SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 33
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1


1. ชื่อผลงานวิจย การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ อง ป่ าชายเลน และความตระหนักต่อป่ าชายเลน
                   ั
ของนักเรี ยนโรงเรี ยนนนทรี วิทยา โดยการจัดกิจกรรมโครงการสนองพระราชเสาวนีย ์ ลูกนนทรี อาสา
ปลูกป่ าชายเลน พิทกษ์นครหลวง
                         ั
2. ชื่อ-ชื่อสกุลผู้วจยิั     นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
3. ตาแหน่ ง                  ครู ค.ศ.1
4. วุฒิการศึกษา              การศึกษาบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 1) เอกวิทยาศาสตร์ทวไป     ั่
                             มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ
                             การศึกษามหาบัณฑิต (การสอนวิทยาศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ
5. สถานที่ตดต่อิ             โรงเรี ยนนนทรี วิทยา เลขที่ 139 ถนนพระราม 3 แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา
                             กรุ งเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ 02-2862105 ต่อ 113
                             โทรสาร 02-2870729 โทรศัพท์มือถือ 086-8972892
                             อีเมล magnegis @ hotmail.com
6. ปี ที่ทาวิจยแล้วเสร็จ ปี 2553
                 ั
7. บทคัดย่อ
           การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน และความตระหนักต่อ
ป่ าชายเลนของนักเรี ยนที่มีต่อการจัดกิจกรรมโครงการสนองพระราชเสาวนียลูกนนทรี อาสา ปลูกป่ าชายเลน
                                                                                ์
พิทกษ์นครหลวง ของนักเรี ยนโรงเรี ยนนนทรี วิทยา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้
     ั
เป็ นนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่เป็ นสมาชิกชุมนุมนนทรี วิทยาสร้างจิตอาสา พัฒนาสิ่งแวดล้อม
จานวน 70 คน ได้จากการ เลือกแบบเจาะจง ดาเนินการทดลองในภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2553 ใช้เวลา
12 ชัวโมง การวิเคราะห์ขอมูลโดยทดสอบความแต กต่างระหว่างคะแนนเฉลี่ยก่อนเ และหลัง ทากิจกรรม
       ่                     ้
ด้วยการทดสอบค่าทีแบบ t-test for dependent samples ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า
           1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ องป่ าชายเลน หลัง เข้า ร่ วมกิจกรรมสูงกว่าก่อนร่ วมกิจกรรม โครงการ
สนองพระราชเสาวนีย ์ ลูกนนทรี อาสา ปลูกป่ าชายเลน พิทกษ์นครหลวง างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
                                                                ั          อย่ ั
           2. ความตระหนักต่อป่ าชายเลนหลัง เข้า ร่ วมกิจกรรมสูงกว่าก่อนร่ วมกิจกรรม โครงการ
สนองพระราชเสาวนีย ์ ลูกนนทรี อาสา ปลูกป่ าชายเลน พิทกษ์นครหลวง อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดั.01
                                                                  ั                    ั                  บ
8. หลักการ ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
           ป่ าไม้เป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่มความสาคัญต่อสรรพสิ่งทั้งมวล เนื่องจากเป็ นจุดเริ่ มต้นของการ
                                              ี
ก่อเกิดปัจจัยที่จาเป็ นในการดารงชีวิต มนุษย์และสรรพสัตว์ท้งหลายจึงมีความสัมพันธ์กบทรัพยากรป่ าไม้
                                                                    ั                       ั
อย่างแยกออกจากกันไม่ได้ ป่ าไม้ที่พบเห็นโดยทัวไปแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ ป่ าบก ซึ่งหมายถึง ป่ าที่
                                                    ่
ขึ้นอยูบนพื้นดิน และป่ าชายเลน ซึ่งหมายถึง ป่ าที่ข้ ึนบริ เวณพื้นที่ชายฝั่งทะเล บริ เวณปากน้ า อ่าว ทะเลสาบ
         ่
และเกาะ เป็ นบริ เวณที่น้ าทะเลท่วมถึงของประเทศในแถบโซนร้อน ส่วนบริ เวณเขตเหนือหรื อใต้โซนร้อน
2


จะพบป่ าชายเลนอยูบางเป็ นส่วนน้อย เนื่องจากสภาพภูมิอากาศไม่เหมาะสมนัก (ประสาน บารุ งราษฎร์ .
                       ่ ้
2531: 5)
           สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ ิ พระ บรมราชินีนาถ ทรงเคยมีพระราชดารัสแสดงความห่วงใยป่ าไม้
ชายเลนที่กาลังถูกทาลายให้ลดจานวนลง ดังพระราชเสาวนียเ์ นื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
12 สิงหาคม 2544 ความตอนหนึ่งว่า “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว สอนข้าพเจ้าว่าป่ าไม้ชายเลน นี้สาคัญ
                                                                  ่ ั
ที่สุด เพราะว่าเป็ นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า เพราะพวกเราเองก็รับประทานปลา แล้วทานปู ทานกุงกันเยอะแยะ
                                                                                          ้
เพราะฉะนั้นป่ าชายเลนนี้สาคัญในการที่จะรักษาเอาไว้เพื่อรักษาพันธุปลา พันธุกุง ให้มีมากมายเหมือนแต่
                                                                        ์     ์ ้
เก่าก่อน ขณะนี้ป่าชายเลนถูกทาลายมากมายก่ายกอง เราน่ าจะสอนลูกสอนหลานให้รู้ถึงคุณค่าป่ าชายเลน
ที่มีประโยชน์ต่อคนไทยทุกคนในแผ่นดินนี้ที่ช่วยเก็บรักษา เช่น พันธุปลาต่างๆ”์
           เนื่องจากป่ าชายเลนมีสภาพเป็ นโคลนเลน การพัฒนาป่ าชายเลนเพื่อนามาใช้ประโยชน์ จึงทาได้
ยากลาบาก ส่งผลให้ถกมองข้ามและไม่ได้รับ ความสนใจเท่าที่ควร ต่อมาเมื่อพบว่า ป่ าชายเลนเป็ นแหล่ง
                           ู
อนุบาลสัตว์น้ าตามธรรมชาติ เป็ นแหล่งผลิตโซ่อาหารที่สาคัญแก่สตว์ทะเลทั้งปวง เพราะใบไม้ต่าง ๆ
                                                                      ั
ที่ร่วงหล่นสู่พ้ืนน้ าและพื้นดินจะเน่าเปื่ อยเป็ นอาหารของแพลงค์ตอนและสัตว์น้ าต่าง ๆ เมื่อ ถึงเวลาที่ระดับ
น้ าลดลง กระแสน้ าจะพัดพาอาหารเหล่านี้ออกสู่ทองทะเลด้วย นอกจากนี้ป่าชายเลนยังมีคุณประโยชน์
                                                      ้
อีกมากมายทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น ป้ องกันการชะล้างพังทลายของชายฝั่ง ป้ องกันคลื่นลม พายุ ช่วยให้
แผ่นดินบริ เวณชายฝั่งทะเลงอกขยายออกไป ในทะเล อีกทั้งสามารถนาไม้มาใช้ประโยชน์ในการทาถ่าน
ทาเสาเข็ม ไม้ค้ า ใช้ทาเฟอร์นิเจอร์ ใช้เป็ นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมกลันไม้ ได้สารแทนนิน แอลกอฮอล์
                                                                            ่
กรดน้ าส้ม และเขม่าน้ ามัน (สนิท อักษรแก้ว. 2541: 65-69)
           จากการที่ป่าชายเลนมีประโยชน์ทาให้มีการบุกรุ กทาลายป่ าชายเลน เพื่อขยายพื้นที่การทานากุงและ  ้
เพื่อการประกอบการ จนในที่สุดพื้นที่ป่าชายเลนได้ลดลงอย่างรวดเร็ วส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง
ระบบนิเวศของโลก การที่ป่าชายเลนถูกบุกรุ กทาลายไปเป็ นจานวนมากนั้น แสดงให้เห็นว่า ผูที่ใช้ทรัพยากร
                                                                                             ้
ในท้องถิ่นขาดควา มตระหนักถึงความสาคัญของสิ่งแวดล้อมรอบตัว และขาดเจตคติที่ดีต่อสิ่งแวดล้อม
ที่ตนอาศัยอยู่ จึงก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศ เป็ นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ รวมทั้ง
เป็ นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์เองด้วย ดังนั้น การแก้ ไขปัญหาการบุกรุ กทาลายพื้นที่ป่าชายเลน
มีหลายแนวทาง เช่น การสร้างมาตรการป้ องกันแก้ไขจากหน่วยงานของรัฐ การกาหนดกฎหมายและ
ระเบียบข้อบังคับในการปฏิบติ ซึ่งผูวิจยคิดว่าการแก้ปัญหาที่ดีที่สุด คือ การให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
                                 ั       ้ ั
ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อสร้างจิตสานึก สร้างความตระหนักให้เกิดความรักความหวงแหน
และพร้อมที่จะร่ วมกันปกป้ องรักษาทรัพยากรในพื้นที่ของตนไว้
           กรุ งเทพมหานคร เมืองหลวงที่ทนสมัยแห่งหนึ่งของเอเชีย คราคร่ าไปด้วยตึกรามบ้านช่องและ
                                              ั
ถนนที่กว้างใหญ่ หากแต่ในความวุ่นวายของเมืองหลวงแห่งนี้ ยังมีพ้ืนที่เล็กๆ อีกมุมหนึ่งซึ่งเป็ นสถานที่
อันเงียบสงบและยังคงความเป็ นธรรมชาติอนสวยงามอยูเ่ ป็ นอย่างมาก ที่แห่งนี้คือ ทะเลกรุ งเทพฯ หรื อ
                                                  ั
ที่รู้จกกันว่า ชายทะเลบางขุนเทียน ซึ่งอยูในพื้นที่แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน กรุ งเทพมหานคร และ
       ั                                        ่
3


ที่ตรงนี้เองได้เกิดปรากฏการณ์กดเซาะชายฝั่งที่ได้ยนตามสื่อต่างๆ อยูเ่ ป็ นประจา สิ่งที่สงเกตเห็นคือ
                                    ั                  ิ                                  ั
แนวต้นแสมที่ลมระเนระนาดและประ ตูระบายน้ าเข้านากุงที่จมอยูกลางทะเล ซึ่งเป็ นหลักฐานที่ชดเจน
                      ้                                        ้         ่                                ั
ของการสูญเสียแผ่นดินชายฝั่ง ที่เป็ นปัญหาใหญ่ของชาวกรุ งเทพฯ ทุกคน ซึ่งการกัดเซาะชายฝั่งกรุ งเทพฯ
ได้เกิดขึ้นมาเป็ นเวลาหลายสิบปี แล้ว แต่ในอดีตปัญหานี้ไม่ได้รับการใส่ใจจากหน่วยงานที่เ กี่ยวข้องมากนัก
แต่เมื่อชาวบ้านในท้องที่เริ่ มได้รับผลกระทบมากขึ้น จึงได้มการร้องเรี ยนไปยังหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ
                                                                 ี
และเอกชน จนผลักดันให้เกิดเป็ นโครงการความร่ วมมือแก้ไขปัญหาอย่างเป็ นรู ปธรรมในปัจจุบน สาหรับ           ั
การแก้ปัญหาการกัดเซาะนั้น เดิมทางกรุ งเทพมหาน ครได้เคยจัดสร้างแนวหินทิ้งบริ เวณชายฝั่งเพื่อลดแรง
ปะทะของคลื่น ต่อมาได้เสนอการสร้างรอดักทรายรู ปตัวทีหรื อ “ที- กรอยน์ ” (T-Groin) โดยการวาง
“ไส้กรอกทราย” แต่ชาวบ้านในพื้นที่ได้คดค้านแนวทางนี้ โดยอธิบายว่าเมื่อไส้กรอกทรายแตกออกจะทาให้
                                               ั
เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศป่ าชายเลนจากการกระจายตัวของทรายซึ่งไม่ใช่ส่วนประกอบตามธรรมชาติ
ของหาดเลน
              ในปัจจุบนได้มการเริ่ มสร้างแนวไม้ไผ่เพื่อลดแรงปะทะของคลื่นในบริ เวณนี้แล้ว ซึ่งการแก้ปัญหา
                           ั   ี
กัดเซาะชายฝั่งด้วยการสร้างแนวไม้ไผ่น้ น ชาวบางขุนเทียนได้ตนแบบมาจากตาบลโค กขาม อาเภอเมือง
                                           ั                        ้
จังหวัดสมุทรสาคร ซึ่งประสบปัญหาเดียวกัน ปรากฏว่าแนวไม้ไผ่น้ นนอกจากจะช่วยลดแรงปะทะของคลื่น
                                                                       ั
ได้ดีแล้ว ยังช่วยในการกักเก็บตะกอนที่อยูในน้ า ทาให้เกิดการสะสมของตะกอนที่จะงอกกลับมาเป็ นพื้นดิน
                                                 ่
อีกครั้งด้วย อีกทั้งไม้ไผ่ยงเป็ นวัสดุธรรมชาติที่สามาร ถย่อยสลายได้ และได้ช่วยสร้างงานให้กบชาวบ้าน
                                 ั                                                                    ั
ในจังหวัดอื่นที่ปลูกต้นไผ่เพื่อขาย และชาวบ้านในพื้นที่ซ่ึงได้รับการว่าจ้างให้ปักแนวไม่ไผ่อีกด้วย
โดยที่ผานมาโครงการสร้างแนวไม้ไผ่นาร่ องในเขตทะเลบางขุนเทียนความยาวประมาณ 1 กิโลเมตร ได้รับ
            ่
งบประมาณสนับสนุนจากมูลนิธิชุมชนไทย ซึ่งนับเป็ นจุดเริ่ มต้นที่ดีในการแก้ปัญหาชุมชนท้องถิ่นโดยใช้
ภูมิปัญญาชาวบ้านและแรงงานในพื้นที่ แต่อย่างไรก็ดีการสร้างแนวไม้ไผ่เพื่อลดแรงปะทะของคลื่นนั้น
เป็ นวิธีการที่ไม่ยงยืน เนื่องจากไม้ไผ่ยอมเกิดผุ พังไปตามกาลเวลา การปลูกป่ าชายเลน จึงเป็ นอีกหนทาง
                        ั่               ่
หนึ่งในการรักษาชายฝั่งของกรุ งเทพมหานครจากการกัดเซาะของคลื่นอย่างยังยืน และเป็ นการสร้างแหล่ง
                                                                                ่
ที่อยูอาศัยของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งสร้างระบบนิเวศป่ าชายเลน ให้กลับมาสมบูรณ์ ตลอดจนเป็ นแหล่งเรี ยน รู้
      ่
ด้านระบบนิเวศป่ าชายเลน เป็ นสถานที่พกผ่อนหย่อนใจและเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวในการท่องเที่ยว
                                             ั
เชิงอนุรักษ์อีกด้วย
              การจัดการศึกษาจึงเป็ นแนวทางหนึ่งในการแก้ปัญหา ซึ่งจะส่งผลในระยะยาว เพราะการให้
การศึกษาคือ การสร้างพื้นฐานของการดารงชีวิต แต่การศึกษาที่ดีที่สุด คือ การจัดประสบการณ์ท้งมวล                ั
ให้ผเู้ รี ยนเรี ยนรู้โดยใช้ประสบการณ์ตรงหรื อทาการทดลอง ค้นคว้าหาคาตอบด้วยตนเองเพื่อจะได้เป็ น
ความรู้ติดตัวผูเ้ รี ยนไปตลอดชีพ ดังนั้นถ้าต้องการให้ผเู้ รี ยนมีเจตคติ ค่านิยมและมีความตระหนักในคุณ ค่า
ของสิ่งแวดล้อมก็ตองจัดประสบการณ์การเรี ยนรู้
                             ้                            โดยใช้แหล่งเรี ยนรู้ของท้องถิ่นให้ผเู้ รี ยนมองเห็น
ความ สัมพันธ์ของระบบนั้น ๆ กับการดารงชีพเพื่อผูเ้ รี ยนจะสามารถจัดการระบบสิ่งแวดล้อมในท้องถิน                 ่
ของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4


            การปลูกฝังความรู้ เรื่ อง การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของผูเ้ รี ยน สามารถกระทา
ได้ทุกระดับชั้น รวมทั้งในสถาบันครอบครัว โดยการปรับเนื้อหา ความรู้ และกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัย
ของผูเ้ รี ยน ครู ผสอนควรหากิจกรรมที่ปฏิบติจากธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในเชิงการอนุรักษ์ เพื่อให้ผเู้ รี ยน
                    ู้                         ั
เกิดความรู้สึกรับผิดชอบและมีส่วนร่ วมในการรักษาสิ่งแวดล้อมร่ วมกัน (ลัดดาวัลย์ กัณหาสุวรรณ . 2534:
3-8) จะช่วยให้ผเู้ รี ยนเกิดความตระหนักเรื่ องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยังยืน ตลอดจน
                                                                                                ่
สามารถมองเห็นปัญหา และนาผลการเรี ยนรู้ไปประยุกต์ใช้กบชีวิตจริ งได้ การจัดการเรี ยนการสอนเกี่ยวกับ
                                                                ั
สิ่งแวดล้อม จึงเป็ นเรื่ องเฉพาะเจาะจงของแต่ละท้องถิ่น ซึ่งอาจจะมีความคล้ายหรื อแตกต่างจากพื้นที่อื่น ได้
                                                                                                      ๆ
แต่กระบวนการเรี ยนการสอนที่มีคุณภาพ เอื้อต่อการพัฒนาศักยภาพ และความรู้ความสามารถของผูเ้ รี ยน
จาเป็ นอย่างยิงที่ผจดการศึกษาต้องหาวิธีการสอนและสื่อการสอนที่หลากหลายเพื่อกระตุนให้ผเู้ รี ยนมีอิสระ
                ่ ู้ ั                                                                    ้
ในการเรี ยนรู้ มีส่วนร่ วมในการปฏิบติจริ ง เน้นกระบวนการมากกว่าเนื้อหา พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์
                                         ั
สามารถสร้างองค์ความรู้ได้ดวยตนเอง และนาประสบการณ์ไปใช้ในชีวิต ประจาวันได้ (วีระ พลอยครบุรี .
                                ้
2543: 85)
            โรงเรี ยนนนทรี วิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาธยมศึกษา เขต 2 สานักงานคณะกรรมการ
                                                                  มั
การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะสถาบันการศึกษาหนึ่งของสังคม ที่มีบทบาทและหน้าที่
ที่สาคัญในการจัดการศึกษา พัฒนาเยาวชนไท ยให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ตามศักยภาพ และสามารถดารง
ในชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542
และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นอกจากนี้โรงเรี ยนนนทรี วิทยา ยังเป็ น
1 ใน 500 โรงเรี ยนที่ได้รับการคัดเลือกเป็ นโรงเรี ยนสู่มาตรฐานสากล (World Class Standard School)
ซึ่งต้องจัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีความเป็ นพลโลก และมีจิตสาธารณะ อีกทั้งด้วยการที่โรงเรี ยนอยูใน่
เขตกรุ งเทพมหานคร จึงได้เกิด ความตระหนักต่อความสาคัญของปัญหาดังกล่าว โดยได้นอมนาแนว           ้
พระราชเสาวนียมาดาเนินการให้ บังเกิดผลเป็ นรู ปธรรมในการปลูกป่ าชายเลน บริ เวณชายทะเลบางขุนเทียน
                       ์
ซึ่งได้ดาเนินการโดยผ่านกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ที่มี “ชุมนุมนนทรี วิทยา สร้างจิตอาสา พัฒน าสิ่งแวดล้อม ”
เป็ นผูรับผิดชอบดาเนินการ จึงได้ริเริ่ มจัดทา“โครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่ าชายเลน
       ้
พิทักษ์ นครหลวง” ขึ้น เพื่อเป็ นการสนองพระราชเสาวนียสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ์พระบรมราชินีนาถฯ
                                                            ์
ในการอนุรักษ์ป่าไม้ และเป็ นการเฉลิมพระเกียรติ์ในว โรกาสคล้ายวันพระราชสมภพ 12 สิงหาคม 2553
ตลอดจนเพื่อร่ วมกันแสดงบทบาทพลเมืองของโลก ในการปกป้ อง หวงแหน และดูแลสิ่งแวดล้อม
โดยเฉพาะป่ าชายเลนผืนสุดท้ายที่ทาหน้าที่เป็ นด่านหน้าปกป้ องกรุ งเทพมหานครอยูในขณะนี้ ให้มีชายฝั่ง
                                                                                  ่
คงอยู่ มีระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมที่อย่างยั่ งยืนสืบไปชัวลูกหลาน ซึ่ง ผูวิจย ได้ทาการวิจยเพื่อ ศึกษา
                                                              ่              ้ ั                  ั
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ อง ป่ าชายเลน และความตระหนักต่อป่ าชายเลน ของนักเรี ยนโรงเรี ยนนนทรี วิทยา
โดยการจัดกิจกรรมโครงการสนองพระราชเสาวนีย ์ ลูกนนทรี อาสา ปลูกป่ าชายเลน พิทกษ์นครหลวง       ั
5


9. แนวคิด/ทฤษฎี
          ในการวิจยครั้งนี้ ผูวิจยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวข้อง 2 ประเด็นที่สาคัญ ดังนี้
                    ั         ้ ั
          1. แนวคิดเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
          2. แนวคิดเกี่ยวกับความตระหนัก
          1. แนวคิดเกียวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
                        ่
          การเรี ยนการสอนในทุกสาขาวิชา เมื่อผ่านกระบวนการเรี ยนการสอนจะต้องมีการประเมินผลเพื่อ
ตรวจสอบผูเ้ รี ยนว่ามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนบรรลุจุดประสงค์หรื อไม่ ดังนั้นการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรี ยนการสอนจึงนับว่ามีความสาคัญยิง     ่
          1.1 ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
          กระทรวงศึกษาธิการ (2542: 13)ได้บญญัติศพท์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนไว้ว่า “ผลสัมฤทธิ์ทางการ
                                                ั      ั
เรี ยน หมายถึง ความสาเร็ จหรื อความสามารถในการกระทาใดๆ ที่ตองอาศัยทักษะ หรื อมิฉะนั้น ก็ตองอาศัย
                                                                     ้                                  ้
ความรอบรู้ในวิชาใดวิชาหนึ่งโดยเฉพาะ”
          Bloom (1976: 201–207) ได้สรุ ปว่าผลสัมฤทธิ์หรื อประสิทธิภาพทางการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยนนั้น เป็ น
ความสามารถที่แสดงออกทางพฤติกรรมย่อย ๆ ได้ในด้านต่าง ๆ ดังนี้
                   1) ด้านความรู้ความจา (Knowledge) เป็ นความสามารถที่ผเู้ รี ยนเก็บและระลึกถึงเรื่ องราว
ต่าง ๆ ที่ได้รับการสังสอนอบรมมาใช้ได้เป็ นลักษณะนี้ ผูเ้ รี ยนแสดงออกในรู ปของการจา และระลึกเรื่ องราว
                      ่
นั้น ๆ ได้
                   2) ด้านความเข้าใจ (Comprehensive) เป็ นความสามารถที่แสดงออกในลักษณะของการ
ถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรี ยนรู้มา ด้วยการเขียนหรื อกระทาใดๆให้ผอื่นเข้าใจได้
                                                                  ู้
                   3) ด้านการนาไปใช้ (Application) เป็ นความสามารถที่ผเู้ รี ยนนาเอาความรู้ความเข้าใจ
จากสิ่งที่ได้ รับการอบรมสังสอนบวกกับประสบการณ์ต่าง ๆ ของตนไปใช้ในสถานการณ์จริ ง ๆ หรื อ
                            ่
สถานการณ์จาลองคล้ายคลึงกัน
                   4) ด้านการวิเคราะห์ (Analysis) เป็ นพฤติกรรมที่ผเู้ รี ยนแสดงออกให้เห็นได้ดวย          ้
ความสามารถแยกแยะเรื่ องราว เหตุการณ์ ผลลัพธ์ ผลรวมของปรากฏการณ์ใด ๆ ที่ประจักษ์อยูน้ นว่าเกิดจาก    ่ ั
หรื อประกอบจากส่วนย่อยต่างๆ อะไรบ้าง สามารถวิเคราะห์บางส่วนที่สาคัญของเรื่ องราวได้มองเห็น
ความสัมพันธ์เกี่ยวโยงของปลีกย่อยของสิ่งที่เรี ยนรู้ เป็ นต้น
                   5) ด้านสังเคราะห์ (Synthesis) เป็ นความสามารถที่ผเู้ รี ยนนาเอาสิ่งที่เรี ยนต่าง ๆ มาร้อย
กรองจัดระ เบียบใหม่ให้เกิดเป็ นโครงสร้าง เรื่ องราวใหม่ที่แปลกกว่าเดิม มีประสิทธิภาพสูงกว่าเดิม
เป็ นลักษณะของความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์นนเองั่
                   6) ด้านการประเมินค่า (Evaluation) เป็ นพฤติกรรมทางปัญญาที่สูงที่สุดในด้านผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยน เป็ นความสามารถที่ ผูเ้ รี ยนวินิจฉัยเรื่ องราวต่าง ๆ ว่าดีหรื อไม่ดี ควรปฏิบติหรื อไม่ควร
                                                                                                  ั
เหมาะสมหรื อไม่เหมาะสมเป็ นการใช้วิจารณญาณขั้นสุดยอดนันเอง      ่
6


            จากความคิดเห็นของนักการศึกษา เกี่ยวกับความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน พอสรุ ปได้ดงนี้           ั
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเป็ นคุณลักษณะความสาม ารถของบุคคลอันเกิดจากการเรี ยนการสอน เป็ นการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและประสบการณ์การเรี ยนรู้ ที่เกิดจากการฝึ กอบรมหรื อจากการสอน การวัด
ผลสัมฤทธิ์จึงเป็ นการตรวจสอบความสามารถ หรื อความสัมฤทธิ์ผลของบุคคล ซึ่งแสดงออกในลักษณะของ
พฤติกรรมต่าง ๆ ที่สามารถวัดได้ 2 แบบ ตามจุ ดมุ่งหมายและลักษณะวิชาสอน คือ การวัดด้านปฏิบติและ                ั
การวัดด้านเนื้อหา จึงกล่าวได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสิ่งแวดล้อมหมายถึงคุณลักษณะความรู้
ความสามารถด้านสิ่งแวดล้อม ที่เกิดจากการเรี ยนการสอนหรื อประสบการณ์จากการฝึ กอบรม ซึ่งวัดได้จาก
การแสดงออกของพฤติกรรมต่าง ๆ
            1.2 การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
            สมบูรณ์ ชิตพงษ์ และคณะ (2540: 6–7) ได้กล่าวว่า การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนจะต้อง
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 3 ด้าน คือ
                       1) ด้านความรู้ ความคิด (Cognitive Domain) พฤติกรรมด้านนี้เกี่ยวกับกระบวนการต่าง ๆ
ทางด้านสติปัญญาและสมอง
                       2) ด้านความรู้สึก (Affective Domain) พฤติกรรมด้านนี้เกี่ยวข้องกับการเจริ ญเติบโตและ
พัฒนาการในด้านความสนใจ คุณค่า ความซาบซึ้ง และเจตคติต่าง ๆ ของนักเรี ยน
                       3) ด้านการปฏิบติการ (Psycho – Motor Domain) พฤติกรรมด้านนี้เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
                                       ั
ทักษะในการปฏิบติ และดาเนินการ เช่น การทดลอง เป็ นต้น
                        ั
            กล่าวโดยสรุ ปแล้ว การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเป็ นการวัดความสามารถทางพฤติกรรมของ
ผูเ้ รี ยนด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ หลังจากได้รับการสอนหรื อการฝึ กอบรมด้วยวิธีการต่าง ๆ
            1.3 เครื่ องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
            แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ซึ่งแบ่งได้เป็ น 2 พวก
                       1) แบบทดสอบของครู (Teacher Made Test) หมายถึงชุดของคาถามที่ครู เป็ นผูสร้างขึ้น้
ซึ่งเป็ นคาถามที่เกี่ยวกับความรู้ที่นกเรี ยนได้เรี ยนในห้องเรี ยนว่านักเรี ยนมีความรู้มากแค่ไหน บกพร่ องที่
                                         ั
ตรงไหน จะได้สอนซ่อมเสริ ม หรื อเป็ นการวัดเพื่อดู ความพร้อมที่จะเรี ยนบทเรี ยนใหม่ ซึ่งขึ้นอยูกบความ    ่ ั
ต้องการของครู
                       2) แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized Test)แบบทดสอบประเภทนี้ สร้างขึ้นจาก
ผูเ้ ชี่ยวชาญในแต่ละสาขา หรื อจากครู ที่สอนวิชานั้น แต่ผานการตรวจสอบคุณภาพโดยนาผลมาวิเคราะห์ดวย
                                                            ่                                                   ้
วิธีการทางสถิติ หลายครั้งจนกระทังมีคุณภาพดีพอ จึงสร้างเกณฑ์ปกติของแบบทดสอบนั้นสามารถใช้เป็ น
                                           ่
หลักเปรี ยบเทียบผลเพื่อการประเมินค่าของการเรี ยนการสอนในเรื่ องใด                 ๆ ก็ได้ ซึ่งเป็ นแบบทดสอบ
มาตรฐานจะมีความเป็ นมาตรฐานอยู่ 2 ประการ คือ
                               2.1) มาตรฐานในการดาเนินการสอบ หมายความว่า แบบทดสอบนี้ไม่ว่าจะ
นาไปใช้ที่ไหนเมื่อไรก็ตาม คาชี้แจง คาอธิบาย การดาเนินการสอบจะเหมือนกันทุกครั้งไปจะมีการควบคุม
7


ตัวแปรต่าง ๆ ที่ทาให้คะแนนคลาดเคลื่อน เช่น ผูคุมสอบ การจัดชั้นเรี ยน กระบวนการสอบ การใช้คาสัง
                                                          ้                                                  ่
เป็ นต้น กระบวนการสอบประเภทนี้มีคาชี้แจงในการใช้ขอสอบ (Manual) อยูดวย
                                                             ้                 ่ ้
                                2.2) มาตรฐานในการแปลความหมายของคะแนน หมายความว่า ไม่ว่าจะสอบที่
ไหน เมื่อไร ก็ตองแปลคะแนนได้เหมือนกัน ฉะนั้นข้อสอบประเภทนี้จึงต้องมีเกณฑ์ (Norm) สาหรับ
                      ้
เปรี ยบเทียบให้เป็ นมาตรฐานเดียวกันได้
            ดังนั้นจึงพอสรุ ปได้ว่า เครื่ องมือที่ใช้วดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน คือ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
                                                        ั
ซึ่งแบ่งเป็ น 2 พวกคือ แบบทดสอบของครู และแบบทดสอบมาตรฐาน โดยการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
จะต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 3 ด้าน คือ ความรู้ความจา ความรู้สึก และด้านการปฏิบติ            ั
            2. แนวคิดเกี่ยวกับความตระหนัก
            2.1 แนวคิดเกี่ยวกับความตระหนัก
            กู๊ด (Good. 1973: 54) ได้ให้ความหมายว่า ความตระหนัก หมายถึง ความรู้สึกที่แสดงถึงการเกิด
ความรู้ของบุคคลหรื อการที่บุคคลแสดงความรู้สึกรับผิดชอบต่อปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น
            บลูม และคณะ (Bloom; and orther. 1971: 273) ได้ให้ความหมายว่า ความตระหนักเป็ นขั้นต่าสุด
ของอารมณ์และความรู้สึก ความตระหนักเกือบคล้ายความรู้ตรงที่ ทั้งความรู้และความตระหนักไม่เป็ น
ลักษณะของสิ่งเร้า ความตระหนักไม่จาเป็ นต้องใช้ปรากฎการณ์หรื อสิ่งหนึ่งสิ่งใด ความตระหนักจะเกิดขึ้น
เมื่อมีสิ่งเร้าให้เกิดความตระหนัก
            จากความหมายของความตระหนักที่นกวิชาการในสาขาต่าง ๆ ได้ให้ความหมายไว้ดงกล่าวข้างต้น
                                                      ั                                        ั
จึงพอสรุ ปได้ว่า ความตระหนัก หมายถึง การแสดงออกซึ่งความรู้สึก ความคิดเห็นความสานึก เป็ นภาวะที่
บุคคลเข้าใจเเละประเมินสถานการณ์ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับตนเองได้โดยอาศัยระยะเวลา เหตุการณ์ ประสบการณ์
หรื อสภาพเเวดล้อม เป็ นปัจจัยทาให้เกิดความตระหนัก
            2.2 การวัดความตระหนัก
            เกิดการศึกษาความหมายเเละลักษณะของความตระหนัก (Awareness) เป็ นพฤติกรรมเกี่ยวกับ
ความรู้สึก สานึกว่า สิ่งนั้นอยู่ (Conscious of something) จาเเนกเเละรับรู้ซ่ึงพฤติกรรมที่ละเอียดอ่อนเกี่ ยวกับ
ด้านความรู้สึก อารมณ์ ดังนั้นการที่จะทาการวัดเเละประเมินผล จึงต้องมีหลักการเเละวิธีการตลอดจน
เทคนิคเฉพาะ จึงจะวัดความรู้เเละอารมณ์ดงกล่าวออกมาให้เที่ยงตรงเเละเชื่อมันได้
                                                ั                                ่
            เครื่ องมือที่ใช้วดความรู้สึกอารมณ์น้ น มีหลายประเภทด้วยกันซึ่งจะนามากล่าวไว้ดง นี้คือ
                              ั                    ั                                               ั
(ประพล มิลินทจินดา. 2542: 25-27)
                      1) วิธีการสัมภาษณ์ (lnterview) อาจเป็ นการสัมภาษณ์ชนิดที่โครงสร้างเเน่นอน โดยสร้าง
คาถามเเละมีคาตอบให้เลือกเหมือน ๆ กัน เเบบสอบถามชนิดเลือกตอบ เเละคาถามจะต้องตั้งไว้ก่อน
เรี ยงลาดับก่อนหลังไว้อ ย่างดีหรื ออาจเป็ นเเบบไม่มีโครงสร้างซึ่งเป็ นการสัมภาษณ์ที่มีไว้เเต่หวข้อใหญ่ๆ
                                                                                                 ั
ให้ผตอบมีเสรี ภาพในการตอบเเละคาถามเป็ นไปตามโอกาสอานวยในขณะที่สนทนากัน
      ู้
8


                     2) แบบสอบถาม (Questionnaires) เเบบสอบถามอาจเป็ นชนิดเปิ ดเเละปิ ดหรื อเเบบผสม
ระหว่างเปิ ดกับปิ ดก็ได้
                     3) เเบบตรวจสอบรายการ (Checklist) เป็ นเครื่ องมือวัดชนิดที่ให้ตรวจสอบว่าเห็นด้วยไม่
เห็นด้วย หรื อมี ไม่มี สิ่งที่กาหนดตามรายการอาจอยูในรู ปของการทาเครื่ องหมายตอบหรื อเลือกว่าใช่ ไม่ใช่
                                                     ่
                     4) มาตราวัดอันดับคุณภาพ (Rating Scale) เครื่ องมือชนิดนี้เหมาะสาหรับการวัด อารมณ์
และความรู้สึกที่ตองการทราบความเข้ม (lntensity) ว่ามีนอยเพียงใดในเรื่ องนั้น
                      ้                                   ้
                     5) การใช้ความหมายภาษา (Semantic Differential Technique : S.D.) เทคนิคการวัดโดยใช้
ความหมายของภาษาของชาลส์ ออสกูด เป็ นเครื่ องมือที่วดได้ครอบคลุมมากชนิดนี้จะประกอบด้วยเรื่ อง
                                                              ั
ซึ่งถือเป็ น ”สังกัป ” เเละจะมีคุณศัพท์ ที่ตรงข้ามกันเป็ นคู่ ๆ ประกอบสังกัปนั้นหลายคู่ แต่ละคู่มี 2 ขั้ว
ช่องห่างระหว่าง 2 ขั้วนี้บ่งด้วยตัวเลข ถ้าใกล้ขางใดมากก็จะมีลกษณะตามคุณศัพท์ของขั้วนั้นมาก คุณศัพท์
                                                  ้                ั
ที่ประกอบเป็ น 2 ขั้วนี้ แยกออกเป็ น 3 ขั้วใหญ่ ๆ คือ พวกที่เกี่ยวกับการประเมินค่า (Evaluation) พวกที่
เกี่ยวกับศักยภาพ (Potential) และพวกที่เกี่ยวกับกิจกรรม (Activity)
           2.3 วิธีการสร้างแบบวัดความตระหนัก
           มีลาดับในการสร้างดังนี้คือ
                     1) การรวบรวมข้อมูล ข้อมูลนั้นอาจจะนามาจากเอกสาร บทวิเคราะห์งานการศึกษาวิจย         ั
                     2) การตรวจสอบข้อมูล เพื่อให้แน่ใจว่าขอ้ มูลที่นามาใช้ในการสร้างแบบวัดนั้นมีความ
เหมาะสมเกี่ยวกับที่จะตอบหรื อใช้วดกับกลุ่มตัวอย่าง
                                        ั
                     3) เขียนแบบวัดโดยการสร้างเหตุการณ์ เพื่อให้กลุ่มตัวอย่างได้แสดงความรู้สึกที่แท้จริ ง
ของตนออกมา โดยการตรวจสอบในแบบตรวจสอบรายการ
                     4) จัดเรี ยงตัวลวงและตัวเลือก
                     5) ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบวัด
           2.4 ความสาคัญของการมีความตระหนักต่อการส่งเสริ มเเละรักษาคุณภาพสิ่งเเวดล้อม
           การส่งเสริ มและรักษาสิ่งแวดล้อมให้มีคุณภาพดารงอยูน้ น นอกจากกระบวนการให้ความรู้ความ
                                                                  ่ ั
เข้าใจเเละนั้นการปลูกฝังหรื อพัฒนาความรู้สึกซาบซึ้งต่อสิ่งเเวดล้อมในทางที่ถกต้อง นับว่าเป็ นสิ่งจาเป็ น
                                                                               ู
อีกประการหนึ่งเช่นกัน เมื่อบุคคลมีพฤติกรรมส่งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแล้ว การทาลาย
ทรัพยากรก็จะลดน้อยลง ในทางตรงข้ามจะเกิดการอนุรักษ์ทรัพยากรที่มีอยูให้คงที่ และเป็ นประโยชน์ต่อคน
                                                                            ่
รุ่ นหลังต่อไป เช่น การปลูกและดูแลรักษาต้นไม้ตามสถานที่ต่างๆ หรื อสวนสาธารณะ นอกจากจะเกิดความ
ร่ มรื่ นแล้ว ยังช่วยสร้างสถานที่พกผ่อนสาหรับบุคคลโดยทัวไปอีกด้วย
                                      ั                         ่
           การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางด้านความรู้สึก อารมณ์ เป็ นเรื่ องที่เกิดขึ้นภายในจิตใจข องแต่ละ
บุคคล ดังนั้นการปลูกฝังในเรื่ องความรู้สึก อารมณ์ จึงเป็ นสิ่งที่ตองพยายามสอดเเทรกในทุกเวลาทุกโอกาส
                                                                     ้
เท่าที่จะกระทาได้ แม้ว่าพฤติกรรมนี้จะไม่มีผลในทันทีทนใดก็ตาม ในกาลข้างหน้า ถ้าการเปลี่ยนแปลง
                                                            ั
9


พฤติกรรมเป็ นไปตามที่มุ่งหวัง ก็จะเป็ นการส่งเสริ มและรักษาคุณภาพทางหนึ่งบังเกิดผลดีต่อสภาพแวดล้อม
โดยส่วนรวมต่อไป

10. กรอบแนวคิดการวิจย
                    ั
              ตัวแปรต้น                                                        ตัวแปรตาม
   การจัดกิจกรรมโครงการสนองพระราชเสาวนีย ์                    1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เรื่ อง ป่ าชายเลน
   ลูกนนทรี อาสา ปลูกป่ าชายเลน พิทกษ์นครหลวง
                                   ั                          2. ความตระหนักต่อป่ าชายเลน


11. วัตถุประสงค์การวิจย     ั
            1. เพื่อ เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เรื่ องป่ าชายเลน ก่อนและหลัง เข้า ร่ วมกิจกรรม
โครงการสนอง พระราชเสาวนีย ์ ลูกนนทรี อาสา ปลูกป่ าชายเลน พิทกษ์นครหลวง ั
            2. เพื่อเปรี ยบเทียบความ ตระหนักต่อป่ าชายเลนก่อนและหลัง เข้า ร่ วมกิจกรรมโครงการ สนอง
พระราชเสาวนีย ์ ลูกนนทรี อาสา ปลูกป่ าชายเลน พิทกษ์นครหลวง
                                                       ั
12. สมมุตฐานการวิจย
          ิ             ั
            1. นักเรี ยนที่เข้าร่ วมกิจกรรมโครงการสนอง พระราชเสาวนีย ์ ลูกนนทรี อาสา ปลูกป่ าชายเลน
พิทกษ์นครหลวง มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ องป่ าชายเลนหลังเข้าร่ วมกิจกรรมสูงกว่าก่อนเข้าร่ วมกิจกรรม
   ั
           2. นักเรี ยนที่เข้าร่ วมกิจกรรมโครงการสนอง พระราชเสาวนีย ์ ลูกนนทรี อาสา ปลูกป่ าชายเลน
พิทกษ์นครหลวง มีความตระหนักต่อป่ าชายเลนหลังเข้าร่ วมกิจกรรมสูงกว่าก่อนเข้าร่ วมกิจกรรม
    ั
13. ตัวแปรและนิยามตัวแปร
          1. โครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่ าชายเลน พิทักษ์ นครหลวง หมายถึง
การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ เรื่ อง ป่ าชายเลน ให้นกเรี ย นระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ชุมนุมนนทรี วิทยา
                                                 ั
สร้างจิตอาสา พัฒนาสิ่งแวดล้อม โรงเรี ยนนนทรี วทยา ที่เข้ารับการอบรมให้มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า
                                                   ิ
ความสาคัญและเกิดความตระหนักรักและหวงแหนป่ าชายเลน
         2. ป่ าชายเลน หมายถึง สังคมพืชที่ประกอบด้วยพันธุไม้หลากหลายชนิ ด ขึ้นอยูตามบริ เวณ
                                                                   ์                       ่
ชายทะเลบางขุนเทียน ซึ่งอยูในพื้นที่แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน กรุ งเทพมหานคร
                                 ่
         3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความรู้ความสามารถทางการเรี ยนรู้ เรื่ อง ป่ าชายเลน ของ
นักเรี ยนสอบวัดจากแบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลือกที่ผวิจยสร้างขึ้น วัดพฤติกรรม 4 ด้าน คือ ด้านความรู้
                                                         ู้ ั
(Knowledge) ด้านความเข้าใจ (Comprehension) ด้านการวิเคราะห์ (Analysis) และด้านการนาไปใช้
(Application)
10


         4. ความตระหนักต่อป่ าชายเลน หมายถึง การแสดงความรู้สึกรับผิดชอบต่อปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นใน
ป่ าชายเลน ชายทะเลบางขุนเทียน ซึ่งอยูในพื้ นที่แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน กรุ งเทพมหานคร ของ
                                          ่
นักเรี ยน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ชุมนุมนนทรี วิทยาสร้างจิตอาสา พัฒนาสิ่งแวดล้อม โรงเรี ยน
นนทรี วิทยา
14. ประชากร
           ประชากรที่ใช้ในการวิจยครั้งนี้ เป็ นนักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนนนทรี วิทยา
                                ั
แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุ งเทพมหานคร ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2553 จานวน 24 ห้องเรี ยน
มีนกเรี ยน1,440 คน
   ั
15. กลุ่มตัวอย่าง
          กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยครั้งนี้ เป็ น นักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรี ยนที่ 1
                                     ั
ปี การศึกษา 2553 ชุมนุมนนทรี วิทยาสร้างจิตอาสา พัฒนาสิ่งแวดล้อม โรงเรี ยนนนทรี วิทยา ที่เข้าร่ วม
โครงการ สนอง พระราชเสาวนีย ์ ลูกนนทรี อาสา ปลูกป่ าชายเลน พิทกษ์นครหลวง
                                                             ั                                  ณ โรงเรี ยน
คลองพิทยาลงกรณ์ ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง จานวน 70 คน
16. เครื่องมือวิจย ั
           เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยครั้งนี้ ประกอบด้วย
                                    ั
           1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เรื่ อง ป่ าชายเลน
           2. แบบวัดความตระหนักต่อป่ าชายเลน
             การสร้ างและหาคุณภาพเครื่องมือ
               1. การสร้ างและหาคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
                      1.1 ศึกษา เอกสารเกี่ยวกับการวัดผลประเมินผล วิธีการสร้างแบบทดสอบ และการเขียน
ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
                      1.2 ศึกษาจุดประสงค์และเนื้อหา เพื่อสร้างตารางวิเคราะห์ให้สอดคล้องกับจุดประสงค์การ
เรี ยนรู้ เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนได้ท้ง 4 ด้าน
                                              ั
                      1.3 สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เรื่ อง ป่ าชายเลน แบบปรนัย 4 ตัวเลือก
เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน 4 ด้าน คือ ด้านความรู้ความจา ด้านความเข้าใจ ด้านการวิเคราะห์ ด้านการ
นาไปใช้ จานวน 40 ข้อ
                      1.4 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เรื่ อง ป่ าชายเลน ที่สร้างขึ้นเสนอผูเ้ ชี่ยวชาญ
จานวน 3 ท่าน ประกอบด้วย ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านวัดผลประเมินผล 1 คน ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านป่ าชายเลน 1 คนและ
ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อม 1 คน ตรวจสอบโดยหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ระหว่างข้อคาถามกับ
ส่วนที่ตองการวัด โดยที่ผลการพิจารณาความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับพฤติกรรมที่ตองการวัดต้องได้
           ้                                                                                 ้
11


ค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไป สาหรับข้อที่ไม่ผานเกณฑ์ ผูวิจยจะนาไปปรับแก้ให้มีความถูกต้อง
                                                          ่           ้ ั
ตามคาแนะนาของผูเ้ ชี่ยวชาญก่อนนาไปใช้ คือ การใช้ภาษาต้องชัดเจนถูกต้องและโจทย์และตัว เลือกลวง
ต้องมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับพฤติกรรมที่ตองการวัด   ้
                     ถ้าค่า IOC ที่คานวณได้มากกว่าหรื อเท่ากับ 0.5 หมายถึง ข้อสอบนั้นวัดได้จริ งตาม
จุดประสงค์ของการวัด ก็จะคัดเลือกข้อสอบข้อดังกล่าวไว้
                     ถ้าค่า IOC ที่คานวณได้นอยกว่า 0.5 หมายถึง ข้อสอบนั้นไม่สามารถวัด ได้ตรงตาม
                                               ้
จุดประสงค์ของการวัด ก็จะตัดหรื อนาไปปรับปรุ งข้อสอบข้อดังกล่าว ตามคาแนะนาของผูเ้ ชี่ยวชาญ
                     1.5 คัดเลือกข้อสอบ ที่มีคาถามตรงกับพฤติกรรมที่ตองการวัด ให้มีค่าดัชนีความสอดคล้อง
                                                                         ้
เท่ากับหรื อมากกว่า 0.5 ขึ้นไป จานวน 30 ข้อ
                     1.6 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเ รี ยน เรื่ อง ป่ าชายเลน ที่แก้ไขปรับปรุ งแล้วไป
ทดลองใช้กบนักเรี ยนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จานวน 100 คน แล้วนามาวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ ดังนี้
                ั
                              1.6.1 นากระดาษคาตอบมาตรวจโดยข้อที่ถก ให้ 1 คะแนน ข้อที่ตอบผิดหรื อตอบ
                                                                       ู
เกิน 1 คาตอบ ให้ 0 คะแนน เมื่อตรวจและรวมคะแนนเสร็ จให้นามาวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย (p) และ
หาค่าอานาจการจาแนก (r) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เรื่ อง ป่ าชายเลน ที่สร้างขึ้นเป็ น
รายข้อ โดยใช้เทคนิค 27% ของ จุง เตห์ ฟาน ในการแบ่งกลุ่มสูง กลุ่มต่า คัดเลือกข้อสอบที่มีค วามยากง่าย
อยูในเกณฑ์ ระหว่าง 0.20 - 0.80 และหาค่าอานาจจาแนก (r) ตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป ให้ได้ขอสอบที่ตองการ
      ่                                                                                   ้         ้
ใช้จริ งจานวน 30 ข้อ มีค่าความยากง่าย (p) ตั้งแต่ 0.37 -0.74 ค่าอานาจจาแนก (r) ตั้งแต่ 0.25 - 0.86
                              1.6.2 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เรื่ อง ป่ าชายเลน ที่คดเลือกไว้
                                                                                                  ั
จานวน 30 ข้อ มาหาค่าความเชื่อมันของแบบทดสอบทั้งฉบับ โดยคานวณจากสูตร KR - 20 ของคูเดอร์ -
                                      ่
ริ ชาร์ดสัน (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2538: 168) จากการหาค่าความเชื่อมันของแบบทดสอบทั้งฉบับ
                                                                               ่
มีค่าเท่ากับ 0.92
                              1.6.3 นาแบบทดสอบไปใช้กบกลุ่มตัวอย่าง
                                                        ั
            2. ขั้นตอนการสร้ างและหาคุณภาพแบบวัดความตระหนักต่อป่ าชายเลน
            ผูวิจยได้ดาเนินการดังนี้
              ้ ั
                     2.1 ศึกษาวิธีการสร้างแบบวัดความตระหนักต่อสิ่งแวดล้อม ตามวิธีของ ลิเคอร์ท
(Likert Scale)
                     2.2 สร้างแบบวัดความตร ะหนักต่อ ป่ าชายเลน เป็ นแบบมาตราส่วน ประเมินค่า 5 ระดับ
ได้แก่ เห็นด้วยอย่างยิง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย และไม่เห็นด้วยอย่างยิง
                          ่                                                 ่
                     2.3 นาแบบวัดความตระหนัก ที่สร้างขึ้นเสนอต่อผูเ้ ชี่ยวชาญ จานวน 3 คน ประกอบด้วย
ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการวัดผล ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านสิ่ งแวดล้อม และผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านการสอนวิชาวิทยาศาสตร์
เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของการสร้างแบบวัด ความชัดเจน ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity)
12


ความถูกต้องของข้อความ และความถูกต้องด้านภาษา ตรวจสอบโดยหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC)
ระหว่างข้อความกับความตระหนักที่ตองการวัด   ้
                     2.4 นาแบบวัดความตระหนัก เรื่ อง ป่ าชายเลน ที่แก้ไขปรับปรุ งแล้วไปทดลองใช้กบ     ั
นักเรี ยน จานวน 100 คน แล้วนามาวิเคราะห์คุณภาพดังนี้
                             2.4.1 นาแบบวัดความตระหนักที่นกเรี ยนทา มาตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์
                                                                 ั
รายข้อ คือ ให้คะแนนสาหรับความคิดเห็น เห็นด้วยอย่างยิงเป็ น 5 เห็นด้วยเป็ น 4 ไม่แน่ใจเป็ น 3 ไม่เห็นด้วย
                                                              ่
เป็ น 2 ไม่เห็นด้วยอย่างยิงเป็ น 1 ในข้อความที่เป็ นเป็ นไปในทางบวกหรื อข้อความที่ส่งผลในทางที่ดี และ ให้
                           ่
คะแนนสาหรับความคิดเห็น เห็นด้วยอย่างยิงเป็ น 1 เห็นด้วยเป็ น 2 ไม่แน่ใจเป็ น 3 ไม่เห็นด้วยเป็ น 4 ไม่เห็ น
                                                 ่
ด้วยอย่างยิงเป็ น 5 ในข้อความที่เป็ นไปในทางลบหรื อข้อความที่ส่งผลเสีย
             ่
                             2.4.2 นาผลการตรวจให้คะแนนมาวิเคราะห์ โดยการหาค่าอานาจจาแนก (r)
ของแบบวัดความตระหนักรายข้อโดยใช้การแจกแจงที เทคนิค 25% เอ็ดเวิร์ด (พวงรัตน์ ทวีรัตน์.2540: 240)
เลือกข้อสอบที่มีความแตกต่างระหว่างกลุ่มที่สอบได้คะแนนสูงและกลุ่มที่สอบได้คะแนนต่า
                             2.4.3 นาแบบวัดความตระหนักต่อ ป่ าชายเลน ไปคานวณหาค่าความเชื่อมันของ  ่
แบบวัดความตระหนักทั้งฉบับได้ค่าความเชื่อมัน 0.77     ่
                     2.5 นาแบบวัดความตระหนักต่อป่ าชายเลน ที่มีค่าความเชื่อมัน 0.77 ไปใช้กบนักเรี ยน
                                                                               ่              ั
ที่เป็ นกลุ่มตัวอย่างต่อไป
17. วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้าและเก็บข้ อมูล
          1. ผูวิจยสารวจและเก็บข้อมูล ณ โรงเรี ยนคลองพิทยาลงกรณ์ ตลอดจนพื้นที่ชายทะเลบางขุนเทียน
                ้ ั
ซึ่งอยูในพื้นที่แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน กรุ งเทพมหานคร
        ่
          2. ผูวิจยนาข้อมูลที่ได้มากาหนดบริ เวณเพื่อศึกษาลักษณะพื้นที่ สิ่งมีชีวิตในป่ าชายเลน ประกอบด้วย
                 ้ ั
พรรณพืชไม้ชายเลน และสิ่งมีชีวิตในป่ าชายเลน
          3. กาหนดเนื้อหาและกิจกรรมในโครงการสนองพระราชเสาวนีย ์ ลูกนนทรี อาสา ปลูกป่ าชายเลน
พิทกษ์นครหลวง ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ ดังนี้
     ั
                     3.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับป่ าชายเลน ได้แก่
                             - สิ่งมีชีวิตในป่ าชายเลน
                             - โครงสร้างของระบบนิเวศของป่ าชายเลน
                             - ห่วงโซ่อาหารในป่ าชายเลน
                     3.2 ความสาคัญและการใช้ประโยชน์ของป่ าชายเลน
   -                           การทาผ้ามัดย้อมจากเปลือกผลตะบูน
   -                           การทาขนมนิรันดร (ขนมจาก)
   -                           การทาไข่เค็มชายคลอง
13


                   3.3 ปัญหา สาเหตุ และผลกระทบจากการทาลายป่ าชายเลน
                           - ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งบางขุนเทียน
                   3.4 การอนุรักษ์ป่าชายเลนอย่างยังยืน
                                                   ่
                           - กิจกรรมปลูกป่ าชายเลน
        4. ผูวิจยหาคุณภาพของเครื่ องมือ ซึ่งประกอบด้วย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ เรื่ องป่ าชายเลน และ
             ้ ั
แบบวัดความตระหนักต่อป่ าชายเลน โดยให้ผเู้ ชี่ยวชาญแต่ละด้านพิจารณา
        5. ผูวิจยนาเครื่ องมือทั้งหมดที่ได้รับการตรวจและแก้ไขจากผูเ้ ชี่ยวชาญแล้ว ใช้กบกลุ่มตัวอย่าง
               ้ ั                                                                    ั
        6. ผูวิจยนาผลของการใช้เครื่ องมือก่อนและหลังการฝึ กอบรมมาวิเคราะห์ผล
              ้ ั
18. การวิเคราะห์ ข้อมูล
          การวิเคราะห์ ข้อมูลและสถิตที่ใช้
                                        ิ
          1. สถิตพนฐาน
                     ิ ื้
                1.1 ค่าคะแนนเฉลี่ย(Mean) คานวณจากสูตร(ล้วน สายยศ; และอังคณาสายยศ. 2538: 73)

                                          X 
                                                 fx
                                                 N

                         เมื่อ      X     แทน คะแนนเฉลี่ย
                                    fx   แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด
                                   N      แทน จานวนนักเรี ยนในกลุ่มทดลอง

             1.2 หาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานานวณจากสูตร(ล้วน สายยศ; และอังคณาสายยศ. 2538)
                                         ค
                                          N  X 2  ( X ) 2
                                 S.D. =
                                                N ( N  1)

                        เมื่อ S.D. แทน ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
                                      แทน         ผลรวมของคะแนนทั้งหมด
                                     2 แทน        ผลรวมของคะแนนแต่ละตัวยกกาลังสอง
                                      N แทน จานวนนักเรี ยนทั้งหมด
                                      X แทน คะแนนของนักเรี ยนแต่ละคน
             2. สถิตที่ใช้ ในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ ในการทดลอง
                     ิ
                 2.1 หาค่าดัชนีความเที่ยงตรงตามเนื้อหาของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
เรื่ อง ป่ าชายเลน ที่ประเมินโดยผูเ้ ชี่ยวชาญ คานวณค่าความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับพฤติกรรมที่
ต้องการวัด จากสูตร (พวงรัตน์ ทวีรัตน์. 2540: 117)
14



                                        IOC 
                                                R
                                                  n

                       เมื่อ      IOC  แทน ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์
                                R     แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญ
                                n      แทน จานวนผูเ้ ชี่ยวชาญ
                2.2 ค่าความยากง่าย(P) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยเน่ องป่ าชายเลนโดย
                                                                              รื
วิเคราะห์ขอสอบเป็ นรายข้อ ใช้เทคนิค 27% ของ จุง เตห์ ฟาน จากสูตร (ล้วน สายยศ; และอังคณา สายยศ.
          ้
2538: 210)
                                                      R
                                                P=
                                                      N

                       เมื่อ P      แทน ค่าความยากง่าย
                             R      แทน จานวนคนที่ทาข้อนั้นถูก
                             N      แทน จานวนคนที่ทาข้อนั้นทั้งหมด
                2.3 หาค่าอานาจจาแนก(r) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยเน่ องป่ าชายเลนจาก
                                                                           รื
สูตร (ล้วน สายยศ; และอังคณา สายยศ. 2538: 210-211)
                                              Ru  R L
                                        D=
                                                 N
                                                 2

                       เมื่อ      D     แทน ค่าอานาจจาแนก
                                  Ru    แทน จานวนนักเรี ยนที่ตอบถูกในกลุ่มเก่ง
                                  RL    แทน จานวนนักเรี ยนที่ตอบถูกในกลุ่มอ่อน
                                  N     แทน จานวนนักเรี ยนในกลุ่มเก่งและกลุ่มอ่อน
                2.4 ความเชื่อมันของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทา การเรี ยนวิทยาศาสตร์ (Reliability) ด้วย
                                ่                               ง
สูตร KR-21 ของ คูเดอร์ริชาร์ดสัน(Kuder Richardson’s Method) (ล้วน สายยศ; และอังคณา สายยศ 2538: 217)
                                                                                       .

                                    k  x k  x 
                          rtt         1        
                                  k 1     ks 2 

                       เมื่อ      rtt   แทน   ความเชื่อมัน
                                                         ่
                                  K     แทน   จานวนข้อสอบ
                                  x     แทน   คะแนนเฉลี่ย
                                  S2    แทน   คะแนนความแปรปรวน
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคมtanakit pintong
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์keatsunee.b
 
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11Aobinta In
 
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย... ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...riyanma
 
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.คกำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.คkrupornpana55
 
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์tuiye
 
5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้าkai kk
 
แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308Pises Tantimala
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56docSlกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56dockrupornpana55
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้Srion Janeprapapong
 
เทคโนโลยีทางสุขภาพ
เทคโนโลยีทางสุขภาพเทคโนโลยีทางสุขภาพ
เทคโนโลยีทางสุขภาพsarawut chaicharoen
 

Was ist angesagt? (20)

การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
 
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย... ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.คกำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.ค
 
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
 
5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า
 
แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
 
3.ตอนที่ 1
3.ตอนที่ 13.ตอนที่ 1
3.ตอนที่ 1
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
 
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56docSlกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
Astroplan19
Astroplan19Astroplan19
Astroplan19
 
1
11
1
 
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
เทคโนโลยีทางสุขภาพ
เทคโนโลยีทางสุขภาพเทคโนโลยีทางสุขภาพ
เทคโนโลยีทางสุขภาพ
 
Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 

Ähnlich wie รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์

โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1nananattie
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7tongsuchart
 
โครงการฝายชะลอน้ำ ตามพระราชดำรัส
โครงการฝายชะลอน้ำ ตามพระราชดำรัสโครงการฝายชะลอน้ำ ตามพระราชดำรัส
โครงการฝายชะลอน้ำ ตามพระราชดำรัสLuksika
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูpoo_28088
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำnunticha
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนpangminpm
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1mingpimon
 
เศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดี
เศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดีเศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดี
เศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดีfernsupawade
 
เรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงเรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงNuttayaporn
 
เรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงเรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงkittima345
 
Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3tongsuchart
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริtipfylovely
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร pang_patpp
 
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...Dr.Choen Krainara
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9Pai Chensuriyakun
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้Sompop Petkleang
 
แก้มลิง
แก้มลิงแก้มลิง
แก้มลิงsweetynuizy
 
แก้มลิง
แก้มลิงแก้มลิง
แก้มลิงnuizy
 

Ähnlich wie รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ (20)

โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7
 
โครงการฝายชะลอน้ำ ตามพระราชดำรัส
โครงการฝายชะลอน้ำ ตามพระราชดำรัสโครงการฝายชะลอน้ำ ตามพระราชดำรัส
โครงการฝายชะลอน้ำ ตามพระราชดำรัส
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
 
presentation
presentationpresentation
presentation
 
เศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดี
เศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดีเศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดี
เศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดี
 
เรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงเรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิง
 
เรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงเรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิง
 
Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3Newsletter pidthong vol.3
Newsletter pidthong vol.3
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร
 
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชา...
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
 
แก้มลิง
แก้มลิงแก้มลิง
แก้มลิง
 
แก้มลิง
แก้มลิงแก้มลิง
แก้มลิง
 

Mehr von Kobwit Piriyawat

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictKobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...Kobwit Piriyawat
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatKobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatKobwit Piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3Kobwit Piriyawat
 

Mehr von Kobwit Piriyawat (20)

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
 

รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์

  • 1.
  • 2. 1 1. ชื่อผลงานวิจย การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ อง ป่ าชายเลน และความตระหนักต่อป่ าชายเลน ั ของนักเรี ยนโรงเรี ยนนนทรี วิทยา โดยการจัดกิจกรรมโครงการสนองพระราชเสาวนีย ์ ลูกนนทรี อาสา ปลูกป่ าชายเลน พิทกษ์นครหลวง ั 2. ชื่อ-ชื่อสกุลผู้วจยิั นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ 3. ตาแหน่ ง ครู ค.ศ.1 4. วุฒิการศึกษา การศึกษาบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 1) เอกวิทยาศาสตร์ทวไป ั่ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ การศึกษามหาบัณฑิต (การสอนวิทยาศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ 5. สถานที่ตดต่อิ โรงเรี ยนนนทรี วิทยา เลขที่ 139 ถนนพระราม 3 แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุ งเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ 02-2862105 ต่อ 113 โทรสาร 02-2870729 โทรศัพท์มือถือ 086-8972892 อีเมล magnegis @ hotmail.com 6. ปี ที่ทาวิจยแล้วเสร็จ ปี 2553 ั 7. บทคัดย่อ การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน และความตระหนักต่อ ป่ าชายเลนของนักเรี ยนที่มีต่อการจัดกิจกรรมโครงการสนองพระราชเสาวนียลูกนนทรี อาสา ปลูกป่ าชายเลน ์ พิทกษ์นครหลวง ของนักเรี ยนโรงเรี ยนนนทรี วิทยา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ ั เป็ นนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่เป็ นสมาชิกชุมนุมนนทรี วิทยาสร้างจิตอาสา พัฒนาสิ่งแวดล้อม จานวน 70 คน ได้จากการ เลือกแบบเจาะจง ดาเนินการทดลองในภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2553 ใช้เวลา 12 ชัวโมง การวิเคราะห์ขอมูลโดยทดสอบความแต กต่างระหว่างคะแนนเฉลี่ยก่อนเ และหลัง ทากิจกรรม ่ ้ ด้วยการทดสอบค่าทีแบบ t-test for dependent samples ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ องป่ าชายเลน หลัง เข้า ร่ วมกิจกรรมสูงกว่าก่อนร่ วมกิจกรรม โครงการ สนองพระราชเสาวนีย ์ ลูกนนทรี อาสา ปลูกป่ าชายเลน พิทกษ์นครหลวง างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ั อย่ ั 2. ความตระหนักต่อป่ าชายเลนหลัง เข้า ร่ วมกิจกรรมสูงกว่าก่อนร่ วมกิจกรรม โครงการ สนองพระราชเสาวนีย ์ ลูกนนทรี อาสา ปลูกป่ าชายเลน พิทกษ์นครหลวง อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดั.01 ั ั บ 8. หลักการ ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา ป่ าไม้เป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่มความสาคัญต่อสรรพสิ่งทั้งมวล เนื่องจากเป็ นจุดเริ่ มต้นของการ ี ก่อเกิดปัจจัยที่จาเป็ นในการดารงชีวิต มนุษย์และสรรพสัตว์ท้งหลายจึงมีความสัมพันธ์กบทรัพยากรป่ าไม้ ั ั อย่างแยกออกจากกันไม่ได้ ป่ าไม้ที่พบเห็นโดยทัวไปแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ ป่ าบก ซึ่งหมายถึง ป่ าที่ ่ ขึ้นอยูบนพื้นดิน และป่ าชายเลน ซึ่งหมายถึง ป่ าที่ข้ ึนบริ เวณพื้นที่ชายฝั่งทะเล บริ เวณปากน้ า อ่าว ทะเลสาบ ่ และเกาะ เป็ นบริ เวณที่น้ าทะเลท่วมถึงของประเทศในแถบโซนร้อน ส่วนบริ เวณเขตเหนือหรื อใต้โซนร้อน
  • 3. 2 จะพบป่ าชายเลนอยูบางเป็ นส่วนน้อย เนื่องจากสภาพภูมิอากาศไม่เหมาะสมนัก (ประสาน บารุ งราษฎร์ . ่ ้ 2531: 5) สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ ิ พระ บรมราชินีนาถ ทรงเคยมีพระราชดารัสแสดงความห่วงใยป่ าไม้ ชายเลนที่กาลังถูกทาลายให้ลดจานวนลง ดังพระราชเสาวนียเ์ นื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 12 สิงหาคม 2544 ความตอนหนึ่งว่า “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว สอนข้าพเจ้าว่าป่ าไม้ชายเลน นี้สาคัญ ่ ั ที่สุด เพราะว่าเป็ นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า เพราะพวกเราเองก็รับประทานปลา แล้วทานปู ทานกุงกันเยอะแยะ ้ เพราะฉะนั้นป่ าชายเลนนี้สาคัญในการที่จะรักษาเอาไว้เพื่อรักษาพันธุปลา พันธุกุง ให้มีมากมายเหมือนแต่ ์ ์ ้ เก่าก่อน ขณะนี้ป่าชายเลนถูกทาลายมากมายก่ายกอง เราน่ าจะสอนลูกสอนหลานให้รู้ถึงคุณค่าป่ าชายเลน ที่มีประโยชน์ต่อคนไทยทุกคนในแผ่นดินนี้ที่ช่วยเก็บรักษา เช่น พันธุปลาต่างๆ”์ เนื่องจากป่ าชายเลนมีสภาพเป็ นโคลนเลน การพัฒนาป่ าชายเลนเพื่อนามาใช้ประโยชน์ จึงทาได้ ยากลาบาก ส่งผลให้ถกมองข้ามและไม่ได้รับ ความสนใจเท่าที่ควร ต่อมาเมื่อพบว่า ป่ าชายเลนเป็ นแหล่ง ู อนุบาลสัตว์น้ าตามธรรมชาติ เป็ นแหล่งผลิตโซ่อาหารที่สาคัญแก่สตว์ทะเลทั้งปวง เพราะใบไม้ต่าง ๆ ั ที่ร่วงหล่นสู่พ้ืนน้ าและพื้นดินจะเน่าเปื่ อยเป็ นอาหารของแพลงค์ตอนและสัตว์น้ าต่าง ๆ เมื่อ ถึงเวลาที่ระดับ น้ าลดลง กระแสน้ าจะพัดพาอาหารเหล่านี้ออกสู่ทองทะเลด้วย นอกจากนี้ป่าชายเลนยังมีคุณประโยชน์ ้ อีกมากมายทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น ป้ องกันการชะล้างพังทลายของชายฝั่ง ป้ องกันคลื่นลม พายุ ช่วยให้ แผ่นดินบริ เวณชายฝั่งทะเลงอกขยายออกไป ในทะเล อีกทั้งสามารถนาไม้มาใช้ประโยชน์ในการทาถ่าน ทาเสาเข็ม ไม้ค้ า ใช้ทาเฟอร์นิเจอร์ ใช้เป็ นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมกลันไม้ ได้สารแทนนิน แอลกอฮอล์ ่ กรดน้ าส้ม และเขม่าน้ ามัน (สนิท อักษรแก้ว. 2541: 65-69) จากการที่ป่าชายเลนมีประโยชน์ทาให้มีการบุกรุ กทาลายป่ าชายเลน เพื่อขยายพื้นที่การทานากุงและ ้ เพื่อการประกอบการ จนในที่สุดพื้นที่ป่าชายเลนได้ลดลงอย่างรวดเร็ วส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง ระบบนิเวศของโลก การที่ป่าชายเลนถูกบุกรุ กทาลายไปเป็ นจานวนมากนั้น แสดงให้เห็นว่า ผูที่ใช้ทรัพยากร ้ ในท้องถิ่นขาดควา มตระหนักถึงความสาคัญของสิ่งแวดล้อมรอบตัว และขาดเจตคติที่ดีต่อสิ่งแวดล้อม ที่ตนอาศัยอยู่ จึงก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศ เป็ นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ รวมทั้ง เป็ นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์เองด้วย ดังนั้น การแก้ ไขปัญหาการบุกรุ กทาลายพื้นที่ป่าชายเลน มีหลายแนวทาง เช่น การสร้างมาตรการป้ องกันแก้ไขจากหน่วยงานของรัฐ การกาหนดกฎหมายและ ระเบียบข้อบังคับในการปฏิบติ ซึ่งผูวิจยคิดว่าการแก้ปัญหาที่ดีที่สุด คือ การให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ั ้ ั ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อสร้างจิตสานึก สร้างความตระหนักให้เกิดความรักความหวงแหน และพร้อมที่จะร่ วมกันปกป้ องรักษาทรัพยากรในพื้นที่ของตนไว้ กรุ งเทพมหานคร เมืองหลวงที่ทนสมัยแห่งหนึ่งของเอเชีย คราคร่ าไปด้วยตึกรามบ้านช่องและ ั ถนนที่กว้างใหญ่ หากแต่ในความวุ่นวายของเมืองหลวงแห่งนี้ ยังมีพ้ืนที่เล็กๆ อีกมุมหนึ่งซึ่งเป็ นสถานที่ อันเงียบสงบและยังคงความเป็ นธรรมชาติอนสวยงามอยูเ่ ป็ นอย่างมาก ที่แห่งนี้คือ ทะเลกรุ งเทพฯ หรื อ ั ที่รู้จกกันว่า ชายทะเลบางขุนเทียน ซึ่งอยูในพื้นที่แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน กรุ งเทพมหานคร และ ั ่
  • 4. 3 ที่ตรงนี้เองได้เกิดปรากฏการณ์กดเซาะชายฝั่งที่ได้ยนตามสื่อต่างๆ อยูเ่ ป็ นประจา สิ่งที่สงเกตเห็นคือ ั ิ ั แนวต้นแสมที่ลมระเนระนาดและประ ตูระบายน้ าเข้านากุงที่จมอยูกลางทะเล ซึ่งเป็ นหลักฐานที่ชดเจน ้ ้ ่ ั ของการสูญเสียแผ่นดินชายฝั่ง ที่เป็ นปัญหาใหญ่ของชาวกรุ งเทพฯ ทุกคน ซึ่งการกัดเซาะชายฝั่งกรุ งเทพฯ ได้เกิดขึ้นมาเป็ นเวลาหลายสิบปี แล้ว แต่ในอดีตปัญหานี้ไม่ได้รับการใส่ใจจากหน่วยงานที่เ กี่ยวข้องมากนัก แต่เมื่อชาวบ้านในท้องที่เริ่ มได้รับผลกระทบมากขึ้น จึงได้มการร้องเรี ยนไปยังหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ ี และเอกชน จนผลักดันให้เกิดเป็ นโครงการความร่ วมมือแก้ไขปัญหาอย่างเป็ นรู ปธรรมในปัจจุบน สาหรับ ั การแก้ปัญหาการกัดเซาะนั้น เดิมทางกรุ งเทพมหาน ครได้เคยจัดสร้างแนวหินทิ้งบริ เวณชายฝั่งเพื่อลดแรง ปะทะของคลื่น ต่อมาได้เสนอการสร้างรอดักทรายรู ปตัวทีหรื อ “ที- กรอยน์ ” (T-Groin) โดยการวาง “ไส้กรอกทราย” แต่ชาวบ้านในพื้นที่ได้คดค้านแนวทางนี้ โดยอธิบายว่าเมื่อไส้กรอกทรายแตกออกจะทาให้ ั เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศป่ าชายเลนจากการกระจายตัวของทรายซึ่งไม่ใช่ส่วนประกอบตามธรรมชาติ ของหาดเลน ในปัจจุบนได้มการเริ่ มสร้างแนวไม้ไผ่เพื่อลดแรงปะทะของคลื่นในบริ เวณนี้แล้ว ซึ่งการแก้ปัญหา ั ี กัดเซาะชายฝั่งด้วยการสร้างแนวไม้ไผ่น้ น ชาวบางขุนเทียนได้ตนแบบมาจากตาบลโค กขาม อาเภอเมือง ั ้ จังหวัดสมุทรสาคร ซึ่งประสบปัญหาเดียวกัน ปรากฏว่าแนวไม้ไผ่น้ นนอกจากจะช่วยลดแรงปะทะของคลื่น ั ได้ดีแล้ว ยังช่วยในการกักเก็บตะกอนที่อยูในน้ า ทาให้เกิดการสะสมของตะกอนที่จะงอกกลับมาเป็ นพื้นดิน ่ อีกครั้งด้วย อีกทั้งไม้ไผ่ยงเป็ นวัสดุธรรมชาติที่สามาร ถย่อยสลายได้ และได้ช่วยสร้างงานให้กบชาวบ้าน ั ั ในจังหวัดอื่นที่ปลูกต้นไผ่เพื่อขาย และชาวบ้านในพื้นที่ซ่ึงได้รับการว่าจ้างให้ปักแนวไม่ไผ่อีกด้วย โดยที่ผานมาโครงการสร้างแนวไม้ไผ่นาร่ องในเขตทะเลบางขุนเทียนความยาวประมาณ 1 กิโลเมตร ได้รับ ่ งบประมาณสนับสนุนจากมูลนิธิชุมชนไทย ซึ่งนับเป็ นจุดเริ่ มต้นที่ดีในการแก้ปัญหาชุมชนท้องถิ่นโดยใช้ ภูมิปัญญาชาวบ้านและแรงงานในพื้นที่ แต่อย่างไรก็ดีการสร้างแนวไม้ไผ่เพื่อลดแรงปะทะของคลื่นนั้น เป็ นวิธีการที่ไม่ยงยืน เนื่องจากไม้ไผ่ยอมเกิดผุ พังไปตามกาลเวลา การปลูกป่ าชายเลน จึงเป็ นอีกหนทาง ั่ ่ หนึ่งในการรักษาชายฝั่งของกรุ งเทพมหานครจากการกัดเซาะของคลื่นอย่างยังยืน และเป็ นการสร้างแหล่ง ่ ที่อยูอาศัยของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งสร้างระบบนิเวศป่ าชายเลน ให้กลับมาสมบูรณ์ ตลอดจนเป็ นแหล่งเรี ยน รู้ ่ ด้านระบบนิเวศป่ าชายเลน เป็ นสถานที่พกผ่อนหย่อนใจและเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวในการท่องเที่ยว ั เชิงอนุรักษ์อีกด้วย การจัดการศึกษาจึงเป็ นแนวทางหนึ่งในการแก้ปัญหา ซึ่งจะส่งผลในระยะยาว เพราะการให้ การศึกษาคือ การสร้างพื้นฐานของการดารงชีวิต แต่การศึกษาที่ดีที่สุด คือ การจัดประสบการณ์ท้งมวล ั ให้ผเู้ รี ยนเรี ยนรู้โดยใช้ประสบการณ์ตรงหรื อทาการทดลอง ค้นคว้าหาคาตอบด้วยตนเองเพื่อจะได้เป็ น ความรู้ติดตัวผูเ้ รี ยนไปตลอดชีพ ดังนั้นถ้าต้องการให้ผเู้ รี ยนมีเจตคติ ค่านิยมและมีความตระหนักในคุณ ค่า ของสิ่งแวดล้อมก็ตองจัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ ้ โดยใช้แหล่งเรี ยนรู้ของท้องถิ่นให้ผเู้ รี ยนมองเห็น ความ สัมพันธ์ของระบบนั้น ๆ กับการดารงชีพเพื่อผูเ้ รี ยนจะสามารถจัดการระบบสิ่งแวดล้อมในท้องถิน ่ ของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 5. 4 การปลูกฝังความรู้ เรื่ อง การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของผูเ้ รี ยน สามารถกระทา ได้ทุกระดับชั้น รวมทั้งในสถาบันครอบครัว โดยการปรับเนื้อหา ความรู้ และกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัย ของผูเ้ รี ยน ครู ผสอนควรหากิจกรรมที่ปฏิบติจากธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในเชิงการอนุรักษ์ เพื่อให้ผเู้ รี ยน ู้ ั เกิดความรู้สึกรับผิดชอบและมีส่วนร่ วมในการรักษาสิ่งแวดล้อมร่ วมกัน (ลัดดาวัลย์ กัณหาสุวรรณ . 2534: 3-8) จะช่วยให้ผเู้ รี ยนเกิดความตระหนักเรื่ องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยังยืน ตลอดจน ่ สามารถมองเห็นปัญหา และนาผลการเรี ยนรู้ไปประยุกต์ใช้กบชีวิตจริ งได้ การจัดการเรี ยนการสอนเกี่ยวกับ ั สิ่งแวดล้อม จึงเป็ นเรื่ องเฉพาะเจาะจงของแต่ละท้องถิ่น ซึ่งอาจจะมีความคล้ายหรื อแตกต่างจากพื้นที่อื่น ได้ ๆ แต่กระบวนการเรี ยนการสอนที่มีคุณภาพ เอื้อต่อการพัฒนาศักยภาพ และความรู้ความสามารถของผูเ้ รี ยน จาเป็ นอย่างยิงที่ผจดการศึกษาต้องหาวิธีการสอนและสื่อการสอนที่หลากหลายเพื่อกระตุนให้ผเู้ รี ยนมีอิสระ ่ ู้ ั ้ ในการเรี ยนรู้ มีส่วนร่ วมในการปฏิบติจริ ง เน้นกระบวนการมากกว่าเนื้อหา พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ ั สามารถสร้างองค์ความรู้ได้ดวยตนเอง และนาประสบการณ์ไปใช้ในชีวิต ประจาวันได้ (วีระ พลอยครบุรี . ้ 2543: 85) โรงเรี ยนนนทรี วิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาธยมศึกษา เขต 2 สานักงานคณะกรรมการ มั การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะสถาบันการศึกษาหนึ่งของสังคม ที่มีบทบาทและหน้าที่ ที่สาคัญในการจัดการศึกษา พัฒนาเยาวชนไท ยให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ตามศักยภาพ และสามารถดารง ในชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นอกจากนี้โรงเรี ยนนนทรี วิทยา ยังเป็ น 1 ใน 500 โรงเรี ยนที่ได้รับการคัดเลือกเป็ นโรงเรี ยนสู่มาตรฐานสากล (World Class Standard School) ซึ่งต้องจัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีความเป็ นพลโลก และมีจิตสาธารณะ อีกทั้งด้วยการที่โรงเรี ยนอยูใน่ เขตกรุ งเทพมหานคร จึงได้เกิด ความตระหนักต่อความสาคัญของปัญหาดังกล่าว โดยได้นอมนาแนว ้ พระราชเสาวนียมาดาเนินการให้ บังเกิดผลเป็ นรู ปธรรมในการปลูกป่ าชายเลน บริ เวณชายทะเลบางขุนเทียน ์ ซึ่งได้ดาเนินการโดยผ่านกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ที่มี “ชุมนุมนนทรี วิทยา สร้างจิตอาสา พัฒน าสิ่งแวดล้อม ” เป็ นผูรับผิดชอบดาเนินการ จึงได้ริเริ่ มจัดทา“โครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่ าชายเลน ้ พิทักษ์ นครหลวง” ขึ้น เพื่อเป็ นการสนองพระราชเสาวนียสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ์พระบรมราชินีนาถฯ ์ ในการอนุรักษ์ป่าไม้ และเป็ นการเฉลิมพระเกียรติ์ในว โรกาสคล้ายวันพระราชสมภพ 12 สิงหาคม 2553 ตลอดจนเพื่อร่ วมกันแสดงบทบาทพลเมืองของโลก ในการปกป้ อง หวงแหน และดูแลสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะป่ าชายเลนผืนสุดท้ายที่ทาหน้าที่เป็ นด่านหน้าปกป้ องกรุ งเทพมหานครอยูในขณะนี้ ให้มีชายฝั่ง ่ คงอยู่ มีระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมที่อย่างยั่ งยืนสืบไปชัวลูกหลาน ซึ่ง ผูวิจย ได้ทาการวิจยเพื่อ ศึกษา ่ ้ ั ั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ อง ป่ าชายเลน และความตระหนักต่อป่ าชายเลน ของนักเรี ยนโรงเรี ยนนนทรี วิทยา โดยการจัดกิจกรรมโครงการสนองพระราชเสาวนีย ์ ลูกนนทรี อาสา ปลูกป่ าชายเลน พิทกษ์นครหลวง ั
  • 6. 5 9. แนวคิด/ทฤษฎี ในการวิจยครั้งนี้ ผูวิจยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวข้อง 2 ประเด็นที่สาคัญ ดังนี้ ั ้ ั 1. แนวคิดเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน 2. แนวคิดเกี่ยวกับความตระหนัก 1. แนวคิดเกียวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ่ การเรี ยนการสอนในทุกสาขาวิชา เมื่อผ่านกระบวนการเรี ยนการสอนจะต้องมีการประเมินผลเพื่อ ตรวจสอบผูเ้ รี ยนว่ามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนบรรลุจุดประสงค์หรื อไม่ ดังนั้นการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรี ยนการสอนจึงนับว่ามีความสาคัญยิง ่ 1.1 ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน กระทรวงศึกษาธิการ (2542: 13)ได้บญญัติศพท์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนไว้ว่า “ผลสัมฤทธิ์ทางการ ั ั เรี ยน หมายถึง ความสาเร็ จหรื อความสามารถในการกระทาใดๆ ที่ตองอาศัยทักษะ หรื อมิฉะนั้น ก็ตองอาศัย ้ ้ ความรอบรู้ในวิชาใดวิชาหนึ่งโดยเฉพาะ” Bloom (1976: 201–207) ได้สรุ ปว่าผลสัมฤทธิ์หรื อประสิทธิภาพทางการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยนนั้น เป็ น ความสามารถที่แสดงออกทางพฤติกรรมย่อย ๆ ได้ในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1) ด้านความรู้ความจา (Knowledge) เป็ นความสามารถที่ผเู้ รี ยนเก็บและระลึกถึงเรื่ องราว ต่าง ๆ ที่ได้รับการสังสอนอบรมมาใช้ได้เป็ นลักษณะนี้ ผูเ้ รี ยนแสดงออกในรู ปของการจา และระลึกเรื่ องราว ่ นั้น ๆ ได้ 2) ด้านความเข้าใจ (Comprehensive) เป็ นความสามารถที่แสดงออกในลักษณะของการ ถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรี ยนรู้มา ด้วยการเขียนหรื อกระทาใดๆให้ผอื่นเข้าใจได้ ู้ 3) ด้านการนาไปใช้ (Application) เป็ นความสามารถที่ผเู้ รี ยนนาเอาความรู้ความเข้าใจ จากสิ่งที่ได้ รับการอบรมสังสอนบวกกับประสบการณ์ต่าง ๆ ของตนไปใช้ในสถานการณ์จริ ง ๆ หรื อ ่ สถานการณ์จาลองคล้ายคลึงกัน 4) ด้านการวิเคราะห์ (Analysis) เป็ นพฤติกรรมที่ผเู้ รี ยนแสดงออกให้เห็นได้ดวย ้ ความสามารถแยกแยะเรื่ องราว เหตุการณ์ ผลลัพธ์ ผลรวมของปรากฏการณ์ใด ๆ ที่ประจักษ์อยูน้ นว่าเกิดจาก ่ ั หรื อประกอบจากส่วนย่อยต่างๆ อะไรบ้าง สามารถวิเคราะห์บางส่วนที่สาคัญของเรื่ องราวได้มองเห็น ความสัมพันธ์เกี่ยวโยงของปลีกย่อยของสิ่งที่เรี ยนรู้ เป็ นต้น 5) ด้านสังเคราะห์ (Synthesis) เป็ นความสามารถที่ผเู้ รี ยนนาเอาสิ่งที่เรี ยนต่าง ๆ มาร้อย กรองจัดระ เบียบใหม่ให้เกิดเป็ นโครงสร้าง เรื่ องราวใหม่ที่แปลกกว่าเดิม มีประสิทธิภาพสูงกว่าเดิม เป็ นลักษณะของความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์นนเองั่ 6) ด้านการประเมินค่า (Evaluation) เป็ นพฤติกรรมทางปัญญาที่สูงที่สุดในด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เป็ นความสามารถที่ ผูเ้ รี ยนวินิจฉัยเรื่ องราวต่าง ๆ ว่าดีหรื อไม่ดี ควรปฏิบติหรื อไม่ควร ั เหมาะสมหรื อไม่เหมาะสมเป็ นการใช้วิจารณญาณขั้นสุดยอดนันเอง ่
  • 7. 6 จากความคิดเห็นของนักการศึกษา เกี่ยวกับความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน พอสรุ ปได้ดงนี้ ั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเป็ นคุณลักษณะความสาม ารถของบุคคลอันเกิดจากการเรี ยนการสอน เป็ นการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและประสบการณ์การเรี ยนรู้ ที่เกิดจากการฝึ กอบรมหรื อจากการสอน การวัด ผลสัมฤทธิ์จึงเป็ นการตรวจสอบความสามารถ หรื อความสัมฤทธิ์ผลของบุคคล ซึ่งแสดงออกในลักษณะของ พฤติกรรมต่าง ๆ ที่สามารถวัดได้ 2 แบบ ตามจุ ดมุ่งหมายและลักษณะวิชาสอน คือ การวัดด้านปฏิบติและ ั การวัดด้านเนื้อหา จึงกล่าวได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสิ่งแวดล้อมหมายถึงคุณลักษณะความรู้ ความสามารถด้านสิ่งแวดล้อม ที่เกิดจากการเรี ยนการสอนหรื อประสบการณ์จากการฝึ กอบรม ซึ่งวัดได้จาก การแสดงออกของพฤติกรรมต่าง ๆ 1.2 การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน สมบูรณ์ ชิตพงษ์ และคณะ (2540: 6–7) ได้กล่าวว่า การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนจะต้อง สอดคล้องกับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 3 ด้าน คือ 1) ด้านความรู้ ความคิด (Cognitive Domain) พฤติกรรมด้านนี้เกี่ยวกับกระบวนการต่าง ๆ ทางด้านสติปัญญาและสมอง 2) ด้านความรู้สึก (Affective Domain) พฤติกรรมด้านนี้เกี่ยวข้องกับการเจริ ญเติบโตและ พัฒนาการในด้านความสนใจ คุณค่า ความซาบซึ้ง และเจตคติต่าง ๆ ของนักเรี ยน 3) ด้านการปฏิบติการ (Psycho – Motor Domain) พฤติกรรมด้านนี้เกี่ยวข้องกับการพัฒนา ั ทักษะในการปฏิบติ และดาเนินการ เช่น การทดลอง เป็ นต้น ั กล่าวโดยสรุ ปแล้ว การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเป็ นการวัดความสามารถทางพฤติกรรมของ ผูเ้ รี ยนด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ หลังจากได้รับการสอนหรื อการฝึ กอบรมด้วยวิธีการต่าง ๆ 1.3 เครื่ องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ซึ่งแบ่งได้เป็ น 2 พวก 1) แบบทดสอบของครู (Teacher Made Test) หมายถึงชุดของคาถามที่ครู เป็ นผูสร้างขึ้น้ ซึ่งเป็ นคาถามที่เกี่ยวกับความรู้ที่นกเรี ยนได้เรี ยนในห้องเรี ยนว่านักเรี ยนมีความรู้มากแค่ไหน บกพร่ องที่ ั ตรงไหน จะได้สอนซ่อมเสริ ม หรื อเป็ นการวัดเพื่อดู ความพร้อมที่จะเรี ยนบทเรี ยนใหม่ ซึ่งขึ้นอยูกบความ ่ ั ต้องการของครู 2) แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized Test)แบบทดสอบประเภทนี้ สร้างขึ้นจาก ผูเ้ ชี่ยวชาญในแต่ละสาขา หรื อจากครู ที่สอนวิชานั้น แต่ผานการตรวจสอบคุณภาพโดยนาผลมาวิเคราะห์ดวย ่ ้ วิธีการทางสถิติ หลายครั้งจนกระทังมีคุณภาพดีพอ จึงสร้างเกณฑ์ปกติของแบบทดสอบนั้นสามารถใช้เป็ น ่ หลักเปรี ยบเทียบผลเพื่อการประเมินค่าของการเรี ยนการสอนในเรื่ องใด ๆ ก็ได้ ซึ่งเป็ นแบบทดสอบ มาตรฐานจะมีความเป็ นมาตรฐานอยู่ 2 ประการ คือ 2.1) มาตรฐานในการดาเนินการสอบ หมายความว่า แบบทดสอบนี้ไม่ว่าจะ นาไปใช้ที่ไหนเมื่อไรก็ตาม คาชี้แจง คาอธิบาย การดาเนินการสอบจะเหมือนกันทุกครั้งไปจะมีการควบคุม
  • 8. 7 ตัวแปรต่าง ๆ ที่ทาให้คะแนนคลาดเคลื่อน เช่น ผูคุมสอบ การจัดชั้นเรี ยน กระบวนการสอบ การใช้คาสัง ้ ่ เป็ นต้น กระบวนการสอบประเภทนี้มีคาชี้แจงในการใช้ขอสอบ (Manual) อยูดวย ้ ่ ้ 2.2) มาตรฐานในการแปลความหมายของคะแนน หมายความว่า ไม่ว่าจะสอบที่ ไหน เมื่อไร ก็ตองแปลคะแนนได้เหมือนกัน ฉะนั้นข้อสอบประเภทนี้จึงต้องมีเกณฑ์ (Norm) สาหรับ ้ เปรี ยบเทียบให้เป็ นมาตรฐานเดียวกันได้ ดังนั้นจึงพอสรุ ปได้ว่า เครื่ องมือที่ใช้วดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน คือ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ั ซึ่งแบ่งเป็ น 2 พวกคือ แบบทดสอบของครู และแบบทดสอบมาตรฐาน โดยการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน จะต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 3 ด้าน คือ ความรู้ความจา ความรู้สึก และด้านการปฏิบติ ั 2. แนวคิดเกี่ยวกับความตระหนัก 2.1 แนวคิดเกี่ยวกับความตระหนัก กู๊ด (Good. 1973: 54) ได้ให้ความหมายว่า ความตระหนัก หมายถึง ความรู้สึกที่แสดงถึงการเกิด ความรู้ของบุคคลหรื อการที่บุคคลแสดงความรู้สึกรับผิดชอบต่อปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น บลูม และคณะ (Bloom; and orther. 1971: 273) ได้ให้ความหมายว่า ความตระหนักเป็ นขั้นต่าสุด ของอารมณ์และความรู้สึก ความตระหนักเกือบคล้ายความรู้ตรงที่ ทั้งความรู้และความตระหนักไม่เป็ น ลักษณะของสิ่งเร้า ความตระหนักไม่จาเป็ นต้องใช้ปรากฎการณ์หรื อสิ่งหนึ่งสิ่งใด ความตระหนักจะเกิดขึ้น เมื่อมีสิ่งเร้าให้เกิดความตระหนัก จากความหมายของความตระหนักที่นกวิชาการในสาขาต่าง ๆ ได้ให้ความหมายไว้ดงกล่าวข้างต้น ั ั จึงพอสรุ ปได้ว่า ความตระหนัก หมายถึง การแสดงออกซึ่งความรู้สึก ความคิดเห็นความสานึก เป็ นภาวะที่ บุคคลเข้าใจเเละประเมินสถานการณ์ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับตนเองได้โดยอาศัยระยะเวลา เหตุการณ์ ประสบการณ์ หรื อสภาพเเวดล้อม เป็ นปัจจัยทาให้เกิดความตระหนัก 2.2 การวัดความตระหนัก เกิดการศึกษาความหมายเเละลักษณะของความตระหนัก (Awareness) เป็ นพฤติกรรมเกี่ยวกับ ความรู้สึก สานึกว่า สิ่งนั้นอยู่ (Conscious of something) จาเเนกเเละรับรู้ซ่ึงพฤติกรรมที่ละเอียดอ่อนเกี่ ยวกับ ด้านความรู้สึก อารมณ์ ดังนั้นการที่จะทาการวัดเเละประเมินผล จึงต้องมีหลักการเเละวิธีการตลอดจน เทคนิคเฉพาะ จึงจะวัดความรู้เเละอารมณ์ดงกล่าวออกมาให้เที่ยงตรงเเละเชื่อมันได้ ั ่ เครื่ องมือที่ใช้วดความรู้สึกอารมณ์น้ น มีหลายประเภทด้วยกันซึ่งจะนามากล่าวไว้ดง นี้คือ ั ั ั (ประพล มิลินทจินดา. 2542: 25-27) 1) วิธีการสัมภาษณ์ (lnterview) อาจเป็ นการสัมภาษณ์ชนิดที่โครงสร้างเเน่นอน โดยสร้าง คาถามเเละมีคาตอบให้เลือกเหมือน ๆ กัน เเบบสอบถามชนิดเลือกตอบ เเละคาถามจะต้องตั้งไว้ก่อน เรี ยงลาดับก่อนหลังไว้อ ย่างดีหรื ออาจเป็ นเเบบไม่มีโครงสร้างซึ่งเป็ นการสัมภาษณ์ที่มีไว้เเต่หวข้อใหญ่ๆ ั ให้ผตอบมีเสรี ภาพในการตอบเเละคาถามเป็ นไปตามโอกาสอานวยในขณะที่สนทนากัน ู้
  • 9. 8 2) แบบสอบถาม (Questionnaires) เเบบสอบถามอาจเป็ นชนิดเปิ ดเเละปิ ดหรื อเเบบผสม ระหว่างเปิ ดกับปิ ดก็ได้ 3) เเบบตรวจสอบรายการ (Checklist) เป็ นเครื่ องมือวัดชนิดที่ให้ตรวจสอบว่าเห็นด้วยไม่ เห็นด้วย หรื อมี ไม่มี สิ่งที่กาหนดตามรายการอาจอยูในรู ปของการทาเครื่ องหมายตอบหรื อเลือกว่าใช่ ไม่ใช่ ่ 4) มาตราวัดอันดับคุณภาพ (Rating Scale) เครื่ องมือชนิดนี้เหมาะสาหรับการวัด อารมณ์ และความรู้สึกที่ตองการทราบความเข้ม (lntensity) ว่ามีนอยเพียงใดในเรื่ องนั้น ้ ้ 5) การใช้ความหมายภาษา (Semantic Differential Technique : S.D.) เทคนิคการวัดโดยใช้ ความหมายของภาษาของชาลส์ ออสกูด เป็ นเครื่ องมือที่วดได้ครอบคลุมมากชนิดนี้จะประกอบด้วยเรื่ อง ั ซึ่งถือเป็ น ”สังกัป ” เเละจะมีคุณศัพท์ ที่ตรงข้ามกันเป็ นคู่ ๆ ประกอบสังกัปนั้นหลายคู่ แต่ละคู่มี 2 ขั้ว ช่องห่างระหว่าง 2 ขั้วนี้บ่งด้วยตัวเลข ถ้าใกล้ขางใดมากก็จะมีลกษณะตามคุณศัพท์ของขั้วนั้นมาก คุณศัพท์ ้ ั ที่ประกอบเป็ น 2 ขั้วนี้ แยกออกเป็ น 3 ขั้วใหญ่ ๆ คือ พวกที่เกี่ยวกับการประเมินค่า (Evaluation) พวกที่ เกี่ยวกับศักยภาพ (Potential) และพวกที่เกี่ยวกับกิจกรรม (Activity) 2.3 วิธีการสร้างแบบวัดความตระหนัก มีลาดับในการสร้างดังนี้คือ 1) การรวบรวมข้อมูล ข้อมูลนั้นอาจจะนามาจากเอกสาร บทวิเคราะห์งานการศึกษาวิจย ั 2) การตรวจสอบข้อมูล เพื่อให้แน่ใจว่าขอ้ มูลที่นามาใช้ในการสร้างแบบวัดนั้นมีความ เหมาะสมเกี่ยวกับที่จะตอบหรื อใช้วดกับกลุ่มตัวอย่าง ั 3) เขียนแบบวัดโดยการสร้างเหตุการณ์ เพื่อให้กลุ่มตัวอย่างได้แสดงความรู้สึกที่แท้จริ ง ของตนออกมา โดยการตรวจสอบในแบบตรวจสอบรายการ 4) จัดเรี ยงตัวลวงและตัวเลือก 5) ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบวัด 2.4 ความสาคัญของการมีความตระหนักต่อการส่งเสริ มเเละรักษาคุณภาพสิ่งเเวดล้อม การส่งเสริ มและรักษาสิ่งแวดล้อมให้มีคุณภาพดารงอยูน้ น นอกจากกระบวนการให้ความรู้ความ ่ ั เข้าใจเเละนั้นการปลูกฝังหรื อพัฒนาความรู้สึกซาบซึ้งต่อสิ่งเเวดล้อมในทางที่ถกต้อง นับว่าเป็ นสิ่งจาเป็ น ู อีกประการหนึ่งเช่นกัน เมื่อบุคคลมีพฤติกรรมส่งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแล้ว การทาลาย ทรัพยากรก็จะลดน้อยลง ในทางตรงข้ามจะเกิดการอนุรักษ์ทรัพยากรที่มีอยูให้คงที่ และเป็ นประโยชน์ต่อคน ่ รุ่ นหลังต่อไป เช่น การปลูกและดูแลรักษาต้นไม้ตามสถานที่ต่างๆ หรื อสวนสาธารณะ นอกจากจะเกิดความ ร่ มรื่ นแล้ว ยังช่วยสร้างสถานที่พกผ่อนสาหรับบุคคลโดยทัวไปอีกด้วย ั ่ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางด้านความรู้สึก อารมณ์ เป็ นเรื่ องที่เกิดขึ้นภายในจิตใจข องแต่ละ บุคคล ดังนั้นการปลูกฝังในเรื่ องความรู้สึก อารมณ์ จึงเป็ นสิ่งที่ตองพยายามสอดเเทรกในทุกเวลาทุกโอกาส ้ เท่าที่จะกระทาได้ แม้ว่าพฤติกรรมนี้จะไม่มีผลในทันทีทนใดก็ตาม ในกาลข้างหน้า ถ้าการเปลี่ยนแปลง ั
  • 10. 9 พฤติกรรมเป็ นไปตามที่มุ่งหวัง ก็จะเป็ นการส่งเสริ มและรักษาคุณภาพทางหนึ่งบังเกิดผลดีต่อสภาพแวดล้อม โดยส่วนรวมต่อไป 10. กรอบแนวคิดการวิจย ั ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม การจัดกิจกรรมโครงการสนองพระราชเสาวนีย ์ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เรื่ อง ป่ าชายเลน ลูกนนทรี อาสา ปลูกป่ าชายเลน พิทกษ์นครหลวง ั 2. ความตระหนักต่อป่ าชายเลน 11. วัตถุประสงค์การวิจย ั 1. เพื่อ เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เรื่ องป่ าชายเลน ก่อนและหลัง เข้า ร่ วมกิจกรรม โครงการสนอง พระราชเสาวนีย ์ ลูกนนทรี อาสา ปลูกป่ าชายเลน พิทกษ์นครหลวง ั 2. เพื่อเปรี ยบเทียบความ ตระหนักต่อป่ าชายเลนก่อนและหลัง เข้า ร่ วมกิจกรรมโครงการ สนอง พระราชเสาวนีย ์ ลูกนนทรี อาสา ปลูกป่ าชายเลน พิทกษ์นครหลวง ั 12. สมมุตฐานการวิจย ิ ั 1. นักเรี ยนที่เข้าร่ วมกิจกรรมโครงการสนอง พระราชเสาวนีย ์ ลูกนนทรี อาสา ปลูกป่ าชายเลน พิทกษ์นครหลวง มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ องป่ าชายเลนหลังเข้าร่ วมกิจกรรมสูงกว่าก่อนเข้าร่ วมกิจกรรม ั 2. นักเรี ยนที่เข้าร่ วมกิจกรรมโครงการสนอง พระราชเสาวนีย ์ ลูกนนทรี อาสา ปลูกป่ าชายเลน พิทกษ์นครหลวง มีความตระหนักต่อป่ าชายเลนหลังเข้าร่ วมกิจกรรมสูงกว่าก่อนเข้าร่ วมกิจกรรม ั 13. ตัวแปรและนิยามตัวแปร 1. โครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่ าชายเลน พิทักษ์ นครหลวง หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ เรื่ อง ป่ าชายเลน ให้นกเรี ย นระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ชุมนุมนนทรี วิทยา ั สร้างจิตอาสา พัฒนาสิ่งแวดล้อม โรงเรี ยนนนทรี วทยา ที่เข้ารับการอบรมให้มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า ิ ความสาคัญและเกิดความตระหนักรักและหวงแหนป่ าชายเลน 2. ป่ าชายเลน หมายถึง สังคมพืชที่ประกอบด้วยพันธุไม้หลากหลายชนิ ด ขึ้นอยูตามบริ เวณ ์ ่ ชายทะเลบางขุนเทียน ซึ่งอยูในพื้นที่แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน กรุ งเทพมหานคร ่ 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความรู้ความสามารถทางการเรี ยนรู้ เรื่ อง ป่ าชายเลน ของ นักเรี ยนสอบวัดจากแบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลือกที่ผวิจยสร้างขึ้น วัดพฤติกรรม 4 ด้าน คือ ด้านความรู้ ู้ ั (Knowledge) ด้านความเข้าใจ (Comprehension) ด้านการวิเคราะห์ (Analysis) และด้านการนาไปใช้ (Application)
  • 11. 10 4. ความตระหนักต่อป่ าชายเลน หมายถึง การแสดงความรู้สึกรับผิดชอบต่อปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นใน ป่ าชายเลน ชายทะเลบางขุนเทียน ซึ่งอยูในพื้ นที่แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน กรุ งเทพมหานคร ของ ่ นักเรี ยน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ชุมนุมนนทรี วิทยาสร้างจิตอาสา พัฒนาสิ่งแวดล้อม โรงเรี ยน นนทรี วิทยา 14. ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจยครั้งนี้ เป็ นนักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนนนทรี วิทยา ั แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุ งเทพมหานคร ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2553 จานวน 24 ห้องเรี ยน มีนกเรี ยน1,440 คน ั 15. กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยครั้งนี้ เป็ น นักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรี ยนที่ 1 ั ปี การศึกษา 2553 ชุมนุมนนทรี วิทยาสร้างจิตอาสา พัฒนาสิ่งแวดล้อม โรงเรี ยนนนทรี วิทยา ที่เข้าร่ วม โครงการ สนอง พระราชเสาวนีย ์ ลูกนนทรี อาสา ปลูกป่ าชายเลน พิทกษ์นครหลวง ั ณ โรงเรี ยน คลองพิทยาลงกรณ์ ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง จานวน 70 คน 16. เครื่องมือวิจย ั เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยครั้งนี้ ประกอบด้วย ั 1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เรื่ อง ป่ าชายเลน 2. แบบวัดความตระหนักต่อป่ าชายเลน การสร้ างและหาคุณภาพเครื่องมือ 1. การสร้ างและหาคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 1.1 ศึกษา เอกสารเกี่ยวกับการวัดผลประเมินผล วิธีการสร้างแบบทดสอบ และการเขียน ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน 1.2 ศึกษาจุดประสงค์และเนื้อหา เพื่อสร้างตารางวิเคราะห์ให้สอดคล้องกับจุดประสงค์การ เรี ยนรู้ เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนได้ท้ง 4 ด้าน ั 1.3 สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เรื่ อง ป่ าชายเลน แบบปรนัย 4 ตัวเลือก เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน 4 ด้าน คือ ด้านความรู้ความจา ด้านความเข้าใจ ด้านการวิเคราะห์ ด้านการ นาไปใช้ จานวน 40 ข้อ 1.4 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เรื่ อง ป่ าชายเลน ที่สร้างขึ้นเสนอผูเ้ ชี่ยวชาญ จานวน 3 ท่าน ประกอบด้วย ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านวัดผลประเมินผล 1 คน ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านป่ าชายเลน 1 คนและ ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อม 1 คน ตรวจสอบโดยหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ระหว่างข้อคาถามกับ ส่วนที่ตองการวัด โดยที่ผลการพิจารณาความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับพฤติกรรมที่ตองการวัดต้องได้ ้ ้
  • 12. 11 ค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไป สาหรับข้อที่ไม่ผานเกณฑ์ ผูวิจยจะนาไปปรับแก้ให้มีความถูกต้อง ่ ้ ั ตามคาแนะนาของผูเ้ ชี่ยวชาญก่อนนาไปใช้ คือ การใช้ภาษาต้องชัดเจนถูกต้องและโจทย์และตัว เลือกลวง ต้องมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับพฤติกรรมที่ตองการวัด ้ ถ้าค่า IOC ที่คานวณได้มากกว่าหรื อเท่ากับ 0.5 หมายถึง ข้อสอบนั้นวัดได้จริ งตาม จุดประสงค์ของการวัด ก็จะคัดเลือกข้อสอบข้อดังกล่าวไว้ ถ้าค่า IOC ที่คานวณได้นอยกว่า 0.5 หมายถึง ข้อสอบนั้นไม่สามารถวัด ได้ตรงตาม ้ จุดประสงค์ของการวัด ก็จะตัดหรื อนาไปปรับปรุ งข้อสอบข้อดังกล่าว ตามคาแนะนาของผูเ้ ชี่ยวชาญ 1.5 คัดเลือกข้อสอบ ที่มีคาถามตรงกับพฤติกรรมที่ตองการวัด ให้มีค่าดัชนีความสอดคล้อง ้ เท่ากับหรื อมากกว่า 0.5 ขึ้นไป จานวน 30 ข้อ 1.6 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเ รี ยน เรื่ อง ป่ าชายเลน ที่แก้ไขปรับปรุ งแล้วไป ทดลองใช้กบนักเรี ยนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จานวน 100 คน แล้วนามาวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ ดังนี้ ั 1.6.1 นากระดาษคาตอบมาตรวจโดยข้อที่ถก ให้ 1 คะแนน ข้อที่ตอบผิดหรื อตอบ ู เกิน 1 คาตอบ ให้ 0 คะแนน เมื่อตรวจและรวมคะแนนเสร็ จให้นามาวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย (p) และ หาค่าอานาจการจาแนก (r) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เรื่ อง ป่ าชายเลน ที่สร้างขึ้นเป็ น รายข้อ โดยใช้เทคนิค 27% ของ จุง เตห์ ฟาน ในการแบ่งกลุ่มสูง กลุ่มต่า คัดเลือกข้อสอบที่มีค วามยากง่าย อยูในเกณฑ์ ระหว่าง 0.20 - 0.80 และหาค่าอานาจจาแนก (r) ตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป ให้ได้ขอสอบที่ตองการ ่ ้ ้ ใช้จริ งจานวน 30 ข้อ มีค่าความยากง่าย (p) ตั้งแต่ 0.37 -0.74 ค่าอานาจจาแนก (r) ตั้งแต่ 0.25 - 0.86 1.6.2 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เรื่ อง ป่ าชายเลน ที่คดเลือกไว้ ั จานวน 30 ข้อ มาหาค่าความเชื่อมันของแบบทดสอบทั้งฉบับ โดยคานวณจากสูตร KR - 20 ของคูเดอร์ - ่ ริ ชาร์ดสัน (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2538: 168) จากการหาค่าความเชื่อมันของแบบทดสอบทั้งฉบับ ่ มีค่าเท่ากับ 0.92 1.6.3 นาแบบทดสอบไปใช้กบกลุ่มตัวอย่าง ั 2. ขั้นตอนการสร้ างและหาคุณภาพแบบวัดความตระหนักต่อป่ าชายเลน ผูวิจยได้ดาเนินการดังนี้ ้ ั 2.1 ศึกษาวิธีการสร้างแบบวัดความตระหนักต่อสิ่งแวดล้อม ตามวิธีของ ลิเคอร์ท (Likert Scale) 2.2 สร้างแบบวัดความตร ะหนักต่อ ป่ าชายเลน เป็ นแบบมาตราส่วน ประเมินค่า 5 ระดับ ได้แก่ เห็นด้วยอย่างยิง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย และไม่เห็นด้วยอย่างยิง ่ ่ 2.3 นาแบบวัดความตระหนัก ที่สร้างขึ้นเสนอต่อผูเ้ ชี่ยวชาญ จานวน 3 คน ประกอบด้วย ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการวัดผล ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านสิ่ งแวดล้อม และผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของการสร้างแบบวัด ความชัดเจน ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity)
  • 13. 12 ความถูกต้องของข้อความ และความถูกต้องด้านภาษา ตรวจสอบโดยหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ระหว่างข้อความกับความตระหนักที่ตองการวัด ้ 2.4 นาแบบวัดความตระหนัก เรื่ อง ป่ าชายเลน ที่แก้ไขปรับปรุ งแล้วไปทดลองใช้กบ ั นักเรี ยน จานวน 100 คน แล้วนามาวิเคราะห์คุณภาพดังนี้ 2.4.1 นาแบบวัดความตระหนักที่นกเรี ยนทา มาตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ ั รายข้อ คือ ให้คะแนนสาหรับความคิดเห็น เห็นด้วยอย่างยิงเป็ น 5 เห็นด้วยเป็ น 4 ไม่แน่ใจเป็ น 3 ไม่เห็นด้วย ่ เป็ น 2 ไม่เห็นด้วยอย่างยิงเป็ น 1 ในข้อความที่เป็ นเป็ นไปในทางบวกหรื อข้อความที่ส่งผลในทางที่ดี และ ให้ ่ คะแนนสาหรับความคิดเห็น เห็นด้วยอย่างยิงเป็ น 1 เห็นด้วยเป็ น 2 ไม่แน่ใจเป็ น 3 ไม่เห็นด้วยเป็ น 4 ไม่เห็ น ่ ด้วยอย่างยิงเป็ น 5 ในข้อความที่เป็ นไปในทางลบหรื อข้อความที่ส่งผลเสีย ่ 2.4.2 นาผลการตรวจให้คะแนนมาวิเคราะห์ โดยการหาค่าอานาจจาแนก (r) ของแบบวัดความตระหนักรายข้อโดยใช้การแจกแจงที เทคนิค 25% เอ็ดเวิร์ด (พวงรัตน์ ทวีรัตน์.2540: 240) เลือกข้อสอบที่มีความแตกต่างระหว่างกลุ่มที่สอบได้คะแนนสูงและกลุ่มที่สอบได้คะแนนต่า 2.4.3 นาแบบวัดความตระหนักต่อ ป่ าชายเลน ไปคานวณหาค่าความเชื่อมันของ ่ แบบวัดความตระหนักทั้งฉบับได้ค่าความเชื่อมัน 0.77 ่ 2.5 นาแบบวัดความตระหนักต่อป่ าชายเลน ที่มีค่าความเชื่อมัน 0.77 ไปใช้กบนักเรี ยน ่ ั ที่เป็ นกลุ่มตัวอย่างต่อไป 17. วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้าและเก็บข้ อมูล 1. ผูวิจยสารวจและเก็บข้อมูล ณ โรงเรี ยนคลองพิทยาลงกรณ์ ตลอดจนพื้นที่ชายทะเลบางขุนเทียน ้ ั ซึ่งอยูในพื้นที่แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน กรุ งเทพมหานคร ่ 2. ผูวิจยนาข้อมูลที่ได้มากาหนดบริ เวณเพื่อศึกษาลักษณะพื้นที่ สิ่งมีชีวิตในป่ าชายเลน ประกอบด้วย ้ ั พรรณพืชไม้ชายเลน และสิ่งมีชีวิตในป่ าชายเลน 3. กาหนดเนื้อหาและกิจกรรมในโครงการสนองพระราชเสาวนีย ์ ลูกนนทรี อาสา ปลูกป่ าชายเลน พิทกษ์นครหลวง ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ ดังนี้ ั 3.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับป่ าชายเลน ได้แก่ - สิ่งมีชีวิตในป่ าชายเลน - โครงสร้างของระบบนิเวศของป่ าชายเลน - ห่วงโซ่อาหารในป่ าชายเลน 3.2 ความสาคัญและการใช้ประโยชน์ของป่ าชายเลน - การทาผ้ามัดย้อมจากเปลือกผลตะบูน - การทาขนมนิรันดร (ขนมจาก) - การทาไข่เค็มชายคลอง
  • 14. 13 3.3 ปัญหา สาเหตุ และผลกระทบจากการทาลายป่ าชายเลน - ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งบางขุนเทียน 3.4 การอนุรักษ์ป่าชายเลนอย่างยังยืน ่ - กิจกรรมปลูกป่ าชายเลน 4. ผูวิจยหาคุณภาพของเครื่ องมือ ซึ่งประกอบด้วย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ เรื่ องป่ าชายเลน และ ้ ั แบบวัดความตระหนักต่อป่ าชายเลน โดยให้ผเู้ ชี่ยวชาญแต่ละด้านพิจารณา 5. ผูวิจยนาเครื่ องมือทั้งหมดที่ได้รับการตรวจและแก้ไขจากผูเ้ ชี่ยวชาญแล้ว ใช้กบกลุ่มตัวอย่าง ้ ั ั 6. ผูวิจยนาผลของการใช้เครื่ องมือก่อนและหลังการฝึ กอบรมมาวิเคราะห์ผล ้ ั 18. การวิเคราะห์ ข้อมูล การวิเคราะห์ ข้อมูลและสถิตที่ใช้ ิ 1. สถิตพนฐาน ิ ื้ 1.1 ค่าคะแนนเฉลี่ย(Mean) คานวณจากสูตร(ล้วน สายยศ; และอังคณาสายยศ. 2538: 73) X   fx N เมื่อ X แทน คะแนนเฉลี่ย  fx แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด N แทน จานวนนักเรี ยนในกลุ่มทดลอง 1.2 หาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานานวณจากสูตร(ล้วน สายยศ; และอังคณาสายยศ. 2538) ค N  X 2  ( X ) 2 S.D. = N ( N  1) เมื่อ S.D. แทน ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด 2 แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละตัวยกกาลังสอง N แทน จานวนนักเรี ยนทั้งหมด X แทน คะแนนของนักเรี ยนแต่ละคน 2. สถิตที่ใช้ ในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ ในการทดลอง ิ 2.1 หาค่าดัชนีความเที่ยงตรงตามเนื้อหาของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เรื่ อง ป่ าชายเลน ที่ประเมินโดยผูเ้ ชี่ยวชาญ คานวณค่าความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับพฤติกรรมที่ ต้องการวัด จากสูตร (พวงรัตน์ ทวีรัตน์. 2540: 117)
  • 15. 14 IOC  R n เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญ n แทน จานวนผูเ้ ชี่ยวชาญ 2.2 ค่าความยากง่าย(P) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยเน่ องป่ าชายเลนโดย รื วิเคราะห์ขอสอบเป็ นรายข้อ ใช้เทคนิค 27% ของ จุง เตห์ ฟาน จากสูตร (ล้วน สายยศ; และอังคณา สายยศ. ้ 2538: 210) R P= N เมื่อ P แทน ค่าความยากง่าย R แทน จานวนคนที่ทาข้อนั้นถูก N แทน จานวนคนที่ทาข้อนั้นทั้งหมด 2.3 หาค่าอานาจจาแนก(r) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยเน่ องป่ าชายเลนจาก รื สูตร (ล้วน สายยศ; และอังคณา สายยศ. 2538: 210-211) Ru  R L D= N 2 เมื่อ D แทน ค่าอานาจจาแนก Ru แทน จานวนนักเรี ยนที่ตอบถูกในกลุ่มเก่ง RL แทน จานวนนักเรี ยนที่ตอบถูกในกลุ่มอ่อน N แทน จานวนนักเรี ยนในกลุ่มเก่งและกลุ่มอ่อน 2.4 ความเชื่อมันของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทา การเรี ยนวิทยาศาสตร์ (Reliability) ด้วย ่ ง สูตร KR-21 ของ คูเดอร์ริชาร์ดสัน(Kuder Richardson’s Method) (ล้วน สายยศ; และอังคณา สายยศ 2538: 217) . k  x k  x  rtt  1   k 1  ks 2  เมื่อ rtt แทน ความเชื่อมัน ่ K แทน จานวนข้อสอบ x แทน คะแนนเฉลี่ย S2 แทน คะแนนความแปรปรวน