมืองรวม ใช้ในรูปกฎกระทรวงมหาดไทย ผังเมืองเฉพาะ ใช้ในรูปพระราชบัญญัติ
  • 7. 1.1 พระราชบัญญัติการผังเมืองพ . ศ .2518 พ . ร . บ . การผังเมืองประกอบด้วยบทบัญญัติ 84 มาตรา แบ่งออกเป็น 11 หมวด คือ ส่วนคำจำกัดความ หมวด 1 คณะกรรมการผังเมือง กำหนดส่วประกอบของคณะกรรมการ อำนาจหน้าที่ วาระการ ดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่ง และการประชุมคณะกรรมการ หมวด 2 การสำรวจเพื่อวางและจัดทำผังเมืองหรือผังเฉพาะ โดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา กำหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขตการวางผัง เจ้าพนักงานการผังและอำนาจหน้าที่ หมวด 3 การวางและจักทำผังเมืองรวม กำหนดส่วนประกอบพื้นฐานของผังเมืองรวม ขั้นตอน วิธิการ และระยะเวลา ในการจัดทำและวางผังเมืองรวม
  • 8. 1.1 พระราชบัญญัติการผังเมืองพ . ศ .2518 หมวด 4 การใช้บังคับผังเมืองรวม กำหนดระยะเวลาการใช้บังคับ การขยายเวลา การปรับปรุงและแก้ไขผ้งเมืองรวม หมวด 5 การวางและจัดทำผังเฉพาะ กำหนส่วนประกอบพื้นฐานของผังเมืองเฉพาะ ขั้นตอน วิธีการและระยะเวลา ในการวางและจัดทำผังเมืองเฉพาะ หมวด 6 การใช้บังคับผังเมืองเฉพาะ กำหนดระยะเวลาการใช้บังคับ การขยายเวลา การปรับปรุงและแก้ไขผังเมืองเฉพาะ หมวด 7 คณะกรรมการบริหารการผังเมืองส่วนท้องถิ่น กำหนดส่วนประกอบของคณะกรรมการ อำนาจหน้าที่ วาระการดำรงตำแหน่ง และการประชุมคณะกรรมการ
  • 9. 1.1 พระราชบัญญัติการผังเมืองพ . ศ .2518 หมวด 8 การรื้อย้ายหรือดัดแปลงอาคาร กำหนดรายละเอียดการดำเนินการรื้อ ย้าย หรือดัดแปลงอาคารโดยคณะกรรมการ บริหารผังเมืองส่วนท้องถิ่น หมวด 9 การอุทธรณ์ สิทธิในการอุทธรณ์ ระยะเวลา 30 วัน คณะกรรมการอุทธรณ์ ส่วนประกอบ อำนาจ หน้าที่ วาระการดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแน่ง หลักเกณฑ์ และวธีการอุทธรณ์ หมวด 10 บทเบ็ดเสร็จ กำหนดรายละเอียดในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ของเจ้าพนักงาน และ คณะกรรมการฯ หมวด 11 บทกำหนดโทษ กำหนดบทลงโทษสำหรับผู้ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามผังเมืองฯ ไม่ส่งเอกสาร หลักฐานที่ เกี่ยวข้อง ขัดขวางมิให้ความสะดวก ฝ่าฝืนคำสั่งให้รื้อ หรือย้ายเอกสาร
  • 10. 1.1 พระราชบัญญัติการผังเมืองพ . ศ .2518 การนำผังเมืองไปปฏิบัติโดยการใช้กฎหมายผังเมือง ก การใช้บังคับผังเมืองรวม ม . 26 การใช้บังคับผังเมืองรวมให้กระทำโดยใช้กฎกระทรวง - ผังเมืองรวมให้ใช้บังคับได้ไม่เกิน 5 ปี - ภายใน 1 ปี ก่อนส้นสุดระยะเวลาการใช้บังคับ ให้ท้องที่สำรวจและ รับฟังความคิดเห็นเพื่อปรับปรุงผังเมืองรวม - หากสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมไม่มีการเปลี่ยนแปลงในสาระสำคัญ สามารถขยายเวลาการใช้บังคับออกไปอีกได้ 5 ปี - หากไม่สามารถดำเนินการแก้ไขผังเมืองรวมได้ทันอาจขยายเวลาได้อีก 2 ครั้งครั้งละไม่เกิน 1 ปี - ผังเมืองรวมไม่ได้ใช้บังคับย้อนหลัง ม 27 เมื่อมีกฎกระทรวงบังคับใช้ผังเมืองรวมแล้วห้ามใช้ประโยชน์ที่ดิน หรือปฏิบัติการขัดแย้งกับ ข้อกำหนดของผังเมืองรวม - ผู้ฝ่าฝืนมีความผิดต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
  • 11. 1.1 พระราชบัญญัติการผังเมืองพ . ศ .2518 ข . การใช้บังคับผังเมืองเฉพาะ ม . 41 ผังเมืองเฉพาะจะใช้ในท้องที่ใดให้ตราเป็นพระราชบัญญัติ - พ . ร . บ . ผังเมืองเฉพาะอาจขยายระยะเวลาใช้บังคับต่อไปอีกได้ - ในระหว่างการใช้บังคับ หากสถานการณ์และสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงอาจแก้ไขปรับปรุง ข้อกำหนดและรายละเอียดที่ไม่เกี่ยวกับการเวนคืนโดยใช้กฎกระทรวง ม .43 ที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์ของเอกชนให้เวนคืน ถ้า 1 เพื่อใช้เป็น ทางหลวง 2 เพื่อใช้ในการอันเป็นประโยชน์แก่การผังเมืองอย่างอื่น ม .45 รัฐมนตรีมีอำนาจออกกฎหมาย 1 รายละเอียดของข้อกำหนดต่างๆ 2 หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเพื่อให้เป็นไปตาม พ . ร . บ . การใช้บังคับผังเมืองเฉพาะ ม .46 ข้อบัญญัติหรือเทศบัญญัติที่ขัดแย้งให้ใช้กฎกระทรวงตาม ม .45 แทน ม .48 เมื่อมี พ . ร . บ . การใช้บังคับผังเมืองเฉพาะแล้วห้ามใช้ประโยชน์หรือแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลง ผู้ฝ่าฝืนมีความผิดต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
  • 12. ลักษณะของผังเมืองรวม ตาม พ . ร . บ . การผังเมือง 2518 (1) วัตถุประสงค์ในการวางและจัดทำผังเมืองรวม (2) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวม (3) แผนผัง พร้อมข้อกำหนด
  • 13. ลักษณะของผังเมืองรวม ( 3) แผนผัง พร้อมข้อกำหนด ก . แผนผังกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ข . แผนผังแสดงที่โล่ง ค . แผนผังแสดงโครงการคมนาคมขนส่ง ง . แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค ( 4) รายการประกอบแผนผัง (5) นโยบาย มาตรการ และวิธีดำเนินการ เพื่อปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ของผังเมืองรวม
  • 14. ลักษณะของผังเมืองเฉพาะ ตาม พ . ร . บ . การผังเมือง 2518 (1) วัตถุประสงค์ในการวางและจัดทำผังเมืองเฉพาะ (2) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองเฉพาะ (3) แผนผังเมืองหรือผังบริเวณ ก . แผนผังแสดงการกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน แนวเขตการแบ่งที่ดินออกเป็นประเภทและย่าน
  • 15. ลักษณะของผังเมืองเฉพาะ ข . แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง พร้อมรายละเอียดแสดงแนว และขนาดทางสาธารณะ ค . แผนผังแสดงรายละเอียดของกิจการสาธารณูปโภค ง . แผนผังแสดงที่โล่ง จ . แผนผังแสดงการกำหนดระดับพื้นดิน ฉ . แผนผังแสดงที่ตั้งของสถานที่ที่มีคุณค่า ทางประวัติศาสตร์ฯ ช . แผนผังแสดงบริเวณที่มีทรัพยากรธรรมชาติ
  • 16. (4) รายการและคำอธิบายประกอบแผนผัง อาคารที่อนุญาต / ไม่อนุญาต (5) ข้อกำหนดที่จะให้ปฏิบัติหรือไม่ให้ปฏิบัติ มีข้อย่อย 9 ข้อ (6) รายละเอียด อสังหาริมทรัพย์ ที่จะต้องเวนคืนเพื่อใช้เป็นทางหลวง
  • 17. ( 7) รายละเอียด อสังหาริมทรัพย์ ที่จะต้องเวนคืน เพื่อใช้ประโยชน์ แก่การผังเมือง (8) รายละเอียด และแผนที่ อสังหาริมทรัพย์ ที่เป็นสมบัติของแผ่นดิน (9) แผนที่ แผนผัง หรือรายละเอียดอื่น ตามความจำเป็น
  • 19. ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย ให้ใช้ประโยชน์เพื่อการอยู่อาศัย สถาบันราชการ สาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง ให้ใช้ประโยชน์เพื่อการอยู่อาศัย สถาบันราชการ สาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ ที่ดินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ให้ใช้ประโยชน์เพื่อการพาณิชยกรรม การอยู่อาศัย สถาบันราชการ ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมเฉพาะกิจ ให้ใช้ประโยชน์เพื่อการอุตสาหกรรมที่ให้บริการแก่ชุมชนหรือคลังสินค้า ที่ประกอบกิจการโดยไม่เป็นมลพิษต่อชุมชน ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ให้ใช้ประโยชน์เพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม ที่ดินประเภทปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ให้ใช้ประโยชน์เพื่อเกษตรกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา ให้ใช้ประโยชน์เพื่อการศึกษาหรือเกี่ยวข้องกับการศึกษาสถาบันราชการ หรือสาธารณประโยชน์เท่านั้น ที่ดินประเภทสถาบันการศาสนา ให้ใช้ประโยชน์เพื่อการศึกษาหรือเกี่ยวข้องกับ ศาสนา การศึกษา ที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ให้ใช้ประโยชน์เพื่อกิจการของรัฐ ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตผังเมืองรวมเมืองกาฬสินธุ์
  • 20. ขั้นตอนการวางผังเมืองรวม 1. สำรวจ กำหนดเขตผัง 2. วิเคราะห์ วางผังร่าง ปรึกษาส่วนผังเมืองและส่วนวิเคราะห์ 3. ประชุมพิจารณาผังร่าง       3.1 ประชุมคณะกรรมการพิจารณาด้านผังเมือง ( กรมฯ )       3.2 ประชุมคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาประสานงาน              และจัดทำผังเมืองรวม ( อนุฯ ประสาน ) 4. ประชุมรับฟังความคิดเห็นของประชาชน       4.1 ประชุมคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม ( ทปษ )       4.2 ประชุมประชาชน 5. ประชุมคณะกรรมการผังเมือง ( พิจารณาร่างผังเมืองรวม )       5.1 ประชุมคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณางานวางและ              จัดทำผังเมืองรวม ( อนุฯ วางผัง )       5.2 ประชุมคณะกรรมการผังเมือง 6. ปิดประกาศพร้อมกำหนด 90 วัน 7. รวบรวม ตรวจสอบ พิจารณาคำร้องและแจ้งผลการพิจารณาคำร้องต่อผู้ร้อง       7.1 ประชุมคณะที่ปรึกษาผังเมืองรวม ( ทปษ )       7.2 ประชุมคณะกรรมการพิจารณาด้านผังเมือง ( กรมฯ )       7.3 ประชุมคณะอนุกรรมการผังเมืองพิจารณาคำร้องของผู้มีส่วนได้เสียที่ร้องขอแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกข้อกำหนดเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ที่ดินของผังเมือง ( อนุฯ คำร้อง )       7.4 ประชุมคณะกรรมการผังเมือง       7.5 แจ้งผลการพิจารณาคำร้องต่อผู้ร้อง 8. จัดทำเอกสารเสนอกระทรวงมหาดไทย 9. เสนอคณะกรรมการร่างกฎหมายของกระทรวงมหาดไทย       9.1 ประชุมคณะกรรมการร่างกฎหมายมหาดไทย       9.2 ประชุมกระทรวงมหาดไทย 10. เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณารับหลักการ 11. คณะรัฐมนตรีพิจารณาเห็นชอบและส่งให้สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 12. สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา 13. สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกานัดประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 14. กรมฯ จัดทำร่างกฎกระทรวงที่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจแล้ว 15. สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาส่งให้กระทรวงมหาดไทย 16. เสนอกระทรวงฯ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยลงนาม 17. กรมฯ จัดพิมพ์แผนที่และแผนผัง 18. ส่งกฎกระทรวงไปประกาศราชกิจจานุเบกษา
  • 21.
  • 22.
  • 24.
  • 25. 1. การประเมินการเติบโตของประชากร 1.1 การพิจารณาเป้าหมายประชากร จุดประสงค์ เป็นการประเมินเพื่อให้ทราบว่าการคาดการณ์ประชากร ในเป้าหมายของการวางผังเป็นไปตามที่กำหนดไว้หรือไม่ วิธีการ การประเมินด้านประชากร ประชากรจริง ( จำนวน 47,929 คน ) น้อยกว่า ประชากรคาดการณ์ ( จำนวน 56,870 คน ) ผลการประเมิน เปรียบเทียบ ประชากรคาดการณ์ ( ปีที่ทำการประเมิน 2549) ประชากรจริง ( ปีที่ทำการประเมิน 2549) บริเวณที่มีจำนวนประชากรสูงสุด 3 อันดับ บริเวณ ชนบทและเกษตรกรรม บริเวณ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย บริเวณ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง
  • 26. 1. การประเมินการเติบโตของประชากร ( ต่อ ) จุดประสงค์ เป็นการประเมินเพื่อเปรียบเทียบค่าความหนาแน่น ของประชากรในแต่ละหน่วยการใช้ที่ดินต่อความหนาแน่น ตามเกณฑ์และมาตรฐานผังเมืองรวม ( ผังเมืองรวมเมืองกาฬสินธุ์ มีจำนวนประชากรน้อยกว่า 60,000 คนถือเป็นเมืองขนาดเล็ก ) เปรียบเทียบ ค่าความหนาแน่น ( ประชากรในแต่ละบริเวณการใช้ประโยชน์ที่ดิน ) เกณฑ์มาตรฐาน ( ตามประเภทเมืองและประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน ) วิธีการ 1.2 การพิจารณาความหนาแน่น การประเมินความหนาแน่นของประชากร การประเมินความหนาแน่นของประชากร การประเมินความหนาแน่นของประชากร การประเมินความหนาแน่นของจำนวนประชากร ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน การประเมินความหนาแน่นของประชากร ผลการประเมิน บริเวณ พาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ความหนาแน่น 13 คน บริเวณ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง ความหนาแน่น 10 คน บริเวณ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย ความหนาแน่น 4 คน บริเวณที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุด 3 อันดับ
  • 27. 2. การประเมินผลการใช้ประโยชน์ที่ดิน 2.1 การพิจารณาการใช้ประโยชน์ที่ดินหลักและการใช้ประโยชน์ที่ดินรอง จุดประสงค์ เป็นการประเมินเพื่อให้ทราบถึงผลการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินของเมือง โดยการวิเคราะห์หาความแตกต่างของการใช้ที่ดินแต่ละหมายเลข นับตั้งแต่มีการประกาศกฎกระทรวงบังคับใช้ตามกฎหมายผังเมืองรวมจนถึงปีที่ทำการประเมินผล การใช้ประโยชน์ที่ดิน ปีฐาน ( ปีที่วางผัง ) การใช้ประโยชน์ทีดิน ปีปัจจุบัน ( ปีประเมิน ) วิธีการ ผลการประเมิน เปรียบเทียบ บริเวณ ชนบทและเกษตรกรรม บริเวณ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย บริเวณ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง บริเวณที่มีจำนวนอาคารเพิ่มจากปีฐาน ( พ . ศ . 2540 ) สูงสุด 3 อันดับ บริเวณ ชนบทและเกษตรกรรม บริเวณ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย บริเวณ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง บริเวณที่มีพื้นที่อาคารคลุมดินเพิ่มจากปีฐาน ( พ . ศ . 2540 ) สูงสุด 3 อันดับ
  • 28. 2. การประเมินผลการใช้ประโยชน์ที่ดิน ( ต่อ ) การใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการอื่น ( รอง ) ข้อกำหนดในกฎกระทรวง ประกาศกฎกระทรวง ( ฉบับที่ 394 ) วิธีการ ผลการประเมิน บริเวณการใช้ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง มีการใช้ที่ดินเพื่อกิจการอื่น เกินที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวง เปรียบเทียบ พื้นที่กิจการอื่นตามกฎกระทรวง พื้นที่การใช้ที่ดินของกิจการอื่น บริเวณการใช้ที่ดินเขตย่อย ที่ เกินที่กำหนด ไว้ในกฎกระทรวง ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย เกินที่กำหนด 4 บริเวณ ได้แก่ 1.3,1.5,1.9 และ 1.10 ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง เกินที่กำหนด 9 บริเวณ จากเขตการใช้ที่ดิน 10 บริเวณ ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมเฉพาะกิจ เกินที่กำหนด 1 บริเวณ ได้แก่ บริเวณ 4.2 ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม เกินที่กำหนด 1 บริเวณ ได้แก่ บริเวณ 5.7
  • 29. 2. การประเมินผลการใช้ประโยชน์ที่ดิน ( ต่อ ) 2.2 การพิจารณาการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ผิดไปจากกฎกระทรวงกำหนดไว้ จุดประสงค์ เป็นการตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ผิดไปจากกฎกระทรวง ในส่วนของข้อห้ามตามข้อกำหนด ซึ่งมีผลกระทบต่อการใช้ประโยชน์ที่ดินในบริเวณดังกล่าวโดยการตรวจสอบประเภทและกิจกรรมของอาคาร ปัญหาที่พบจากการดำเนินการ 1. จากคู่มือการติดตามและประเมินผลผังเมืองรวม สำหรับการถ่ายโอนภารกิจ ของกรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย ไม่ได้มีการกล่าวถึงวิธีการในการวิเคราะห์หรือพิจารณาข้อมูล 2. เทศบาล ไม่ได้จัดเก็บข้อมูลการใช้ที่ดินที่ผิดไปจากการอนุญาตตามกฎกระทรวง ซึ่งหากมีการจัดเก็บข้อมูลและพิจารณาตามกฎกระทรวงแล้ว น่าจะมีการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ผิดไปจากที่กฎกระทรวงกำหนด ยกตัวอย่าง เช่น ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย ห้ามไม่ให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อ ซื้อขายเศษวัสดุ
  • 30.
  • 31.
  • 32. ขยายตัวตามทางหลวงหมายเลข 213 ขยายตัวตามเส้นทาง รพช . หมายเลข กส . 11007 ขยายตัวตามแนวถนน หมายเลข 203 ไปอำเภอยางตลาด 4. ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเมือง ( ต่อ ) 2. วิเคราะห์ทิศทางการขยายตัวของเมือง และทางหลวงหมายเลข 214 ไปอำเภอกมลาไสย
  • 35. ข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินผังเมืองรวมเมืองกาฬสินธุ์ ข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ ประเภทการใช้ที่ดิน ที่อยู่อาศัย พาณิชยกรรม ที่อยู่อาศัย หนาแน่นน้อย ที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง พาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก อนุญาต การอยู่อาศัย การอยู่อาศัย - พาณิชยกรรม - การอยู  อาศัย สถาบันราชการ , สาธารณูปโภค , สาธารณูปการ ข้อห้าม (1) โรงงานทุกจำ พวกว่าด้วยกฎหมายโรงงาน (2) สถานที่บรรจุก๊าซและสถานที่เก็บก๊าซตามกฎหมายว่าด้วยการบรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลว (3) สถานที่เก็บน้ำมันเชื้อเพลิงที่ต้องขออนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการเก็บรักษาน้ำมันเชื้อเพลิง (4) กำจัดมูลฝอย (5) ซื้อขายเศษวัสดุ - (6) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่าตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้ม ครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า - (7) ไซโลเก็บผลผลิตทางการเกษตร - (8) สุสานและฌาปนสถานตามกฎ - หมาย ว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน
  • 36. ข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ ประเภทการใช้ที่ดิน ที่อยู่อาศัย พาณิชยกรรม ที่อยู่อาศัย หนาแน่นน้อย ที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง พาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ข้อยกเว้น (1) ใช้พื้นที่เพื่อกิจการอื่น ให้ใช้เพิ่มได้อีกไม่เกินร้อย 10 ของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ (2) สถานีบริการ ร้านจำหน่ายก๊าซ สถานที่ใช้ก๊าซและสถานที่จำหน่ายอาหารที่ใช้ก๊าซ (3) สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง (4) โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวมของชุมชน - (5) กิจการที่มิได้ระบุห้ามไว้
  • 37. ข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ ประเภทการใช้ที่ดิน ชนบทและเกษตรกรรม ชนบทและเกษตรกรรม เขตปฏิรูปที่ดิน ที่โล่งเพื่อนันทนาการและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม อนุญาต เพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม ให้ใช้ประโยชน์เพื่อเกษตรกรรมตามกำหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เพื่อนันทนาการ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือสาธารณประโยชน์ สถาบันราชการ , สาธารณูปโภค , สาธารณูปการ ข้อห้าม โรงงานทุกจำพวกตามกฎ หมายว่าด้วยโรงงาน จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม จัดสรรที่ดินเพื่อพาณิชยกรรม จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบพาณิชยกรรม ประเภทห้องแถวหรือตึกแถว การอยู่อาศัยประเภทห้องชุด อาคารชุด หรือหอพัก
  • 38. ข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ ประเภทการใช้ที่ดิน ชนบทและเกษตรกรรม ชนบทและเกษตรกรรม เขตปฏิรูปที่ดิน ที่โล่งเพื่อนันทนาการและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ข้อยกเว้น ใช้พื้นที่เพื่อกิจการอื่น ให้ใช้เพิ่มได้อีกไม่เกินร้อย 10 ของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ ให้ใช้ประโยชน์เพื่อเกษตรกรรมตามกำหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม - ที่ดินเพื่อพาณิชยกรรมที่เป็นส่วนหนึ่งของที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยและมีพื้นที่ไม่เกินร้อยละ 5 โครงการทั้งหมด - ที่ดินประเภทห้องแถวหรือตึกแถวที่เป็นส่วนหนึ่งของที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยและมีพื้นที่ไม่เกินร้อยละ 5 โครงการทั้งหมด -