SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 61
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ก
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลัง
เรียน ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง Past Simple Tense โดย
ใช้แบบฝึกเสริมทักษะ (2) เพื่อสร้างแบบฝึกพัฒนาทักษะการเขียนและการอ่าน ข้อความที่ประกอบด้วย
ประโยค Past Simple Tense สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 (3) เพื่อหาประสิทธิภาพของแบบ
ฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความ ที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ที่จัดขึ้นตามเกณฑ์
มาตรฐาน 80 / 80 (4) เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
ข้อความ ที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense
กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 โรงเรียนสา ตําบลกลางเวียง อําเภอเวียงสา
จังหวัดน่าน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 ซึ่งกําลังเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา อ
33101 จํานวน 44 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) รูปแบบการวิจัยเป็น
การสอนตามปกติ เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ การสอนเขียนและอ่านรายวิชา
ภาษาอังกฤษ 5 ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจํานวน 1 แผน ทั้งหมด 15 คาบ แบบฝึกทักษะการเขียนและการ
อ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรื่อง The
past simple tense และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเขียนและอ่านก่อนเรียนและหลังเรียน (Pre –
test และ Post – test) จํานวน 2 ชุด
ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
หลังการสอน ได้คะแนนสอบมากกว่าคะแนนสอบก่อนสอนทุกคน และหลังการสอนนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ การเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple
Tense ดีขึ้น คือมีระดับคะแนนเพิ่มขึ้นทุกคน มีผลสัมฤทธิ์อยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างเก่ง – เก่งมาก ร้อยละ
70 – 100% และจากผลการหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่
ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ทั้ง 12 ชุด เมื่อทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างได้ค่า 88.59 /
81.82 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80
กล่าวได้ว่า แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความ ที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple
Tense เป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพเชื่อถือได้ เหมาะที่จะนําไปใช้สอนได้ และนักเรียนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับ
แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense คือ ช่วยให้
นักเรียนเข้าใจและรู้เรื่องประโยค Past Simple Tense มากยิ่งขึ้น สามารถเขียนแต่งประโยคได้เอง
และอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ได้เข้าใจมากขึ้น และการทําแบบฝึกหัด
มาก ๆ จะช่วยเป็นเหมือนการทบทวนย้ําเตือนให้นักเรียนสามารถเข้าใจจําได้และสามารถนําไปใช้ได้อย่าง
ถูกต้อง
ข
กิตติกรรมประกาศ
การวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง “การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
โดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense
สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสา อําเภอเวียงสา จังหวัดน่าน” เล่มนี้ ได้รับการสนับ
สนุนค่าใช้จ่ายในการจัดทําเอกสารการวิจัย จากกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนสา
อําเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ผู้วิจัยขอขอบพระคุณด้วยความเคารพอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้
ผู้วิจัยขอขอบพระคุณหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ครูศรีเวียง บุญสิทธิโชค
อาจารย์คนงนาฏ รุณวุฒิ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการวิจัยในชั้นเรียน ที่กรุณาตรวจสอบ ให้คําแนะนําและ
ปรับปรุงแบบทดสอบ แบบฝึกทักษะ และแบบประเมิน ตลอดระยะเวลาการทําวิจัย ทําให้งานวิจัย
ครั้งนี้บรรลุจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้
ขอขอบพระคุณ คณะครู ผู้บริหาร ข้าราชการ พนักงาน และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 3 ของโรงเรียนสา อําเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ทุกคน ที่ได้ให้ความร่วมมือในการวิจัย ทําให้การ
วิจัยในครั้งนี้ สําเร็จลุล่วงไปด้วยดี
คุณค่าและประโยชน์ที่พึงมีจากการวิจัยฉบับนี้ ขอมอบให้ข้าราชการครู ครูอัตราจ้าง และ
พนักงานราชการ สายผู้สอน ของโรงเรียนสา อําเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ทุกท่าน
ผู้วิจัย
นายมณเฑียร อิ่นแก้ว
กุมภาพันธ์ 2554
ค
สารบัญ
บทที่ หน้า
บทคัดย่อ.................................................................................................................. ก
กิตติกรรมประกาศ................................................................................................... ข
สารบัญ................................................................................................................... ค
สารบัญตาราง......................................................................................................... จ
1 บทนํา.................................................................................................................. 1
ความเป็นมาและความสําคัญ......................................................................... 1
วัตถุประสงค์ของการวิจัย.............................................................................. 2
คําถามการวิจัย............................................................................................. 2
สมมุติฐานการวิจัย........................................................................................ 2
ขอบเขตการวิจัย.......................................................................................... 3
นิยามศัพท์เฉพาะ........................................................................................ 4
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ............................................................................. 4
2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง........................................................................... 5
หลักสูตรภาษาอังกฤษในระดับมัธยมศึกษา.................................................... 5
วัตถุประสงค์ของหลักสูตรภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษา.............................. 6
คําอธิบายรายวิชาภาษาอังกฤษ 5 ................................................................... 6
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับแบบฝึกทักษะ............................................................. 7
ความหมายของแบบฝึก............................................................................... 7
ความสําคัญของแบบฝึก............................................................................... 7
ประโยชน์ของแบบฝึก.................................................................................... 8
ลักษณะของแบบฝึกที่ดี.............................................................................. 8
ประสิทธิภาพของแบบฝึก............................................................................. 9
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเขียน................................................................... 10
ความหมายและความสําคัญของการเขียน.................................................... 10
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการอ่าน..................................................................... 12
ความหมายของการอ่าน.............................................................................. 12
ความเข้าใจในการอ่าน.................................................................................. 14
ระดับความเข้าใจในการอ่าน.......................................................................... 16
ปัญหาและอุปสรรคในการอ่าน...................................................................... 17
ความพึงพอใจต่อแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน.................................... 20
สูตรคํานวณความพึงพอใจ............................................................................ 20
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ............................ 20
งานวิจัยในประเทศ....................................................................................... 20
3 วิธีดําเนินการวิจัย.............................................................................................. 21
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง............................................................................ 21
ตัวแปรในการวิจัย........................................................................................ 21
รูปแบบของการวิจัย..................................................................................... 22
เครื่องมือในการวิจัย...................................................................................... 22
ง
สารบัญ (ต่อ)
บทที่ หน้า
การสร้างและหาคุณภาพของเครื่องมือ........................................................... 22
การเก็บรวบรวมข้อมูล................................................................................... 23
การวิเคราะห์ข้อมูล...................................................................................... 24
4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล........................................................................................ 25
ส่วนที่ 1 การรวบรวมข้อมูล......................................................................... 25
ส่วนที่ 2 ผลการสอนตามวัตถุประสงค์และคําถามการวิจัย ......................... 27
ตอนที่ 1 ผลสัมฤทธิ์หลังการสอน................................................................. 27
ตอนที่ 2 การนําเสนอผลการสอนตอนที่ 2................................................... 29
ตอนที่ 3 การนําเสนอผลการสอนตอนที่ 3………….................................. 31
ตอนที่ 4 การนําเสนอผลการสอนตอนที่ 4 …………………..…………. 34
5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ....................................................................... 35
ส่วนที่ 1 สรุปผลการวิจัย............................................................................. 35
วัตถุประสงค์ของการวิจัย............................................................................. 35
คําถามการวิจัย............................................................................................ 35
สมมุติฐานการวิจัย...................................................................................... 36
ขอบเขตการวิจัย.......................................................................................... 36
เครื่องมือในการวิจัย.................................................................................... 37
การเก็บรวบรวมข้อมูล................................................................................. 37
ขั้นตอนในการวิจัย....................................................................................... 37
การวิเคราะห์ข้อมูล...................................................................................... 37
สรุปผลการวิจัย........................................................................................... 38
ส่วนที่ 2 การอภิปรายผล............................................................................. 39
ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะ………………….................................................... 40
บรรณานุกรม.............................................................................................. 41
ภาคผนวก................................................................................................................ 43
ภาคผนวก ก แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้.............................................
ภาคผนวก ข รายชื่อนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง................................................
ภาคผนวก ค ภาพกิจกรรมการเรียนการสอนประกอบการวิจัย..................
ภาคผนวก ง ประวัติของผู้วิจัย…………………………………….….
ภาคผนวก จ ตัวอย่างแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความ
ที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense
ที่นักเรียนทําชุดที่ 1-12, แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test)
แบบทดสอบหลังเรียน (Post–test)
แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน
และแบบประเมินความพึงพอใจ ……………………..…...
จ
สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
1 แสดงข้อมูลนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2....................................................... 25
2 แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา อ33101
การเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense
ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 ก่อนและหลังการสอน............................ 27
3 แสดงผลสัมฤทธิ์หลังการสอนวิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา อ33101
การเขียนและการอ่านข้อความ ที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense
ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2............................................................ 29
4 แสดงการหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความ
ที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense...................................................... 31
5 แสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะการเขียน
และการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ..................... 33
**************************
บทที่ 1
บทนํา
ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่นิยมใช้ในการสื่อสารกันอยู่ทั่วโลก ซึ่งผู้คนทั่วโลกใช้เป็นสื่อกลางใน
การติดต่อสื่อสาร ช่วยให้คนทั่วโลกสามารถติดต่อสื่อสารกันได้รู้เรื่องหรือมีความเข้าใจที่ตรงกัน ปัจจุบันใน
ประเทศไทย ได้พัฒนาด้านภาษาอังกฤษ โดยมีการใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง ที่จะช่วยให้คนไทย
สามารถสื่อสารกับชาวต่างชาติที่เข้ามาท่องเที่ยวหรืออาศัยอยู่ในประเทศไทยได้ การเรียนรู้เกี่ยวกับ
ภาษาอังกฤษ จึงมีความจําเป็นเป็นอย่างมากที่นักเรียนสามารถที่จะนําไปใช้สื่อสารในชีวิตประจําวัน การฟัง
การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษ ทั้ง 4 ทักษะ เป็นทักษะทางภาษาที่มีความสําคัญและมี
ความหมายในการเรียนทุกระดับ
การสอนเขียนและอ่านภาษาอังกฤษ เป็นทักษะที่ช่วยให้การเรียนการสอนภาษาอังกฤษประสบ
ผลสําเร็จ ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจและสามารถฟัง พูด และเขียนภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง แต่การเรียน
การสอนการเขียนและอ่านในประเทศไทย ในปัจจุบันยังประสบปัญหาอยู่มากในด้านการเขียน และการอ่าน
ภาษาอังกฤษ ดังงานวิจัยของ กมลวัทน์ ครุฑแก้ว (กมลวัทน์ ครุฑแก้ว 2523 : 30) พบว่าในการ
เขียนและอ่านนั้น เด็กไม่ได้รับการพัฒนาการเขียนและอ่านเท่าที่ควรคือไม่เข้าใจเรื่องที่อ่าน แปลความ
ตีความ และขยายความไม่ได้ จึงไม่สามารถเขียนได้ นอกจากนี้ พวงเพ็ญ อินทรประวัติ (พวงเพ็ญ
อินทรประวัติ 2521 : 72 - 78) ได้สรุปปัญหาที่เกี่ยวกับสาเหตุที่ทําให้นักเรียนไม่ประสบผลสําเร็จในการ
เขียนและอ่านภาษาอังกฤษเท่าที่ควร ว่า ด้านตัวครู นั้นจะเกี่ยวกับครูใช้วิธีสอนการเขียนและอ่านไม่
เหมาะสม มุ่งแต่ยึดตัวครูเป็นศูนย์กลาง ด้านตัวนักเรียน นั้นเกี่ยวกับระดับความรู้ความสามรถ ความเอา
ใจใส่ ทัศนคติที่ไม่ดีต่อการเรียนการสอน ซึ่งเป็นปัจจัยที่ทําให้นักเรียนไม่เข้าใจในบทเรียนหรือเรื่องที่อ่าน
เขียนไม่ได้ จึงเกิดความเบื่อหน่ายไม่อยากเรียนและทําให้ความเข้าใจในการเขียนและอ่านลดน้อยลง
การสร้างแบบฝึกพัฒนาทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past
Simple Tense จะเป็นทางหนึ่งที่จะช่วยพัฒนาทางด้านทักษะการเขียน การอ่าน การฟัง และการพูด
ภาษาอังกฤษของนักเรียน เป็นสื่อการสอนที่สอนให้นักเรียนสามารถเขียนและอ่านประโยคอย่างง่ายใน
ภาษาอังกฤษได้ ก่อนที่จะเริ่มเรียนในสิ่งที่ยากต่อไป เป็นการปูพื้นฐานการเขียนประโยคให้กับนักเรียน อีก
ทั้งช่วยให้นักเรียนมีทัศนคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษอีกด้วย เพราะเมื่อนักเรียนได้เรียนในสิ่งที่ง่ายก่อน ก็จะ
มีความเข้าใจและเรียนในสิ่งที่ยากในลําดับต่อไปได้
ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงได้สร้างแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค
Past Simple Tense อย่างง่ายขึ้นเพื่อช่วยแก้ไขปัญหาที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งไม่สามารถเขียน
และอ่านประโยคภาษาอังกฤษอย่างง่ายได้ ทําให้นักเรียนสามารถนําความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการเรียนวิชา
ภาษาอังกฤษ ในโอกาสต่อไป
2
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 3/5 ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง Past Simple Tense โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ
2. เพื่อสร้างแบบฝึกพัฒนาทักษะการเขียนและการอ่าน ข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past
Simple Tense สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/5
3. เพื่อหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความ ที่ประกอบด้วยประโยค Past
Simple Tense ที่จัดขึ้นตามเกณฑ์มาตรฐาน 80 / 80
4. เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่
ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense
คําถามการวิจัย
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา อ23101 การเขียนและการอ่านข้อความที่
ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/5 ก่อนและ
หลังการสอนต่างกันอย่างไร
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 5 การเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วย
3. ประโยค Past Simple Tense ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/5 หลังการสอนเป็น
อย่างไร สัมฤทธิ์ผลระดับไหน
4. ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเขียน และการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past
Simple Tense เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80 / 80 หรือไม่
5. นักเรียนมีความพึงพอใจหรือความคิดเห็นอย่างไรต่อแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่
ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense
สมมุติฐานการวิจัย
นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค
Past Simple Tense จะมีผลสัมฤทธิ์ในการเขียนและอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple
Tense หลังเรียนดีขึ้นกว่าก่อนเรียน
3
ขอบเขตการวิจัย
1. ประชากร
กลุ่มประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสา อําเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ซึ่งกําลังเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา อ23101 จํานวน
นักเรียนทั้งหมด 309 คน
2. กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/5 โรงเรียนสา อําเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ซึ่งกําลังเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา อ23101 จํานวน 41
คน ได้มาโดยการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
3. เวลาที่ใช้ในการสอน
ใช้เวลาในการสอน 1 เดือน ทั้งหมด 10 คาบ ๆ ละ 50 นาที ในวันจันทร์ ที่ 6 สิงหาคม
พ.ศ. 2555 ถึงวันพุธ ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2555 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
4. เนื้อหาที่ใช้ในการสอน
เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่เรื่อง Past Simple Tense ที่นํามาจากใบความรู้ ใบงาน แบบฝึก
ทักษะ ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นเอง และจากหนังสือเรียนไวยากรณ์ (Grammar) ต่าง ๆ และจากการศึกษา
ค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต โดยพิจารณาถึงความยากง่ายของคําศัพท์และรูปประโยคที่เหมาะสมกับนักเรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2552 โดยผ่านการตรวจสอบ
จากผู้เชี่ยวชาญและได้รับการปรับปรุงแก้ไขแล้ว
5. ตัวแปรที่จะศึกษา
5.1 ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ได้แก่ แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความ
ที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense
5.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variable) ได้แก่
5.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ การเขียนและการอ่านข้อความที่
ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense
5.2.2 ความสามารถในการเขียนและอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past
Simple Tense
4
นิยามศัพท์เฉพาะ
1. นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสา อําเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ภาคเรียน
ที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ซึ่งกําลังเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา อ23101 จํานวน 309 คน
2. การสอนเขียนและอ่าน หมายถึง การสอนเขียนและอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past
Simple Tense
3. ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนภาษาอังกฤษ หมายถึง ผลการเรียนในรูปของคะแนนของนักเรียนในการเขียน
และอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ซึ่งวัดได้จากคะแนนการทํา
แบบฝึกหัด หรือ แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre – test) แบบฝึกหัด หรือ แบบทดสอบหลังเรียน
(Post – test) และแบบฝึกหัดย่อย ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้แบบฝึกพัฒนาทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple
Tense สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
2. ได้แนวทางในการพัฒนาการสอน การเขียนและการอ่านภาษาอังกฤษ ในเรื่องอื่น ๆ และใช้กับ
นักเรียนระดับอื่น ๆ ด้วย
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นพื้นฐานสําหรับการดําเนินการวิจัย โดย
แยกตามหัวข้อดังต่อไปนี้
1.1 หลักสูตรภาษาอังกฤษในระดับมัธยมศึกษา
1.1.1 วัตถุประสงค์ของหลักสูตรภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษา
1.1.2 คําอธิบายรายวิชาภาษาอังกฤษ 5
2.2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับแบบฝึกทักษะ
2.2.1 ความหมายของแบบฝึก
2.2.2 ความสําคัญของแบบฝึก
2.2.3 ประโยชน์ของแบบฝึก
2.2.4 ลักษณะของแบบฝึกที่ดี
2.2.5 ประสิทธิภาพของแบบฝึก
2.3 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเขียน
2.3.1 ความหมายและความสําคัญของการเขียน
2.4 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการอ่าน
2.4.1 ความหมายของการอ่าน
2.4.2 ความเข้าใจในการอ่าน
2.4.3 ระดับความเข้าใจในการอ่าน
2.4.4 ปัญหาและอุปสรรคในการอ่าน
2.5 ความพึงพอใจต่อแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
2.5.1 สูตรคํานวณความพึงพอใจ
2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ
2.6.1 งานวิจัยในประเทศ
2.1หลักสูตรภาษาอังกฤษในระดับมัธยมศึกษา
2.1.1 วัตถุประสงค์ของหลักสูตรภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษา
วัตถุประสงค์ของการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในระดับมัธยมศึกษาซึ่งเป็นการเรียนภาษาอังกฤษ
ระดับมาตรฐานพื้นฐานตอนกลาง และระดับมาตรฐานพื้นฐานตอนปลาย มีดังนี้
1. เพื่อให้สามารถใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามหลักภาษาและเหมาะสมกับวัฒนธรรม
2. เพื่อให้มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษอย่างเพียงพอที่จะใช้ประโยชน์ในการศึกษา
ต่อในระดับสูงหรือการประกอบอาชีพ
3. เพื่อให้มีความสามารถทางภาษาอังกฤษ ทั้งด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียน เพื่อใช้ในการ
สื่อสารและการแสวงหาความรู้
4. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่อภาษาอังกฤษ เห็นประโยชน์และคุณค่าของภาษาอังกฤษในการแสวงหา
ความรู้และการประกอบอาชีพ
5. เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเรื่องราวและวัฒนธรรมของชนชาติที่พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษา
แม่
6. เพื่อพัฒนาให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องราวและวัฒนธรรมอันหลากหลายของประชาคมโลก และ
พัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อถ่ายทอดความคิดและวัฒนธรรมไทยไปยังสังคมโลกได้อย่าง
สร้างสรรค์
6
2.1.2 คําอธิบายรายวิชาภาษาอังกฤษ 5
ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการดําเนินชีวิต ครอบครัว อาชีพ การดูแล การให้/ขอหรือนําเสนอ
ข้อมูลเกี่ยวกับการเดินทาง และสถานที่ท่องเที่ยว การเขียนจดหมายอิเล็กโทรนิค ข้อความจากสื่อประเภท
หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต สารคดี ละคร เพลง กีฬา ภาพยนตร์ เทศกาลที่น่าสนใจ รวมถึง
กิจกรรมบันเทิงต่าง ๆ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภัยธรรมชาติ ประสบการณ์ และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ในอดีต สิ่งของในเรื่องของรูปร่างหน้าตา/ลักษณะที่ปรากฏ ปัญหา สิ่งแวดล้อม สิ่งมหัศจรรย์ของโลก
การคุ้มครองสัตว์ป่า การบริจาคเงิน การเลือกซื้อสินค้าอย่างฉลาด ประเภทของอาหาร การเชิญชวน การ
ตอบรับและการตอบปฏิเสธ การวางแผนในการจัดงาน การใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์
จําลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียนสถานศึกษา ชุมชน และสังคม การแสดงความขอบคุณและยกย่องชมเชย และ
การแสดงความคิดเห็น การให้คําแนะนํา คําสั่ง การแสดงเงื่อนไขต่างๆ ที่อยู่ในความสนใจของนักเรียนที่
ถูกต้องเหมาะสมกับวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมท้องถิ่น Wiang Sa My Home Land และวัฒนธรรมของ
เจ้าของภาษา
เพื่อให้นักเรียนเป็นผู้มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่น
ในการทํางานรักความเป็นไทยและมีจิตสํานึกสาธารณะ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของโรงเรียนสาคือโรงเรียน
สามุ่งพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ ใฝ่เรียนรู้ ฉลาดใช้เทคโนโลยี มีสุขภาพกายสุขภาพจิตดี มี
คุณธรรมจริยธรรม อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม สืบสานศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ชุมชนร่วมพัฒนา ยึด
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2.2เอกสารที่เกี่ยวข้องกับแบบฝึกทักษะ
2.2.1 ความหมายของแบบฝึก
แบบฝึกมีความจําเป็นต่อการเรียนการสอนวิชาทักษะ การใช้แบบฝึกพัฒนาการเรียน
การสอนจะช่วยให้ครูและนักเรียนพบข้อบกพร่องทางการเรียนการสอนและแก้ไขข้อบกพร่องนั้น มีผู้กล่าวถึง
ความหมายของแบบฝึกไว้ ดังนี้
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2525 ได้ให้ความหมายของแบบฝึกไว้ว่า
“แบบฝึกหมายถึง แบบตัวอย่าง ปัญหา หรือ คําสั่ง ที่ตั้งขึ้นเพื่อให้นักเรียนฝึกตอบ” ส่วน ชัยยงค์
พรหมวงศ์ กล่าวถึงความหมายของแบบฝึกสรุปได้ว่า แบบฝึกหมายถึง สิ่งที่นักเรียนต้องใช้ควบคู่กับการ
เรียน มีลักษณะเป็นแบบฝึกหัดที่ครอบคลุมกิจกรรมที่นักเรียนพึงกระทําจะแยกกันเป็นหน่วยหรือจะรวม
เล่มก็ได้ และ อัจฉรา ชีวพันธ์ และ คณะ กล่าวถึงแบบฝึกทางภาษาสรุปได้ว่า แบบฝึกทางภาษา
หมายถึง สิ่งที่สร้างขึ้นเสริมสร้างความเข้าใจทางภาษาตามแนวหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และ
เสริมเพิ่มเติมเนื้อหาบางส่วนที่ช่วยให้นักเรียนนําความรู้ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
จากความหมายของแบบฝึกดังกล่าว สรุปได้ว่า แบบฝึก หมายถึง สิ่งที่สร้างขึ้น
เพื่อเสริมสร้างทักษะให้แก่นักเรียน มีลักษณะเป็นแบบฝึกหัดให้นักเรียนได้กระทํากิจกรรมโดยมีจุดมุ่งหมาย
เพื่อพัฒนาความสามารถของนักเรียนให้ดีขึ้น
7
2.2.2 ความสําคัญของแบบฝึก
เชาวนี เกิดเพทางค์ (2524 : 23) ได้กล่าวถึงความสําคัญของแบบฝึกไว้ว่า “แบบ
ฝึกเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ทําให้นักเรียนเกิดความสนใจ และช่วยให้ครูทราบผลการเรียน
ของนักเรียนอย่างใกล้ชิด” ส่วน วีระ ไทยพานิช (2528 : 11) ได้กล่าวถึงความสําคัญของแบบฝึก
สรุปได้ว่า แบบฝึกเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ที่เกิดจากการกระทําจริง เป็นประสบการณ์ตรง ที่
ผู้เรียนมีจุดมุ่งหมายที่แน่นอน ทําให้นักเรียนเห็นคุณค่าของสิ่งที่เรียน สามารถเรียนรู้ และจดจําสิ่งที่
เรียนได้ดีและนําไปใช้ในสถานการณ์เช่นเดียวกันได้ และ Petty (อ้างถึงใน เพียงจิต. 2529
: 18 – 20) ได้กล่าวว่า
… แบบฝึกเป็นส่วนเพิ่มหรือเสริมจากหนังสือเรียนในการเรียนทักษะ เป็นอุปกรณ์การ
สอนที่ช่วยลดภาระของครูได้มาก เพราะแบบฝึกเป็นสิ่งที่ทําขึ้นอย่างเป็นระเบียบ ระบบ ช่วยให้นักเรียนฝึก
ทักษะการใช้ภาษาดีขึ้น และช่วยเสริมทักษะทางภาษาให้คงทน นอกจากนี้แบบฝึกยังใช้เป็นเครื่องมือวัดผล
การเรียนหลังจากบทเรียนในแต่ละครั้ง…
แบบฝึกเป็นสื่อการเรียนชนิดหนึ่งที่ทําขึ้นอย่างเป็นระบบ สามารถพัฒนาการเรียนของ
นักเรียนได้ เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอน คือ เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้เป็น
เครื่องมือวัดผลและประเมินผลการเรียน ช่วยให้ครูทราบความก้าวหน้าหรือข้อบกพร่องของนักเรียน
และช่วยให้นักเรียนประสบผลสําเร็จในการเรียน
2.2.3 ประโยชน์ของแบบฝึก
Green และ Petty (1971: 80) กล่าวถึงประโยชน์ของแบบฝึกไว้ ดังนี้
1. ใช้เสริมหนังสือแบบเรียนในการเรียนทักษะ
2. เป็นสื่อการสอนที่ช่วยแบ่งเบาภาระของครู
3. เป็นเครื่องมือที่ช่วยฝึกฝนและส่งเสริมทักษะการใช้ภาษาให้ดีขึ้น แต่จะต้องได้รับ
การดูแลและเอาใจใส่จากครูด้วย
4. แบบฝึกที่สร้างขึ้นโดยคํานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลจะเป็นการช่วยให้เด็ก
ประสบความสําเร็จ ตามระดับความสามารถของเด็ก
5. จะช่วยเสริมทักษะให้คงอยู่ได้นาน
6. เป็นเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจบบทเรียนแต่ละครั้ง
7. แบบฝึกที่จัดทําเป็นรูปเล่มจะอํานวยความสะดวกแก่นักเรียนในการเก็บรักษาไว้เพื่อ
ทบทวนด้วยตนเองได้
8. ช่วยให้ครูมองเห็นปัญหาและข้อบกพร่องในการสอน ตลอดจนทราบปัญหาและ
ข้อบกพร่องและจุดอ่อนของนักเรียน ช่วยให้ครูสามารถแก้ปัญหาได้ทันท่วงที
9. ช่วยให้เด็กมีโอกาสฝึกทักษะได้อย่างเต็มที่
10. แบบฝึกทักษะที่จัดพิมพ์ไว้เรียบร้อยแล้วจะช่วยครูประหยัดเวลา และแรงงานใน
การสอนการเตรียมการสอน การสร้างแบบฝึกทักษะ และช่วยให้นักเรียนประหยัดเวลาในการลอก
โจทย์แบบฝึกหัด
จากความสําคัญของแบบฝึกดังกล่าว สรุปได้ว่า แบบฝึกนอกจากจะช่วยให้นักเรียนได้มี
โอกาสฝึกฝนทักษะ และทบทวนได้ด้วยตนเองแล้ว ยังช่วยให้ครูมองเห็นปัญหาและข้อบกพร่องในการ
สอน ทราบปัญหา และข้อบกพร่อง จุดอ่อนของนักเรียน เพื่อครูจะได้แก้ไขได้ทันท่วงที นอกจากนี้
ยังช่วยประหยัดเวลา แรงงาน ในการเตรียมการสอนของครู ตลอดจนช่วยประหยัดเวลาในการลอก
โจทย์แบบฝึกหัดของนักเรียนด้วย
8
2.2.4 ลักษณะของแบบฝึกที่ดี
ภาษาอังกฤษเป็นวิชาทักษะ ต้องอาศัยการฝึกฝนอยู่เสมอ ผู้สอนควรสร้างแบบฝึก
เพื่อทบทวนความรู้หรือฝึกทักษะให้แก่นักเรียน ก่อ สวัสดิพาณิชย์ (2524 : 20) กล่าวถึงลักษณะ
ของแบบฝึกที่ดีว่า“ลักษณะของแบบฝึกควรสั้นและมีหลายแบบเพื่อฝึกทักษะเดียว ใช้ได้ตามสภาพความ
แตกต่างระหว่างบุคคลและมีการประเมินผลการใช้แบบฝึกของนักเรียนด้วย” ประชุมพร สุวรรณ
ตรา (2527 : 61) กล่าวถึงลักษณะของแบบฝึกที่ดีว่า “มีคําสั่งและคําอธิบายอย่างชัดเจน มีตัวอย่างที่ให้
ความคิดหลายแนวมีภาพประกอบ และเส้นบรรทัดที่เว้นให้เติมมีขนาดพอเหมาะการฝึกฝนควรมีหลาย ๆ
แบบ และต้องคํานึงถึงความยากง่าย และระยะเวลาในการฝึกด้วย” ส่วน โรจนา แสงรุ่งรวี (2531
: 22 ) กล่าวถึงแบบฝึกเสริมทักษะที่ดีว่า “แบบฝึกที่ดีต้องมีคําอธิบายชัดเจนเป็นแบบฝึกสั้น ๆ ใช้เวลา
ฝึกไม่นานเกินไปแบบฝึกมีหลายรูปแบบ คําศัพท์ที่ใช้ฝึกสามารถนําไปใช้ในชีวิตประจําวันได้” นอกจากนี้
วิไลลักษณ์ บุญประเสริฐ (2531 : 13) กล่าวถึงลักษณะของแบบฝึกที่ดีว่า
… ลักษณะของแบบฝึกที่ดีนั้นต้องใช้ภาษาให้เหมาะสมกับนักเรียนตลอดจนคํานึงถึง
จิตวิทยาเกี่ยวกับสิ่งเร้าและการตอบสนองพัฒนาการของเด็ก และลําดับขั้นของการเรียน นอกจากนั้น
จะต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับวัย และความสามารถของเด็กซึ่งแบบฝึกจะประกอบด้วยคําชี้แจงและ
ตัวอย่างสั้น ๆ ที่จะทําให้เด็กเข้าใจง่าย ใช้เวลาเหมาะสมและมีลักษณะที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนที่เรียนไปแล้ว
นอกจากนี้แบบฝึกควรมีหลายแบบเพื่อสร้างความสนใจและท้าทายให้แสดงความสามารถ…
จากข้อความที่กล่าวมาแล้ว พอสรุปได้ว่า แบบฝึกที่ดีควรเหมาะสมกับนักเรียนในด้าน
วัยความสามารถ ความสนใจ มีคําชี้แจงและตัวอย่างสั้น ๆ มีหลายรูปแบบ ใช้เวลาฝึกไม่นาน
จนเกินไป เพื่อช่วยให้นักเรียนเข้าใจชัดเจน สามารถพัฒนาทักษะทางภาษาของนักเรียนให้ดีขึ้น
2.2.5 ประสิทธิภาพของแบบฝึก
การสร้างแบบฝึกให้มีประสิทธิภาพนั้นมีหลักในการสร้างหลายประการ ดังที่ ธูป
ทองปราบพาล (25251 : 91) ได้กล่าวถึงหลักในการฝึกฝนทักษะทางภาษาไว้ว่า “การฝึกฝนควรมีหลาย
แบบ เช่น ใช้เกม การเติมคํา ใช้เพลง ใช้แผ่นภาพ ใช้การ์ตูนประกอบ ใช้แบบฝึก เป็นต้น
ส่วนการสร้างแบบฝึกควรคํานึงถึงเนื้อหา ความยากง่าย และระดับความสนใจของเด็ก” รัชนี ศรี
ไพรวรรณ (2527 : 18) กล่าวถึงหลักในการสร้างแบบฝึกว่า… แบบฝึกต้องมีรูปแบบที่จูงใจ และ
เป็นไปตามลําดับความยากง่ายเพื่อให้เด็กมีกําลังใจทํา มีจุดมุ่งหมายว่าจะฝึกด้านใดเพื่อให้เด็กเข้าใจ
แบบฝึกต้องมีการถูกต้อง ในการให้เด็กทําแบบฝึกทุกครั้งต้องให้เหมาะสมกับเวลา เหมาะกับความ
สนใจ ควรทําแบบฝึกหลาย ๆ ครั้ง เพื่อให้เด็กเรียนได้กว้างขวาง และส่งเสริมให้เกิดความคิด
นอกจากนั้นกระดาษที่ให้เด็กทําแบบฝึกต้องเหนียวและทนทานพอสมควร…
วิไลลักษณ์ บุญประเสริฐ (2531 : 13) ได้กล่าวถึงการสร้างแบบฝึกสรุปได้ว่า ใน
การสร้างแบบฝึกที่ดีต้องเรียบเรียงภาษาให้เหมาะสมกับนักเรียน คํานึงถึงหลักจิตวิทยาเกี่ยวกับสิ่งเร้า
และการตอบสนอง พัฒนาการของเด็ก และลําดับขั้นของการเรียน โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับวัย
และความสามารถของนักเรียน
จากหลักการดังกล่าว พอสรุปได้ว่า การสร้างแบบฝึกนั้นจะต้องคํานึงถึงความพร้อม
ความสนใจของเด็ก ด้วยการใช้เกม การเติมคํา เพลง แผ่นภาพ การ์ตูนประกอบ กระดาษที่ใช้
ทําแบบฝึกต้องมีความทนทานพอสมควร เนื้อหาไม่ยากเกินไป และกําหนดเวลาในการทําแบบฝึกที่
เหมาะสม แบบฝึกที่สร้างขึ้นควรมีการหาประสิทธิภาพให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน และในการนําแบบฝึก
ไปใช้นั้นควรมีการแจ้งผลการเรียนให้นักเรียนทราบผลทันที เพื่อแสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าและ
ข้อบกพร่องที่ต้องการปรับปรุงแก้ไข
9
2.3 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเขียน
2.3.1 ความหมายและความสําคัญของการเขียน
การเขียน เป็นการแสดงความคิด ความรู้สึก และความรู้ของผู้เขียนออกมาเป็นลาย
ลักษณ์อักษร เพื่อให้อ่านเข้าใจความคิดของผู้เขียน สุจริต เพียรชอบ และ สายใจ อินทรัมพรรย์
(2523 : 134) ได้กล่าวถึงความหมายของการเขียนไว้ว่า
การเขียนคือการเรียบเรียงความรู้ ความคิด ประสบการณ์ต่าง ๆ ตลอดจน
ความรู้สึกนึกคิด และจินตนาการออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร จะเป็นข้อความสั้น ๆ ทํานองคําขวัญร้อย
แก้วสั้น ๆ หรือบทกวีนิพนธ์ก็ได้ ข้อเขียนต่าง ๆ เหล่านี้จะมีเอกภาพ มีความเป็นตัวของมันเองทั้งในด้าน
ความคิดและการใช้ภาษาเรียบเรียง
เมื่อผู้เขียนสามารถเรียบเรียงความรู้ ความคิดของตนเองออกมาเป็นภาษาเขียนได้แล้ว ก็
จะต้องเขียนเพื่อสื่อความหมายให้ผู้อ่านเข้าใจได้ และสามารถใช้ภาษาเขียนได้อย่างถูกต้องอีกด้วย ดังที่โร
เบิร์ต ลาโด (Robert Lado 1977 : 145) ได้กล่าวถึงความหมายของการเขียนไว้ว่า
การเขียน คือ การสื่อความหมายด้วยตัวอักษรของภาษาซึ่งเป็นที่เข้าใจกันระหว่าง
ผู้เขียนและผู้อ่าน การเขียนเป็นรูปแบบหนึ่งของการใช้ภาษาเพื่อสื่อความหมาย การเขียนโดยไม่ทราบ
ความหมายไม่นับว่าเป็นการเขียน ถือเป็นเพียงการจารึกตัวอักษรลงบนสิ่งใดสิ่งหนึ่งเท่านั้น การเขียน
จะต้องเป็นการใช้ตัวอักษรอย่างมีความหมาย ใช้วิธีเรียบเรียงใจความตามลักษณะโครงสร้างของภาษาที่ใช้
ใช้แบบของการเขียนให้ตรงกับจุดมุ่งหมายของการเขียนนั้น ๆ ตลอดจนการใช้ถ้อยคําสํานวนโวหารได้อย่าง
ถูกต้อง
จากความหมายของการเขียนดังกล่าวจึงพอสรุปได้ว่า การเขียนคือการสื่อความหมาย
โดยการเรียบเรียงความรู้ ความคิด และความรู้สึก ตลอดจนประสบการณ์ต่าง ๆ ของผู้เขียน มี
จุดมุ่งหมายเพื่อสื่อสารระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่านให้เข้าใจตรงกัน
การเขียน เป็นทักษะที่สําคัญทักษะหนึ่งในการใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาเขียนใช้ในการสื่อ
ความหมายที่ได้ความและปรากฏหลักฐานมั่นคง เพราะไม่ลบเลือนเร็วเหมือนคําพูด ภาษาเขียนจึงใช้ใน
การติดต่อสื่อสารได้ดีแม้ในระยะทางไกล แต่การที่จะสื่อสารได้ดีนั้นผู้เขียนต้องมีความสามารถในการ
เขียน คือใช้ภาษาได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และสามารถทําให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายในสิ่งที่ตนเขียนได้
การเขียนจึงต้องมีการฝึกฝนบ่อย ๆ เพื่อให้เกิดความชํานาญและต้องอาศัยการอ่านมาก ๆ เพื่อนําข้อมูล
จากการอ่านมาเป็นแนวทางในการเขียน นอกจากนี้ ในการเขียนจะต้องให้ผู้อ่านติดใจ ซึ่งถ้าดูเผิน ๆ
แล้วจะเห็นว่าการเขียนไม่น่าจะมีลักษณะพิเศษอย่างไร นึกอย่างไรก็เขียนไปอย่างนั้น แต่ที่จริงแล้วการ
เขียนหนังสือจะต้องรู้ลักษณะของภาษาว่า เขียนอย่างไรจึงจะทําให้ผู้อ่านเข้าใจและติดใจ ซึ่งขึ้นอยู่กับ
คุณภาพของงานเขียนนั้น ศรีวิไล ดอกจันทร์ (2523 : 202-203) กล่าวถึงทักษะในการเขียนว่าต้อง
รู้จักแสดงความคิดออกมา เป็นตัวหนังสือให้ผู้อ่านเข้าใจได้ตามที่ตนประสงค์ให้สามารถเขียนตัวสะกดได้
ถูกต้องตามอักขรวิธี เขียนให้อ่านง่าย ชัดเจน เรียบร้อย รวดเร็วรู้จักเลือกใช้ถ้อยสํานวนให้เหมาะสมกับ
เนื้อเรื่อง รู้จักลําดับความคิดและแสดงความคิดออกมาเป็นตัวหนังสือให้ผู้อ่านเข้าใจได้แจ่มแจ้ง
การเขียน เป็นระบบการสื่อสารและบันทึกถ่ายทอดภาษา เพื่อแสดงความรู้
ความคิดและความรู้สึก โดยใช้ตัวหนังสือเป็นสัญลักษณ์ ประสิทธิภาพของการเขียนจึงอยู่ที่
ความสามารถทางความคิด และการใช้ภาษาของผู้เขียนเอง เมื่อพิจารณาฝึกทักษะทางภาษาทั้ง 4
ด้าน คือ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนแล้ว จะเห็นว่าทักษะการเขียนเป็น
ทักษะหลังสุดที่ผู้เรียนจะได้รับการฝึกอย่างจริงจัง ทั้งนี้เนื่องจาก การเขียนเป็นทักษะที่ยากและ
ซับซ้อนที่สุดในทักษะทั้งหมด ผู้ที่จะมีความสามารถทางการเขียนได้จึงต้องมีพื้นฐานในทักษะการฟัง
การพูด และการอ่านมาก่อน
10
ในบรรดาทักษะทั้งสี่ของการเรียนภาษา การเขียนนับเป็นทักษะที่ยุ่งยาก
ซับซ้อนที่สุดในการฟังและการอ่าน นักเรียนจะได้รับฟังหรือเห็นข้อความจากผู้เขียน จึงมีบทบาท
เพียงแต่ตีความหรือวิเคราะห์ว่าตนเองกําลังได้ยินหรืออ่านอะไร ในการพูด นักเรียนสามารถแสดง
ความคิด ความรู้สึกของตนเอง และมีโอกาสให้คําอธิบายแทรกในบทสนทนาได้ แต่ในการเขียน
นั้นต้องมีความสามารถอย่างแท้จริงจึงจะเขียนข้อความได้ชัดเจนจนผู้อ่านเข้าใจได้
การเขียนเป็นวิธีการถ่ายถอดความรู้ ความคิด ตลอดจนประสบการณ์ต่าง ๆ
โดยใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการสื่อสารเพื่อความเข้าใจระหว่างผู้อ่านและผู้เขียน รวมทั้งชักนําความรู้
ความคิดประสบการณ์ อารมณ์ ความรู้สึก จากผู้หนึ่งไปสู่อีกผู้หนึ่งหรือคนจํานวนมากได้อีกด้วย
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการที่ผู้เขียนจะมีเจตนารมณ์เช่นใด และมีความสามารถในการเลือกสรรถ้อยคําเพื่อใช้ในการ
เขียนได้ดีเพียงใดอีกด้วย นอกจากนี้การเขียนยังถือเป็นทักษะทางภาษาอันดับสี่ ซึ่งหมายถึงว่าบุคคล
จะต้องมีความสามารถในทางภาษาด้านการพูด การฟัง และการอ่านมาก่อน จึงนับได้ว่าการเขียน
มีบทบาทสําคัญมากในชีวิตประจําวันของคนเราในฐานะของการสื่อสารที่มีความชัดเจนและเป็นหลักฐานที่
แน่นอนกว่าทักษะทางภาษาทั้งสามด้าน โดยเฉพาะการอ่านถ่ายทอดวิทยาการต่าง ๆ ในปัจจุบัน ผู้
ศึกษาก็สามารถเพิ่มพูนความรู้จากงานเขียนต่าง ๆ ได้สะดวกกว่าวิธีการอื่น ๆ วัลภา เทพหัสดิน ณ
อยุธยา (2526 : 11 – 13) กล่าวถึงความสําคัญของการเขียน พอสรุปได้ดังนี้
1. การเขียนเป็นวัฒนธรรมที่สําคัญของชาติ เพราะภาษาเป็นสิ่งที่แสดงถึงเอกลักษณ์
และวิถีชีวิตของคนในชาติ
2. การเขียนทําให้เกิดวรรณคดี ถือเป็นหลักฐานที่แสดงถึงความงอกงามทาง
สติปัญญา จินตนาการและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของคนในชาติ
3. การเขียนเป็นสื่อในการสร้างความมั่นคงของประเทศ เช่น การเขียนเพื่อก่อให้เกิด
ความสามัคคี การเขียนข่าวสาร เป็นต้น
4. การเขียนมีความสําคัญต่อการศึกษา เช่น การเขียนสื่อสารกับผู้สอนในการ
ตอบข้อสอบหรือเขียนรายงาน หรือครูอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญเขียนตํารา เอกสาร งานวิจัย การเขียน
ที่มีคุณภาพย่อมสามารถสื่อสารให้บุคคลสองฝ่ายเข้าใจกันได้ดี
ภาษาเขียนถือเป็นภาษาที่มีประโยชน์ต่อบุคคลในสังคมอย่างมาก ฉะนั้นจึงควร
สนับสนุนให้มีการศึกษา และฝึกการใช้ภาษาเขียนอย่างถูกต้อง เพื่อให้บุคคลให้ภาษาเขียนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
2.4 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการอ่าน
2.4.1 ความหมายของการอ่าน
การอ่านนับได้ว่าเป็นทักษะที่ยุ่งยากซับซ้อน จะต้องอาศัยการทํางานของสมองในขั้นสูงสุดกล่าวคือ
ต้องอาศัยการนึกย้อนกลับ (Recall) การหาเหตุผล (Reasoning) การประเมินผล (Evaluation) การใช้
จินตนาการ (Imagination) การเรียบเรียงเป็นหมวดหมู่ (Organizing) การนําไปใช้ (Applying) และการ
แก้ปัญหา (Problem Solving) (อุทัย ภิรมย์รื่น และเพ็ญศรี รังสิยากูล 2521 : 3) และการอ่านคือ
อะไรนั้นมีผู้ให้นิยามไว้มากมายแตกต่างกันไป สุดแล้วแต่ผู้ให้ความหมายนั้นจะมองในด้านใด เช่น
นักจิตวิทยาจะมองการอ่านในแง่จิตวิทยา นักภาษาศาสตร์จะมองการอ่านในแง่ของภาษา หรือนักจิต
ภาษาศาสตร์ก็มองการอ่านในแง่ของจิตภาษาศาสตร์
สําหรับนิยามหรือความหมายของการอ่านนั้น ได้มีผู้ให้ความหมายไว้มากมาย ดังนี้
ก่อ สวัสดิพาณิชย์ (ก่อ สวัสดิพาณิชย์ 2505 : 3) ได้ให้ความหมายของการอ่านไว้ว่า “เป็น
การแปลความหมายของตัวอักษรออกมาเป็นตัวความคิด และนําความคิดนี้ไปใช้ให้เป็นประโยชน์ ตัวอักษร
เป็นเครื่องหมายแทนคําพูด และคําพูดก็เป็นเพียงเสียงที่ใช้แทนของจริงอีกทีหนึ่ง” เพราะฉะนั้นหัวใจของ
การอ่านอยู่ที่ “การเข้าใจความหมายของคํา” ศาสตราจารย์รัญจวน อินทรกําแหง (รัญจวน อินทรกํา
11
แหง และคนอื่น ๆ 2515 : 17) กล่าวถึง ความหมายของการอ่านไว้ว่า คือ “การแปลสื่อความหมาย
จากตัวอักษรหรือภาพ ให้เป็นเรื่องราวที่เป็นแนวความคิด โดยให้มีความเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งและชัดเจน
การอ่านจะต้องจับใจความสําคัญของข้อความ และ
สามารถผูกเป็นเรื่องราวได้ถูกต้อง ผู้อ่านจะต้องสร้างมโนภาพขึ้นมาพร้อมกับการอ่านไปด้วย”
บอนด์ และทิงเคอร์ (Bond and Tinker. 1957 : 19) ได้กล่าวว่าการอ่านคือความเข้าใจ
ตัวอักษร ซึ่งเร้าใจให้ผู้อ่านระลึกถึงความหมายที่ได้สร้างขึ้นจากประสบการณ์ และความหมายที่ได้ใหม่
จะเป็นผลของความคิดรวบยอดที่มีอยู่เดิม กล่าวง่าย ๆ ก็คือกระบวนการอ่านประกอบด้วยความหมายของ
ผู้เรียน รวมกับการตีความ การประเมินผลและการตอบสนองของผู้อ่านที่มีต่อความหมาย
นิวเวล และไซมอน (Newell and Simon. 1970 : 310 -315) กล่าวว่า การอ่านคือ
กระบวนการทางจิตภาษาศาสตร์ การอ่านผู้อ่านจะใช้ระบบการรับข่าวสารการรัยรู้สิ่งที่อ่านโดยใช้ตาเป็น
อวัยวะสัมผัสจับสิ่งที่เป็นตัวหนังสือส่งไปยังหน่วยการรับรู้สึกเกี่ยวกับการอ่านแล้วส่งไปยังกระบวนการ
ความจํา เมื่อสิ่งที่อ่านผ่านกระบวนการจําไปแล้วจะถูกส่งกลับมายังตัวรับหน่วยสิ่งที่อ่านใหม่อีกครั้ง
จากนั้นจึงส่งมายังหน่วยปฏิบัติการอ่านออกมาเป็นเสียง หรือความเข้าใจ
เดอชองท์ (Dechant. 1969 : 11) กล่าวว่า การอ่านมิใช่เพียงความเข้าใจในสัญลักษณ์หรือการ
ออกเสียง หรือการรับความหมายจากตัวหนังสือ แต่ผู้อ่านจะได้รับการกระตุ้นจากตัวหนังสือและต้องปรับ
ความหมายของตัวหนังสือเหล่านั้นให้เข้ากับความหมายที่ผู้อ่านมีอยู่แล้ว
ฟรีส์ (Fries. 1963 : 131) กล่าวว่าการอ่านคือ การตอบสนองสัญลักษณ์ทางภาษา ซึ่งเป็น
ตัวแทนของคําพูด หัวใจของการอ่านอยู่ที่การเข้าใจความหมายในสิ่งที่อ่าน
สมิธ (Smith. 1967 : 11) ให้นิยามการอ่านว่า เป็นคําพูดที่ถูกบันทึกเก็บไว้เมื่อเราพูด เราต้อง
ช้ําศัพท์เพื่อสื่อความคิดของเรา และในเวลาเดียวกันจะต้องรับรู้ด้วยว่าจะเรียบเรียงคําพูดนั้นอย่างไร จึง
จะได้รับผลตามความมุ่งหมาย ซึ่งอาจต้องใช้เสียงหรือสัญลักษณ์แทนก็ได้
ลาโด (Lado. 1964 : 14) กล่าวว่า การอ่านเป็นการรวมทักษะในการถอดความการวิเคราะห์
คํา ความหมายของคํา ความเข้าใจเนื้อเรื่อง การตีความและการให้ข้อคิดเห็น ส่วนนักภาษาศาสตร์อีก
คน คือ ฟรีส์ (Fries. 1963 : 131) ได้ให้ความหมายของการอ่านว่าเป็นการตอบสนองสัญลักษณ์ทาง
ภาษา ซึ่งเป็นตัวแทนของภาษาพูด หัวใจของการอ่านนั้นอยู่ที่การเข้าใจความหมายของคํา
เกรย์ (Gray. 1984 : 35 – 37) กล่าวว่ากระบวนการอ่านประกอบด้วยทักษะที่สําคัญหลาย
อย่างดังนี้
1. การรู้จักคํา (Perception of the word used) ผู้อ่านจะอ่านหนังสือได้เข้าใจก็ต่อเมื่อมี
ความสามารถในการอ่านตัวอักษร และเข้าใจความหมายตรงกับผู้เขียน เกรย์ กล่าวว่า การเข้าใจ
ความหมายของคําเป็นทักษะเบื้องต้นของการอ่านทุกประเภท
2. การเข้าใจความคิดของผู้เขียน (Comprehension of the ideas expressed)
3. การมีปฏิกิริยาตอบโต้ความคิดของผู้เขียน (Reaction to these ideas) เป็นการประเมิน
ความคิดของผู้เขียนจากเรื่องที่อ่าน ซึ่งผลของการประเมินจะเป็นการเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยก็ได้
4. ทักษะในการผสมผสานความคิดใหม่กับความคิดเก่า จากเรื่องที่อ่าน (Integration of
the idea) ซึ่งหมายถึงการรวมความคิดที่ได้รับจากเรื่องที่อ่านกับประเดิมของผู้อ่าน
บอนด์ และทิงเคอร์ (Bond and Tinker. 1957 : 235) กล่าวว่า ความสามารถในการอ่าน
ขึ้นอยู่กับทักษะพื้นฐานดังต่อไปนี้
1. การเข้าใจความหมายของคํา (Word meaning) การเข้าใจความหมายของคํา
เป็นทักษะพื้นฐานของการอ่าน ถ้าหากนักเรียนเรียนรู้ความหมายของคําไม่เพียงพอ นักเรียนจะไม่เข้าใจ
ประโยค (Sentence) อนุเฉท (Paragraph) และไม่สามารถพูดหรืออ่านได้
2. การเข้าใจความหมายของกลุ่มคํา (Thought Units) นักเรียนจะสามารถเข้าใจ
ความหมายของประโยคได้ก็ต่อเมื่อนักเรียนรู้จักอ่านเป็นกลุ่มคํา การอ่านทีละคําทําให้ไม่เข้าใจเรื่องที่อ่าน
12
3. การเข้าใจประโยค (Sentence Comprehension) เมื่อนักเรียนเข้าใจความหมาย
ของกลุ่มคําแล้วยังต้องรู้จักนําเอาคําแต่ละคําหรือแต่ละส่วนมาสัมพันธ์กันจนได้ใจความของประโยค
4. การเข้าใจอนุเฉท (Paragraph Comprehension) หมายถึง ความสามารถนํา
การนําประโยคในตอนนั้น ๆ มาสัมพันธ์กัน นักเรียนจะสามารถอ่านได้เข้าใจยิ่งขึ้น
5. การเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างอนุเฉท (Comprehension of larger units)
นักเรียนจะสามารถเข้าใจเนื้อเรื่องที่ยาวขึ้นได้ก็ต่อนักเรียนสามารถจัดลําดับความคิดของเรื่องที่อ่านได้ และ
จะต้องมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างอนุเฉทด้วย
ทักษะพื้นฐานตามที่กล่าวมาแล้วนี้ จะมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน กล่าวคือ
ผู้อ่านจะเข้าใจเรื่องที่อ่านได้ ก็ต่อเมื่อผู้อ่านเข้าใจความหมายของคํา รู้จักอ่านเป็นกลุ่มคํา ซึ่งเป็น
องค์ประกอบสําคัญของการเข้าใจประโยค การเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างประโยคจะทําให้เข้าใจอนุเฉท
และการเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างอนุเฉทจะทําให้เข้าใจเรื่องที่อ่านทั้งหมด
พอจะสรุปได้ว่า การอ่านคือ การเข้าใจความหมายของสิ่งที่อ่าน และสามารถ
แปลความ ตีความและขยายความ สัญลักษณ์หรือตัวอักษรที่ปรากฏออกมา เป็นความคิดเห็นที่นํามาใช้
ให้เกิดประโยชน์ได้
2.4.2 ความเข้าใจในการอ่าน
ชวาล แพรัตกุล (ชวาล แพรัตกุล. 2520 : 134) ได้ให้ความหมายของความเข้าใจ
ว่าเป็นความสามารถในการผสมแล้วขยายความรู้ความจําให้ได้ไกลออกไปจากเดิมอย่างสมเหตุสมผล ซึ่ง
จะต้องมีคุณสมบัติหลายประการ ดังนี้คือ
1. รู้ความหมายและรายละเอียดย่อย ๆ ของเรื่องนั้นมาก่อนแล้ว
2. รู้ความเกี่ยวข้องความสัมพันธ์ระหว่างขั้นและความรู้ย่อย ๆ เหล่านั้น
3. สามารถอธิบายสิ่งเหล่านั้นได้ด้วยภาษาของตนเอง
4. เมื่อพบสิ่งอันใด ที่มีสภาพทํานองเดียวกับที่เคยเรียนรู้มาแล้ว ก็สามารถตอบและอธิบายได้
ความเข้าใจสามารถแสดงได้ดังนี้
1. การแปลความ (Translation) คือ สามารถแปลความหมายของสิ่งต่าง ๆ ได้โดยแปลลักษณะ
และนัยของเรื่องราว ซึ่งเป็นความหมายที่ถูกต้องและใช้ได้ดีสําหรับเรื่องราวนั้นโดยเฉพาะ
2. การตีความ (Interpretation) คือ ความสามารถจับความสัมพันธ์ระหว่างชิ้นส่วนย่อย ๆ ของ
เรื่องนั้น จนสามารถนํามากล่าวอีกนัยหนึ่งได้
3. การขยายความ (Extrapolation) คือ ความสามารถขยายความหมายตามนัยของเรื่องนั้นให้
กว้างไกลไปจากสภาพข้อเท็จจริงเดิมได้
ทั้งนี้ สอดคล้องกับของ สมบูรณ์ ชิตพงศ์ (สมบูรณ์ ชิตพงศ์. 2523 : 27) ว่า ความเข้าใจ
(Comprehension) เป็นความสามารถทางด้านสมองในการคิดเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในด้านการแปลความ
ตีความ และขยายความในเรื่องราวและเหตุต่าง ๆ ในชีวิต และนอกจากนี้ พัฒน์ น้อยแสงศรี (พัฒน์
น้อยแสงศรี. 2520 : 76) สรุปว่าการอ่านเพื่อความเข้าใจ (Reading for comprehension) จะต้องมี
ความสามารถในด้านความหมายของคํา (Word meaning) สังกัป (Concept) โครงสร้างประโยค
(Sentence structure) โครงสร้างอนุเฉท (Paragraph structure) นอกจากนี้แล้วยังเกี่ยวพันธ์กับ
ทัศนคติ (Attitude) และจุดประสงค์ (Purpose) ของผู้อ่านด้วย
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แบบทดสอบ เรื่อง Tens present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลย
แบบทดสอบ เรื่อง Tens   present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลยแบบทดสอบ เรื่อง Tens   present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลย
แบบทดสอบ เรื่อง Tens present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลยpeter dontoom
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูด
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูดแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูด
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูดWanida Keawprompakdee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundpantiluck
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟังแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟังWanida Keawprompakdee
 
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)นางสาวอารียา แย้มภู
 
แบบฝึกทักษะที่ 1 signs
แบบฝึกทักษะที่  1  signsแบบฝึกทักษะที่  1  signs
แบบฝึกทักษะที่ 1 signskanpapruk
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านWanida Keawprompakdee
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshareนวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slidesharenunawanna
 
แบบทดสอบระหว่างเรียน เรื่อง Adv
แบบทดสอบระหว่างเรียน เรื่อง  Advแบบทดสอบระหว่างเรียน เรื่อง  Adv
แบบทดสอบระหว่างเรียน เรื่อง Advkanpapruk
 
(การเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด)
(การเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด)(การเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด)
(การเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด)Suraiya Andris
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการเขียน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการเขียน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนWanida Keawprompakdee
 
ใบความรู้เรื่อง การเปรียบเทียบ Comparison
ใบความรู้เรื่อง การเปรียบเทียบ Comparison ใบความรู้เรื่อง การเปรียบเทียบ Comparison
ใบความรู้เรื่อง การเปรียบเทียบ Comparison สมใจ จันสุกสี
 
แผน Some และany
แผน Some และanyแผน Some และany
แผน Some และanynumnim1234
 

Was ist angesagt? (20)

Unit 1 about myself
Unit 1 about myselfUnit 1 about myself
Unit 1 about myself
 
ใบความรู้เรื่อง past simple
ใบความรู้เรื่อง past simple ใบความรู้เรื่อง past simple
ใบความรู้เรื่อง past simple
 
ใบความรู้ อังกฤษ ม.1
ใบความรู้ อังกฤษ ม.1ใบความรู้ อังกฤษ ม.1
ใบความรู้ อังกฤษ ม.1
 
แบบทดสอบ เรื่อง Tens present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลย
แบบทดสอบ เรื่อง Tens   present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลยแบบทดสอบ เรื่อง Tens   present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลย
แบบทดสอบ เรื่อง Tens present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลย
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูด
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูดแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูด
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูด
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟังแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง
 
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)
 
แบบฝึกทักษะที่ 1 signs
แบบฝึกทักษะที่  1  signsแบบฝึกทักษะที่  1  signs
แบบฝึกทักษะที่ 1 signs
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshareนวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
 
Verb to_..
Verb  to_..Verb  to_..
Verb to_..
 
แบบทดสอบระหว่างเรียน เรื่อง Adv
แบบทดสอบระหว่างเรียน เรื่อง  Advแบบทดสอบระหว่างเรียน เรื่อง  Adv
แบบทดสอบระหว่างเรียน เรื่อง Adv
 
(การเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด)
(การเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด)(การเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด)
(การเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด)
 
daily routine
daily routine daily routine
daily routine
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการเขียน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการเขียน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการเขียน
 
ใบความรู้เรื่อง การเปรียบเทียบ Comparison
ใบความรู้เรื่อง การเปรียบเทียบ Comparison ใบความรู้เรื่อง การเปรียบเทียบ Comparison
ใบความรู้เรื่อง การเปรียบเทียบ Comparison
 
แผน Some และany
แผน Some และanyแผน Some และany
แผน Some และany
 
เล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทานเล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทาน
 

Andere mochten auch

SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555Teacher Sophonnawit
 
คู่มือการใช้งาน Logbook
คู่มือการใช้งาน Logbookคู่มือการใช้งาน Logbook
คู่มือการใช้งาน LogbookTeacher Sophonnawit
 
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษงานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษNontaporn Pilawut
 
แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษแบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษChicharito Iamjang
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้อภิญญา คำเหลือ
 
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษTapanee Sumneanglum
 

Andere mochten auch (6)

SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555
 
คู่มือการใช้งาน Logbook
คู่มือการใช้งาน Logbookคู่มือการใช้งาน Logbook
คู่มือการใช้งาน Logbook
 
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษงานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
งานวิจัย ภาษาอังกฤษ การเทียบเสียงอักษร ไทย-อังกฤษ
 
แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษแบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้
 
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
 

Ähnlich wie การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อKrudoremon
 
บทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรบทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรPiyarerk Bunkoson
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5Krudoremon
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3Krudoremon
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อKo Kung
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1Krudoremon
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาSophinyaDara
 
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์Anusara Sensai
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai kruwanida
 
บทคัดย่อ เรื่อง ชนิดและหน้าที่ของคำ
บทคัดย่อ เรื่อง ชนิดและหน้าที่ของคำบทคัดย่อ เรื่อง ชนิดและหน้าที่ของคำ
บทคัดย่อ เรื่อง ชนิดและหน้าที่ของคำSikarinDatcharern
 
Supattra s
Supattra sSupattra s
Supattra speerapit
 

Ähnlich wie การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรบทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทร
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อวิจัย การพัฒนา แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียน.Docx
บทคัดย่อวิจัย การพัฒนา แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ  สำหรับนักเรียน.Docxบทคัดย่อวิจัย การพัฒนา แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ  สำหรับนักเรียน.Docx
บทคัดย่อวิจัย การพัฒนา แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียน.Docx
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
Post selt2
Post selt2Post selt2
Post selt2
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai
 
บทคัดย่อ เรื่อง ชนิดและหน้าที่ของคำ
บทคัดย่อ เรื่อง ชนิดและหน้าที่ของคำบทคัดย่อ เรื่อง ชนิดและหน้าที่ของคำ
บทคัดย่อ เรื่อง ชนิดและหน้าที่ของคำ
 
Supattra s
Supattra sSupattra s
Supattra s
 
015
015015
015
 
211 578-1-pb
211 578-1-pb211 578-1-pb
211 578-1-pb
 
1
11
1
 

Mehr von Teacher Sophonnawit

วิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุด
วิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุดวิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุด
วิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุดTeacher Sophonnawit
 
ว21 2560 (ดร.สำเริง)
ว21 2560 (ดร.สำเริง)ว21 2560 (ดร.สำเริง)
ว21 2560 (ดร.สำเริง)Teacher Sophonnawit
 
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...Teacher Sophonnawit
 
แผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishแผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishTeacher Sophonnawit
 
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านคู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านTeacher Sophonnawit
 
คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4
คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4
คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4Teacher Sophonnawit
 
ว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณา
ว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณาว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณา
ว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณาTeacher Sophonnawit
 
PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)
PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)
PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)Teacher Sophonnawit
 
PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)Teacher Sophonnawit
 
PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)Teacher Sophonnawit
 
PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)
PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)
PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)Teacher Sophonnawit
 
PA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
PA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพPA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
PA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพTeacher Sophonnawit
 
ว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพ
ว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพ
ว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพTeacher Sophonnawit
 
ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์
ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์
ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์Teacher Sophonnawit
 
ว7 คำอธิบายและตัวอย่าง
ว7 คำอธิบายและตัวอย่างว7 คำอธิบายและตัวอย่าง
ว7 คำอธิบายและตัวอย่างTeacher Sophonnawit
 
ว7 หลักเกณฑ์และวิธีการ
ว7 หลักเกณฑ์และวิธีการว7 หลักเกณฑ์และวิธีการ
ว7 หลักเกณฑ์และวิธีการTeacher Sophonnawit
 

Mehr von Teacher Sophonnawit (20)

วิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุด
วิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุดวิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุด
วิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุด
 
ว21 2560 (ดร.สำเริง)
ว21 2560 (ดร.สำเริง)ว21 2560 (ดร.สำเริง)
ว21 2560 (ดร.สำเริง)
 
Lookbook teacher
Lookbook teacherLookbook teacher
Lookbook teacher
 
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
 
แผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishแผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fish
 
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านคู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
 
คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4
คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4
คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4
 
Access m.3 wordlists
Access m.3 wordlistsAccess m.3 wordlists
Access m.3 wordlists
 
ว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณา
ว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณาว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณา
ว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณา
 
PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)
PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)
PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)
 
PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
 
PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
 
PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)
PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)
PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)
 
PA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
PA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพPA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
PA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
 
PA.1 แบบคำขอ
PA.1 แบบคำขอPA.1 แบบคำขอ
PA.1 แบบคำขอ
 
ว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพ
ว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพ
ว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพ
 
ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์
ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์
ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์
 
ว7 คำอธิบายและตัวอย่าง
ว7 คำอธิบายและตัวอย่างว7 คำอธิบายและตัวอย่าง
ว7 คำอธิบายและตัวอย่าง
 
ว7 หลักเกณฑ์และวิธีการ
ว7 หลักเกณฑ์และวิธีการว7 หลักเกณฑ์และวิธีการ
ว7 หลักเกณฑ์และวิธีการ
 
ว7
ว7ว7
ว7
 

การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน

  • 1.
  • 2. ก บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลัง เรียน ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง Past Simple Tense โดย ใช้แบบฝึกเสริมทักษะ (2) เพื่อสร้างแบบฝึกพัฒนาทักษะการเขียนและการอ่าน ข้อความที่ประกอบด้วย ประโยค Past Simple Tense สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 (3) เพื่อหาประสิทธิภาพของแบบ ฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความ ที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ที่จัดขึ้นตามเกณฑ์ มาตรฐาน 80 / 80 (4) เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน ข้อความ ที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 โรงเรียนสา ตําบลกลางเวียง อําเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 ซึ่งกําลังเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา อ 33101 จํานวน 44 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) รูปแบบการวิจัยเป็น การสอนตามปกติ เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ การสอนเขียนและอ่านรายวิชา ภาษาอังกฤษ 5 ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจํานวน 1 แผน ทั้งหมด 15 คาบ แบบฝึกทักษะการเขียนและการ อ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรื่อง The past simple tense และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเขียนและอ่านก่อนเรียนและหลังเรียน (Pre – test และ Post – test) จํานวน 2 ชุด ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังการสอน ได้คะแนนสอบมากกว่าคะแนนสอบก่อนสอนทุกคน และหลังการสอนนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ การเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ดีขึ้น คือมีระดับคะแนนเพิ่มขึ้นทุกคน มีผลสัมฤทธิ์อยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างเก่ง – เก่งมาก ร้อยละ 70 – 100% และจากผลการหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่ ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ทั้ง 12 ชุด เมื่อทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างได้ค่า 88.59 / 81.82 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 กล่าวได้ว่า แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความ ที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense เป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพเชื่อถือได้ เหมาะที่จะนําไปใช้สอนได้ และนักเรียนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับ แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense คือ ช่วยให้ นักเรียนเข้าใจและรู้เรื่องประโยค Past Simple Tense มากยิ่งขึ้น สามารถเขียนแต่งประโยคได้เอง และอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ได้เข้าใจมากขึ้น และการทําแบบฝึกหัด มาก ๆ จะช่วยเป็นเหมือนการทบทวนย้ําเตือนให้นักเรียนสามารถเข้าใจจําได้และสามารถนําไปใช้ได้อย่าง ถูกต้อง
  • 3. ข กิตติกรรมประกาศ การวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง “การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสา อําเภอเวียงสา จังหวัดน่าน” เล่มนี้ ได้รับการสนับ สนุนค่าใช้จ่ายในการจัดทําเอกสารการวิจัย จากกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนสา อําเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ผู้วิจัยขอขอบพระคุณด้วยความเคารพอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ ผู้วิจัยขอขอบพระคุณหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ครูศรีเวียง บุญสิทธิโชค อาจารย์คนงนาฏ รุณวุฒิ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการวิจัยในชั้นเรียน ที่กรุณาตรวจสอบ ให้คําแนะนําและ ปรับปรุงแบบทดสอบ แบบฝึกทักษะ และแบบประเมิน ตลอดระยะเวลาการทําวิจัย ทําให้งานวิจัย ครั้งนี้บรรลุจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้ ขอขอบพระคุณ คณะครู ผู้บริหาร ข้าราชการ พนักงาน และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ของโรงเรียนสา อําเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ทุกคน ที่ได้ให้ความร่วมมือในการวิจัย ทําให้การ วิจัยในครั้งนี้ สําเร็จลุล่วงไปด้วยดี คุณค่าและประโยชน์ที่พึงมีจากการวิจัยฉบับนี้ ขอมอบให้ข้าราชการครู ครูอัตราจ้าง และ พนักงานราชการ สายผู้สอน ของโรงเรียนสา อําเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ทุกท่าน ผู้วิจัย นายมณเฑียร อิ่นแก้ว กุมภาพันธ์ 2554
  • 4. ค สารบัญ บทที่ หน้า บทคัดย่อ.................................................................................................................. ก กิตติกรรมประกาศ................................................................................................... ข สารบัญ................................................................................................................... ค สารบัญตาราง......................................................................................................... จ 1 บทนํา.................................................................................................................. 1 ความเป็นมาและความสําคัญ......................................................................... 1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย.............................................................................. 2 คําถามการวิจัย............................................................................................. 2 สมมุติฐานการวิจัย........................................................................................ 2 ขอบเขตการวิจัย.......................................................................................... 3 นิยามศัพท์เฉพาะ........................................................................................ 4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ............................................................................. 4 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง........................................................................... 5 หลักสูตรภาษาอังกฤษในระดับมัธยมศึกษา.................................................... 5 วัตถุประสงค์ของหลักสูตรภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษา.............................. 6 คําอธิบายรายวิชาภาษาอังกฤษ 5 ................................................................... 6 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับแบบฝึกทักษะ............................................................. 7 ความหมายของแบบฝึก............................................................................... 7 ความสําคัญของแบบฝึก............................................................................... 7 ประโยชน์ของแบบฝึก.................................................................................... 8 ลักษณะของแบบฝึกที่ดี.............................................................................. 8 ประสิทธิภาพของแบบฝึก............................................................................. 9 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเขียน................................................................... 10 ความหมายและความสําคัญของการเขียน.................................................... 10 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการอ่าน..................................................................... 12 ความหมายของการอ่าน.............................................................................. 12 ความเข้าใจในการอ่าน.................................................................................. 14 ระดับความเข้าใจในการอ่าน.......................................................................... 16 ปัญหาและอุปสรรคในการอ่าน...................................................................... 17 ความพึงพอใจต่อแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน.................................... 20 สูตรคํานวณความพึงพอใจ............................................................................ 20 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ............................ 20 งานวิจัยในประเทศ....................................................................................... 20 3 วิธีดําเนินการวิจัย.............................................................................................. 21 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง............................................................................ 21 ตัวแปรในการวิจัย........................................................................................ 21 รูปแบบของการวิจัย..................................................................................... 22 เครื่องมือในการวิจัย...................................................................................... 22
  • 5. ง สารบัญ (ต่อ) บทที่ หน้า การสร้างและหาคุณภาพของเครื่องมือ........................................................... 22 การเก็บรวบรวมข้อมูล................................................................................... 23 การวิเคราะห์ข้อมูล...................................................................................... 24 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล........................................................................................ 25 ส่วนที่ 1 การรวบรวมข้อมูล......................................................................... 25 ส่วนที่ 2 ผลการสอนตามวัตถุประสงค์และคําถามการวิจัย ......................... 27 ตอนที่ 1 ผลสัมฤทธิ์หลังการสอน................................................................. 27 ตอนที่ 2 การนําเสนอผลการสอนตอนที่ 2................................................... 29 ตอนที่ 3 การนําเสนอผลการสอนตอนที่ 3………….................................. 31 ตอนที่ 4 การนําเสนอผลการสอนตอนที่ 4 …………………..…………. 34 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ....................................................................... 35 ส่วนที่ 1 สรุปผลการวิจัย............................................................................. 35 วัตถุประสงค์ของการวิจัย............................................................................. 35 คําถามการวิจัย............................................................................................ 35 สมมุติฐานการวิจัย...................................................................................... 36 ขอบเขตการวิจัย.......................................................................................... 36 เครื่องมือในการวิจัย.................................................................................... 37 การเก็บรวบรวมข้อมูล................................................................................. 37 ขั้นตอนในการวิจัย....................................................................................... 37 การวิเคราะห์ข้อมูล...................................................................................... 37 สรุปผลการวิจัย........................................................................................... 38 ส่วนที่ 2 การอภิปรายผล............................................................................. 39 ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะ………………….................................................... 40 บรรณานุกรม.............................................................................................. 41 ภาคผนวก................................................................................................................ 43 ภาคผนวก ก แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้............................................. ภาคผนวก ข รายชื่อนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง................................................ ภาคผนวก ค ภาพกิจกรรมการเรียนการสอนประกอบการวิจัย.................. ภาคผนวก ง ประวัติของผู้วิจัย…………………………………….…. ภาคผนวก จ ตัวอย่างแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความ ที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ที่นักเรียนทําชุดที่ 1-12, แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) แบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน และแบบประเมินความพึงพอใจ ……………………..…...
  • 6. จ สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1 แสดงข้อมูลนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2....................................................... 25 2 แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา อ33101 การเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 ก่อนและหลังการสอน............................ 27 3 แสดงผลสัมฤทธิ์หลังการสอนวิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา อ33101 การเขียนและการอ่านข้อความ ที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2............................................................ 29 4 แสดงการหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความ ที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense...................................................... 31 5 แสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะการเขียน และการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ..................... 33 **************************
  • 7. บทที่ 1 บทนํา ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่นิยมใช้ในการสื่อสารกันอยู่ทั่วโลก ซึ่งผู้คนทั่วโลกใช้เป็นสื่อกลางใน การติดต่อสื่อสาร ช่วยให้คนทั่วโลกสามารถติดต่อสื่อสารกันได้รู้เรื่องหรือมีความเข้าใจที่ตรงกัน ปัจจุบันใน ประเทศไทย ได้พัฒนาด้านภาษาอังกฤษ โดยมีการใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง ที่จะช่วยให้คนไทย สามารถสื่อสารกับชาวต่างชาติที่เข้ามาท่องเที่ยวหรืออาศัยอยู่ในประเทศไทยได้ การเรียนรู้เกี่ยวกับ ภาษาอังกฤษ จึงมีความจําเป็นเป็นอย่างมากที่นักเรียนสามารถที่จะนําไปใช้สื่อสารในชีวิตประจําวัน การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษ ทั้ง 4 ทักษะ เป็นทักษะทางภาษาที่มีความสําคัญและมี ความหมายในการเรียนทุกระดับ การสอนเขียนและอ่านภาษาอังกฤษ เป็นทักษะที่ช่วยให้การเรียนการสอนภาษาอังกฤษประสบ ผลสําเร็จ ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจและสามารถฟัง พูด และเขียนภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง แต่การเรียน การสอนการเขียนและอ่านในประเทศไทย ในปัจจุบันยังประสบปัญหาอยู่มากในด้านการเขียน และการอ่าน ภาษาอังกฤษ ดังงานวิจัยของ กมลวัทน์ ครุฑแก้ว (กมลวัทน์ ครุฑแก้ว 2523 : 30) พบว่าในการ เขียนและอ่านนั้น เด็กไม่ได้รับการพัฒนาการเขียนและอ่านเท่าที่ควรคือไม่เข้าใจเรื่องที่อ่าน แปลความ ตีความ และขยายความไม่ได้ จึงไม่สามารถเขียนได้ นอกจากนี้ พวงเพ็ญ อินทรประวัติ (พวงเพ็ญ อินทรประวัติ 2521 : 72 - 78) ได้สรุปปัญหาที่เกี่ยวกับสาเหตุที่ทําให้นักเรียนไม่ประสบผลสําเร็จในการ เขียนและอ่านภาษาอังกฤษเท่าที่ควร ว่า ด้านตัวครู นั้นจะเกี่ยวกับครูใช้วิธีสอนการเขียนและอ่านไม่ เหมาะสม มุ่งแต่ยึดตัวครูเป็นศูนย์กลาง ด้านตัวนักเรียน นั้นเกี่ยวกับระดับความรู้ความสามรถ ความเอา ใจใส่ ทัศนคติที่ไม่ดีต่อการเรียนการสอน ซึ่งเป็นปัจจัยที่ทําให้นักเรียนไม่เข้าใจในบทเรียนหรือเรื่องที่อ่าน เขียนไม่ได้ จึงเกิดความเบื่อหน่ายไม่อยากเรียนและทําให้ความเข้าใจในการเขียนและอ่านลดน้อยลง การสร้างแบบฝึกพัฒนาทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense จะเป็นทางหนึ่งที่จะช่วยพัฒนาทางด้านทักษะการเขียน การอ่าน การฟัง และการพูด ภาษาอังกฤษของนักเรียน เป็นสื่อการสอนที่สอนให้นักเรียนสามารถเขียนและอ่านประโยคอย่างง่ายใน ภาษาอังกฤษได้ ก่อนที่จะเริ่มเรียนในสิ่งที่ยากต่อไป เป็นการปูพื้นฐานการเขียนประโยคให้กับนักเรียน อีก ทั้งช่วยให้นักเรียนมีทัศนคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษอีกด้วย เพราะเมื่อนักเรียนได้เรียนในสิ่งที่ง่ายก่อน ก็จะ มีความเข้าใจและเรียนในสิ่งที่ยากในลําดับต่อไปได้ ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงได้สร้างแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense อย่างง่ายขึ้นเพื่อช่วยแก้ไขปัญหาที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งไม่สามารถเขียน และอ่านประโยคภาษาอังกฤษอย่างง่ายได้ ทําให้นักเรียนสามารถนําความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการเรียนวิชา ภาษาอังกฤษ ในโอกาสต่อไป
  • 8. 2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3/5 ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง Past Simple Tense โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ 2. เพื่อสร้างแบบฝึกพัฒนาทักษะการเขียนและการอ่าน ข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/5 3. เพื่อหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความ ที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ที่จัดขึ้นตามเกณฑ์มาตรฐาน 80 / 80 4. เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่ ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense คําถามการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา อ23101 การเขียนและการอ่านข้อความที่ ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/5 ก่อนและ หลังการสอนต่างกันอย่างไร 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 5 การเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วย 3. ประโยค Past Simple Tense ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/5 หลังการสอนเป็น อย่างไร สัมฤทธิ์ผลระดับไหน 4. ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเขียน และการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80 / 80 หรือไม่ 5. นักเรียนมีความพึงพอใจหรือความคิดเห็นอย่างไรต่อแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่ ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense สมมุติฐานการวิจัย นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense จะมีผลสัมฤทธิ์ในการเขียนและอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense หลังเรียนดีขึ้นกว่าก่อนเรียน
  • 9. 3 ขอบเขตการวิจัย 1. ประชากร กลุ่มประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสา อําเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ซึ่งกําลังเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา อ23101 จํานวน นักเรียนทั้งหมด 309 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/5 โรงเรียนสา อําเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ซึ่งกําลังเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา อ23101 จํานวน 41 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 3. เวลาที่ใช้ในการสอน ใช้เวลาในการสอน 1 เดือน ทั้งหมด 10 คาบ ๆ ละ 50 นาที ในวันจันทร์ ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2555 ถึงวันพุธ ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2555 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 4. เนื้อหาที่ใช้ในการสอน เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่เรื่อง Past Simple Tense ที่นํามาจากใบความรู้ ใบงาน แบบฝึก ทักษะ ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นเอง และจากหนังสือเรียนไวยากรณ์ (Grammar) ต่าง ๆ และจากการศึกษา ค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต โดยพิจารณาถึงความยากง่ายของคําศัพท์และรูปประโยคที่เหมาะสมกับนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2552 โดยผ่านการตรวจสอบ จากผู้เชี่ยวชาญและได้รับการปรับปรุงแก้ไขแล้ว 5. ตัวแปรที่จะศึกษา 5.1 ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ได้แก่ แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความ ที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense 5.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variable) ได้แก่ 5.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ การเขียนและการอ่านข้อความที่ ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense 5.2.2 ความสามารถในการเขียนและอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense
  • 10. 4 นิยามศัพท์เฉพาะ 1. นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสา อําเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ภาคเรียน ที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ซึ่งกําลังเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา อ23101 จํานวน 309 คน 2. การสอนเขียนและอ่าน หมายถึง การสอนเขียนและอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense 3. ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนภาษาอังกฤษ หมายถึง ผลการเรียนในรูปของคะแนนของนักเรียนในการเขียน และอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ซึ่งวัดได้จากคะแนนการทํา แบบฝึกหัด หรือ แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre – test) แบบฝึกหัด หรือ แบบทดสอบหลังเรียน (Post – test) และแบบฝึกหัดย่อย ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้แบบฝึกพัฒนาทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. ได้แนวทางในการพัฒนาการสอน การเขียนและการอ่านภาษาอังกฤษ ในเรื่องอื่น ๆ และใช้กับ นักเรียนระดับอื่น ๆ ด้วย
  • 11. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นพื้นฐานสําหรับการดําเนินการวิจัย โดย แยกตามหัวข้อดังต่อไปนี้ 1.1 หลักสูตรภาษาอังกฤษในระดับมัธยมศึกษา 1.1.1 วัตถุประสงค์ของหลักสูตรภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษา 1.1.2 คําอธิบายรายวิชาภาษาอังกฤษ 5 2.2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับแบบฝึกทักษะ 2.2.1 ความหมายของแบบฝึก 2.2.2 ความสําคัญของแบบฝึก 2.2.3 ประโยชน์ของแบบฝึก 2.2.4 ลักษณะของแบบฝึกที่ดี 2.2.5 ประสิทธิภาพของแบบฝึก 2.3 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเขียน 2.3.1 ความหมายและความสําคัญของการเขียน 2.4 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการอ่าน 2.4.1 ความหมายของการอ่าน 2.4.2 ความเข้าใจในการอ่าน 2.4.3 ระดับความเข้าใจในการอ่าน 2.4.4 ปัญหาและอุปสรรคในการอ่าน 2.5 ความพึงพอใจต่อแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน 2.5.1 สูตรคํานวณความพึงพอใจ 2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ 2.6.1 งานวิจัยในประเทศ 2.1หลักสูตรภาษาอังกฤษในระดับมัธยมศึกษา 2.1.1 วัตถุประสงค์ของหลักสูตรภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษา วัตถุประสงค์ของการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในระดับมัธยมศึกษาซึ่งเป็นการเรียนภาษาอังกฤษ ระดับมาตรฐานพื้นฐานตอนกลาง และระดับมาตรฐานพื้นฐานตอนปลาย มีดังนี้ 1. เพื่อให้สามารถใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามหลักภาษาและเหมาะสมกับวัฒนธรรม 2. เพื่อให้มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษอย่างเพียงพอที่จะใช้ประโยชน์ในการศึกษา ต่อในระดับสูงหรือการประกอบอาชีพ 3. เพื่อให้มีความสามารถทางภาษาอังกฤษ ทั้งด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียน เพื่อใช้ในการ สื่อสารและการแสวงหาความรู้ 4. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่อภาษาอังกฤษ เห็นประโยชน์และคุณค่าของภาษาอังกฤษในการแสวงหา ความรู้และการประกอบอาชีพ 5. เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเรื่องราวและวัฒนธรรมของชนชาติที่พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษา แม่ 6. เพื่อพัฒนาให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องราวและวัฒนธรรมอันหลากหลายของประชาคมโลก และ พัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อถ่ายทอดความคิดและวัฒนธรรมไทยไปยังสังคมโลกได้อย่าง สร้างสรรค์
  • 12. 6 2.1.2 คําอธิบายรายวิชาภาษาอังกฤษ 5 ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการดําเนินชีวิต ครอบครัว อาชีพ การดูแล การให้/ขอหรือนําเสนอ ข้อมูลเกี่ยวกับการเดินทาง และสถานที่ท่องเที่ยว การเขียนจดหมายอิเล็กโทรนิค ข้อความจากสื่อประเภท หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต สารคดี ละคร เพลง กีฬา ภาพยนตร์ เทศกาลที่น่าสนใจ รวมถึง กิจกรรมบันเทิงต่าง ๆ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภัยธรรมชาติ ประสบการณ์ และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ในอดีต สิ่งของในเรื่องของรูปร่างหน้าตา/ลักษณะที่ปรากฏ ปัญหา สิ่งแวดล้อม สิ่งมหัศจรรย์ของโลก การคุ้มครองสัตว์ป่า การบริจาคเงิน การเลือกซื้อสินค้าอย่างฉลาด ประเภทของอาหาร การเชิญชวน การ ตอบรับและการตอบปฏิเสธ การวางแผนในการจัดงาน การใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์ จําลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียนสถานศึกษา ชุมชน และสังคม การแสดงความขอบคุณและยกย่องชมเชย และ การแสดงความคิดเห็น การให้คําแนะนํา คําสั่ง การแสดงเงื่อนไขต่างๆ ที่อยู่ในความสนใจของนักเรียนที่ ถูกต้องเหมาะสมกับวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมท้องถิ่น Wiang Sa My Home Land และวัฒนธรรมของ เจ้าของภาษา เพื่อให้นักเรียนเป็นผู้มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่น ในการทํางานรักความเป็นไทยและมีจิตสํานึกสาธารณะ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของโรงเรียนสาคือโรงเรียน สามุ่งพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ ใฝ่เรียนรู้ ฉลาดใช้เทคโนโลยี มีสุขภาพกายสุขภาพจิตดี มี คุณธรรมจริยธรรม อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม สืบสานศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ชุมชนร่วมพัฒนา ยึด ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.2เอกสารที่เกี่ยวข้องกับแบบฝึกทักษะ 2.2.1 ความหมายของแบบฝึก แบบฝึกมีความจําเป็นต่อการเรียนการสอนวิชาทักษะ การใช้แบบฝึกพัฒนาการเรียน การสอนจะช่วยให้ครูและนักเรียนพบข้อบกพร่องทางการเรียนการสอนและแก้ไขข้อบกพร่องนั้น มีผู้กล่าวถึง ความหมายของแบบฝึกไว้ ดังนี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2525 ได้ให้ความหมายของแบบฝึกไว้ว่า “แบบฝึกหมายถึง แบบตัวอย่าง ปัญหา หรือ คําสั่ง ที่ตั้งขึ้นเพื่อให้นักเรียนฝึกตอบ” ส่วน ชัยยงค์ พรหมวงศ์ กล่าวถึงความหมายของแบบฝึกสรุปได้ว่า แบบฝึกหมายถึง สิ่งที่นักเรียนต้องใช้ควบคู่กับการ เรียน มีลักษณะเป็นแบบฝึกหัดที่ครอบคลุมกิจกรรมที่นักเรียนพึงกระทําจะแยกกันเป็นหน่วยหรือจะรวม เล่มก็ได้ และ อัจฉรา ชีวพันธ์ และ คณะ กล่าวถึงแบบฝึกทางภาษาสรุปได้ว่า แบบฝึกทางภาษา หมายถึง สิ่งที่สร้างขึ้นเสริมสร้างความเข้าใจทางภาษาตามแนวหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และ เสริมเพิ่มเติมเนื้อหาบางส่วนที่ช่วยให้นักเรียนนําความรู้ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง จากความหมายของแบบฝึกดังกล่าว สรุปได้ว่า แบบฝึก หมายถึง สิ่งที่สร้างขึ้น เพื่อเสริมสร้างทักษะให้แก่นักเรียน มีลักษณะเป็นแบบฝึกหัดให้นักเรียนได้กระทํากิจกรรมโดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อพัฒนาความสามารถของนักเรียนให้ดีขึ้น
  • 13. 7 2.2.2 ความสําคัญของแบบฝึก เชาวนี เกิดเพทางค์ (2524 : 23) ได้กล่าวถึงความสําคัญของแบบฝึกไว้ว่า “แบบ ฝึกเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ทําให้นักเรียนเกิดความสนใจ และช่วยให้ครูทราบผลการเรียน ของนักเรียนอย่างใกล้ชิด” ส่วน วีระ ไทยพานิช (2528 : 11) ได้กล่าวถึงความสําคัญของแบบฝึก สรุปได้ว่า แบบฝึกเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ที่เกิดจากการกระทําจริง เป็นประสบการณ์ตรง ที่ ผู้เรียนมีจุดมุ่งหมายที่แน่นอน ทําให้นักเรียนเห็นคุณค่าของสิ่งที่เรียน สามารถเรียนรู้ และจดจําสิ่งที่ เรียนได้ดีและนําไปใช้ในสถานการณ์เช่นเดียวกันได้ และ Petty (อ้างถึงใน เพียงจิต. 2529 : 18 – 20) ได้กล่าวว่า … แบบฝึกเป็นส่วนเพิ่มหรือเสริมจากหนังสือเรียนในการเรียนทักษะ เป็นอุปกรณ์การ สอนที่ช่วยลดภาระของครูได้มาก เพราะแบบฝึกเป็นสิ่งที่ทําขึ้นอย่างเป็นระเบียบ ระบบ ช่วยให้นักเรียนฝึก ทักษะการใช้ภาษาดีขึ้น และช่วยเสริมทักษะทางภาษาให้คงทน นอกจากนี้แบบฝึกยังใช้เป็นเครื่องมือวัดผล การเรียนหลังจากบทเรียนในแต่ละครั้ง… แบบฝึกเป็นสื่อการเรียนชนิดหนึ่งที่ทําขึ้นอย่างเป็นระบบ สามารถพัฒนาการเรียนของ นักเรียนได้ เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอน คือ เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้เป็น เครื่องมือวัดผลและประเมินผลการเรียน ช่วยให้ครูทราบความก้าวหน้าหรือข้อบกพร่องของนักเรียน และช่วยให้นักเรียนประสบผลสําเร็จในการเรียน 2.2.3 ประโยชน์ของแบบฝึก Green และ Petty (1971: 80) กล่าวถึงประโยชน์ของแบบฝึกไว้ ดังนี้ 1. ใช้เสริมหนังสือแบบเรียนในการเรียนทักษะ 2. เป็นสื่อการสอนที่ช่วยแบ่งเบาภาระของครู 3. เป็นเครื่องมือที่ช่วยฝึกฝนและส่งเสริมทักษะการใช้ภาษาให้ดีขึ้น แต่จะต้องได้รับ การดูแลและเอาใจใส่จากครูด้วย 4. แบบฝึกที่สร้างขึ้นโดยคํานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลจะเป็นการช่วยให้เด็ก ประสบความสําเร็จ ตามระดับความสามารถของเด็ก 5. จะช่วยเสริมทักษะให้คงอยู่ได้นาน 6. เป็นเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจบบทเรียนแต่ละครั้ง 7. แบบฝึกที่จัดทําเป็นรูปเล่มจะอํานวยความสะดวกแก่นักเรียนในการเก็บรักษาไว้เพื่อ ทบทวนด้วยตนเองได้ 8. ช่วยให้ครูมองเห็นปัญหาและข้อบกพร่องในการสอน ตลอดจนทราบปัญหาและ ข้อบกพร่องและจุดอ่อนของนักเรียน ช่วยให้ครูสามารถแก้ปัญหาได้ทันท่วงที 9. ช่วยให้เด็กมีโอกาสฝึกทักษะได้อย่างเต็มที่ 10. แบบฝึกทักษะที่จัดพิมพ์ไว้เรียบร้อยแล้วจะช่วยครูประหยัดเวลา และแรงงานใน การสอนการเตรียมการสอน การสร้างแบบฝึกทักษะ และช่วยให้นักเรียนประหยัดเวลาในการลอก โจทย์แบบฝึกหัด จากความสําคัญของแบบฝึกดังกล่าว สรุปได้ว่า แบบฝึกนอกจากจะช่วยให้นักเรียนได้มี โอกาสฝึกฝนทักษะ และทบทวนได้ด้วยตนเองแล้ว ยังช่วยให้ครูมองเห็นปัญหาและข้อบกพร่องในการ สอน ทราบปัญหา และข้อบกพร่อง จุดอ่อนของนักเรียน เพื่อครูจะได้แก้ไขได้ทันท่วงที นอกจากนี้ ยังช่วยประหยัดเวลา แรงงาน ในการเตรียมการสอนของครู ตลอดจนช่วยประหยัดเวลาในการลอก โจทย์แบบฝึกหัดของนักเรียนด้วย
  • 14. 8 2.2.4 ลักษณะของแบบฝึกที่ดี ภาษาอังกฤษเป็นวิชาทักษะ ต้องอาศัยการฝึกฝนอยู่เสมอ ผู้สอนควรสร้างแบบฝึก เพื่อทบทวนความรู้หรือฝึกทักษะให้แก่นักเรียน ก่อ สวัสดิพาณิชย์ (2524 : 20) กล่าวถึงลักษณะ ของแบบฝึกที่ดีว่า“ลักษณะของแบบฝึกควรสั้นและมีหลายแบบเพื่อฝึกทักษะเดียว ใช้ได้ตามสภาพความ แตกต่างระหว่างบุคคลและมีการประเมินผลการใช้แบบฝึกของนักเรียนด้วย” ประชุมพร สุวรรณ ตรา (2527 : 61) กล่าวถึงลักษณะของแบบฝึกที่ดีว่า “มีคําสั่งและคําอธิบายอย่างชัดเจน มีตัวอย่างที่ให้ ความคิดหลายแนวมีภาพประกอบ และเส้นบรรทัดที่เว้นให้เติมมีขนาดพอเหมาะการฝึกฝนควรมีหลาย ๆ แบบ และต้องคํานึงถึงความยากง่าย และระยะเวลาในการฝึกด้วย” ส่วน โรจนา แสงรุ่งรวี (2531 : 22 ) กล่าวถึงแบบฝึกเสริมทักษะที่ดีว่า “แบบฝึกที่ดีต้องมีคําอธิบายชัดเจนเป็นแบบฝึกสั้น ๆ ใช้เวลา ฝึกไม่นานเกินไปแบบฝึกมีหลายรูปแบบ คําศัพท์ที่ใช้ฝึกสามารถนําไปใช้ในชีวิตประจําวันได้” นอกจากนี้ วิไลลักษณ์ บุญประเสริฐ (2531 : 13) กล่าวถึงลักษณะของแบบฝึกที่ดีว่า … ลักษณะของแบบฝึกที่ดีนั้นต้องใช้ภาษาให้เหมาะสมกับนักเรียนตลอดจนคํานึงถึง จิตวิทยาเกี่ยวกับสิ่งเร้าและการตอบสนองพัฒนาการของเด็ก และลําดับขั้นของการเรียน นอกจากนั้น จะต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับวัย และความสามารถของเด็กซึ่งแบบฝึกจะประกอบด้วยคําชี้แจงและ ตัวอย่างสั้น ๆ ที่จะทําให้เด็กเข้าใจง่าย ใช้เวลาเหมาะสมและมีลักษณะที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนที่เรียนไปแล้ว นอกจากนี้แบบฝึกควรมีหลายแบบเพื่อสร้างความสนใจและท้าทายให้แสดงความสามารถ… จากข้อความที่กล่าวมาแล้ว พอสรุปได้ว่า แบบฝึกที่ดีควรเหมาะสมกับนักเรียนในด้าน วัยความสามารถ ความสนใจ มีคําชี้แจงและตัวอย่างสั้น ๆ มีหลายรูปแบบ ใช้เวลาฝึกไม่นาน จนเกินไป เพื่อช่วยให้นักเรียนเข้าใจชัดเจน สามารถพัฒนาทักษะทางภาษาของนักเรียนให้ดีขึ้น 2.2.5 ประสิทธิภาพของแบบฝึก การสร้างแบบฝึกให้มีประสิทธิภาพนั้นมีหลักในการสร้างหลายประการ ดังที่ ธูป ทองปราบพาล (25251 : 91) ได้กล่าวถึงหลักในการฝึกฝนทักษะทางภาษาไว้ว่า “การฝึกฝนควรมีหลาย แบบ เช่น ใช้เกม การเติมคํา ใช้เพลง ใช้แผ่นภาพ ใช้การ์ตูนประกอบ ใช้แบบฝึก เป็นต้น ส่วนการสร้างแบบฝึกควรคํานึงถึงเนื้อหา ความยากง่าย และระดับความสนใจของเด็ก” รัชนี ศรี ไพรวรรณ (2527 : 18) กล่าวถึงหลักในการสร้างแบบฝึกว่า… แบบฝึกต้องมีรูปแบบที่จูงใจ และ เป็นไปตามลําดับความยากง่ายเพื่อให้เด็กมีกําลังใจทํา มีจุดมุ่งหมายว่าจะฝึกด้านใดเพื่อให้เด็กเข้าใจ แบบฝึกต้องมีการถูกต้อง ในการให้เด็กทําแบบฝึกทุกครั้งต้องให้เหมาะสมกับเวลา เหมาะกับความ สนใจ ควรทําแบบฝึกหลาย ๆ ครั้ง เพื่อให้เด็กเรียนได้กว้างขวาง และส่งเสริมให้เกิดความคิด นอกจากนั้นกระดาษที่ให้เด็กทําแบบฝึกต้องเหนียวและทนทานพอสมควร… วิไลลักษณ์ บุญประเสริฐ (2531 : 13) ได้กล่าวถึงการสร้างแบบฝึกสรุปได้ว่า ใน การสร้างแบบฝึกที่ดีต้องเรียบเรียงภาษาให้เหมาะสมกับนักเรียน คํานึงถึงหลักจิตวิทยาเกี่ยวกับสิ่งเร้า และการตอบสนอง พัฒนาการของเด็ก และลําดับขั้นของการเรียน โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับวัย และความสามารถของนักเรียน จากหลักการดังกล่าว พอสรุปได้ว่า การสร้างแบบฝึกนั้นจะต้องคํานึงถึงความพร้อม ความสนใจของเด็ก ด้วยการใช้เกม การเติมคํา เพลง แผ่นภาพ การ์ตูนประกอบ กระดาษที่ใช้ ทําแบบฝึกต้องมีความทนทานพอสมควร เนื้อหาไม่ยากเกินไป และกําหนดเวลาในการทําแบบฝึกที่ เหมาะสม แบบฝึกที่สร้างขึ้นควรมีการหาประสิทธิภาพให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน และในการนําแบบฝึก ไปใช้นั้นควรมีการแจ้งผลการเรียนให้นักเรียนทราบผลทันที เพื่อแสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าและ ข้อบกพร่องที่ต้องการปรับปรุงแก้ไข
  • 15. 9 2.3 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเขียน 2.3.1 ความหมายและความสําคัญของการเขียน การเขียน เป็นการแสดงความคิด ความรู้สึก และความรู้ของผู้เขียนออกมาเป็นลาย ลักษณ์อักษร เพื่อให้อ่านเข้าใจความคิดของผู้เขียน สุจริต เพียรชอบ และ สายใจ อินทรัมพรรย์ (2523 : 134) ได้กล่าวถึงความหมายของการเขียนไว้ว่า การเขียนคือการเรียบเรียงความรู้ ความคิด ประสบการณ์ต่าง ๆ ตลอดจน ความรู้สึกนึกคิด และจินตนาการออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร จะเป็นข้อความสั้น ๆ ทํานองคําขวัญร้อย แก้วสั้น ๆ หรือบทกวีนิพนธ์ก็ได้ ข้อเขียนต่าง ๆ เหล่านี้จะมีเอกภาพ มีความเป็นตัวของมันเองทั้งในด้าน ความคิดและการใช้ภาษาเรียบเรียง เมื่อผู้เขียนสามารถเรียบเรียงความรู้ ความคิดของตนเองออกมาเป็นภาษาเขียนได้แล้ว ก็ จะต้องเขียนเพื่อสื่อความหมายให้ผู้อ่านเข้าใจได้ และสามารถใช้ภาษาเขียนได้อย่างถูกต้องอีกด้วย ดังที่โร เบิร์ต ลาโด (Robert Lado 1977 : 145) ได้กล่าวถึงความหมายของการเขียนไว้ว่า การเขียน คือ การสื่อความหมายด้วยตัวอักษรของภาษาซึ่งเป็นที่เข้าใจกันระหว่าง ผู้เขียนและผู้อ่าน การเขียนเป็นรูปแบบหนึ่งของการใช้ภาษาเพื่อสื่อความหมาย การเขียนโดยไม่ทราบ ความหมายไม่นับว่าเป็นการเขียน ถือเป็นเพียงการจารึกตัวอักษรลงบนสิ่งใดสิ่งหนึ่งเท่านั้น การเขียน จะต้องเป็นการใช้ตัวอักษรอย่างมีความหมาย ใช้วิธีเรียบเรียงใจความตามลักษณะโครงสร้างของภาษาที่ใช้ ใช้แบบของการเขียนให้ตรงกับจุดมุ่งหมายของการเขียนนั้น ๆ ตลอดจนการใช้ถ้อยคําสํานวนโวหารได้อย่าง ถูกต้อง จากความหมายของการเขียนดังกล่าวจึงพอสรุปได้ว่า การเขียนคือการสื่อความหมาย โดยการเรียบเรียงความรู้ ความคิด และความรู้สึก ตลอดจนประสบการณ์ต่าง ๆ ของผู้เขียน มี จุดมุ่งหมายเพื่อสื่อสารระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่านให้เข้าใจตรงกัน การเขียน เป็นทักษะที่สําคัญทักษะหนึ่งในการใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาเขียนใช้ในการสื่อ ความหมายที่ได้ความและปรากฏหลักฐานมั่นคง เพราะไม่ลบเลือนเร็วเหมือนคําพูด ภาษาเขียนจึงใช้ใน การติดต่อสื่อสารได้ดีแม้ในระยะทางไกล แต่การที่จะสื่อสารได้ดีนั้นผู้เขียนต้องมีความสามารถในการ เขียน คือใช้ภาษาได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และสามารถทําให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายในสิ่งที่ตนเขียนได้ การเขียนจึงต้องมีการฝึกฝนบ่อย ๆ เพื่อให้เกิดความชํานาญและต้องอาศัยการอ่านมาก ๆ เพื่อนําข้อมูล จากการอ่านมาเป็นแนวทางในการเขียน นอกจากนี้ ในการเขียนจะต้องให้ผู้อ่านติดใจ ซึ่งถ้าดูเผิน ๆ แล้วจะเห็นว่าการเขียนไม่น่าจะมีลักษณะพิเศษอย่างไร นึกอย่างไรก็เขียนไปอย่างนั้น แต่ที่จริงแล้วการ เขียนหนังสือจะต้องรู้ลักษณะของภาษาว่า เขียนอย่างไรจึงจะทําให้ผู้อ่านเข้าใจและติดใจ ซึ่งขึ้นอยู่กับ คุณภาพของงานเขียนนั้น ศรีวิไล ดอกจันทร์ (2523 : 202-203) กล่าวถึงทักษะในการเขียนว่าต้อง รู้จักแสดงความคิดออกมา เป็นตัวหนังสือให้ผู้อ่านเข้าใจได้ตามที่ตนประสงค์ให้สามารถเขียนตัวสะกดได้ ถูกต้องตามอักขรวิธี เขียนให้อ่านง่าย ชัดเจน เรียบร้อย รวดเร็วรู้จักเลือกใช้ถ้อยสํานวนให้เหมาะสมกับ เนื้อเรื่อง รู้จักลําดับความคิดและแสดงความคิดออกมาเป็นตัวหนังสือให้ผู้อ่านเข้าใจได้แจ่มแจ้ง การเขียน เป็นระบบการสื่อสารและบันทึกถ่ายทอดภาษา เพื่อแสดงความรู้ ความคิดและความรู้สึก โดยใช้ตัวหนังสือเป็นสัญลักษณ์ ประสิทธิภาพของการเขียนจึงอยู่ที่ ความสามารถทางความคิด และการใช้ภาษาของผู้เขียนเอง เมื่อพิจารณาฝึกทักษะทางภาษาทั้ง 4 ด้าน คือ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนแล้ว จะเห็นว่าทักษะการเขียนเป็น ทักษะหลังสุดที่ผู้เรียนจะได้รับการฝึกอย่างจริงจัง ทั้งนี้เนื่องจาก การเขียนเป็นทักษะที่ยากและ ซับซ้อนที่สุดในทักษะทั้งหมด ผู้ที่จะมีความสามารถทางการเขียนได้จึงต้องมีพื้นฐานในทักษะการฟัง การพูด และการอ่านมาก่อน
  • 16. 10 ในบรรดาทักษะทั้งสี่ของการเรียนภาษา การเขียนนับเป็นทักษะที่ยุ่งยาก ซับซ้อนที่สุดในการฟังและการอ่าน นักเรียนจะได้รับฟังหรือเห็นข้อความจากผู้เขียน จึงมีบทบาท เพียงแต่ตีความหรือวิเคราะห์ว่าตนเองกําลังได้ยินหรืออ่านอะไร ในการพูด นักเรียนสามารถแสดง ความคิด ความรู้สึกของตนเอง และมีโอกาสให้คําอธิบายแทรกในบทสนทนาได้ แต่ในการเขียน นั้นต้องมีความสามารถอย่างแท้จริงจึงจะเขียนข้อความได้ชัดเจนจนผู้อ่านเข้าใจได้ การเขียนเป็นวิธีการถ่ายถอดความรู้ ความคิด ตลอดจนประสบการณ์ต่าง ๆ โดยใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการสื่อสารเพื่อความเข้าใจระหว่างผู้อ่านและผู้เขียน รวมทั้งชักนําความรู้ ความคิดประสบการณ์ อารมณ์ ความรู้สึก จากผู้หนึ่งไปสู่อีกผู้หนึ่งหรือคนจํานวนมากได้อีกด้วย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการที่ผู้เขียนจะมีเจตนารมณ์เช่นใด และมีความสามารถในการเลือกสรรถ้อยคําเพื่อใช้ในการ เขียนได้ดีเพียงใดอีกด้วย นอกจากนี้การเขียนยังถือเป็นทักษะทางภาษาอันดับสี่ ซึ่งหมายถึงว่าบุคคล จะต้องมีความสามารถในทางภาษาด้านการพูด การฟัง และการอ่านมาก่อน จึงนับได้ว่าการเขียน มีบทบาทสําคัญมากในชีวิตประจําวันของคนเราในฐานะของการสื่อสารที่มีความชัดเจนและเป็นหลักฐานที่ แน่นอนกว่าทักษะทางภาษาทั้งสามด้าน โดยเฉพาะการอ่านถ่ายทอดวิทยาการต่าง ๆ ในปัจจุบัน ผู้ ศึกษาก็สามารถเพิ่มพูนความรู้จากงานเขียนต่าง ๆ ได้สะดวกกว่าวิธีการอื่น ๆ วัลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา (2526 : 11 – 13) กล่าวถึงความสําคัญของการเขียน พอสรุปได้ดังนี้ 1. การเขียนเป็นวัฒนธรรมที่สําคัญของชาติ เพราะภาษาเป็นสิ่งที่แสดงถึงเอกลักษณ์ และวิถีชีวิตของคนในชาติ 2. การเขียนทําให้เกิดวรรณคดี ถือเป็นหลักฐานที่แสดงถึงความงอกงามทาง สติปัญญา จินตนาการและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของคนในชาติ 3. การเขียนเป็นสื่อในการสร้างความมั่นคงของประเทศ เช่น การเขียนเพื่อก่อให้เกิด ความสามัคคี การเขียนข่าวสาร เป็นต้น 4. การเขียนมีความสําคัญต่อการศึกษา เช่น การเขียนสื่อสารกับผู้สอนในการ ตอบข้อสอบหรือเขียนรายงาน หรือครูอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญเขียนตํารา เอกสาร งานวิจัย การเขียน ที่มีคุณภาพย่อมสามารถสื่อสารให้บุคคลสองฝ่ายเข้าใจกันได้ดี ภาษาเขียนถือเป็นภาษาที่มีประโยชน์ต่อบุคคลในสังคมอย่างมาก ฉะนั้นจึงควร สนับสนุนให้มีการศึกษา และฝึกการใช้ภาษาเขียนอย่างถูกต้อง เพื่อให้บุคคลให้ภาษาเขียนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 2.4 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการอ่าน 2.4.1 ความหมายของการอ่าน การอ่านนับได้ว่าเป็นทักษะที่ยุ่งยากซับซ้อน จะต้องอาศัยการทํางานของสมองในขั้นสูงสุดกล่าวคือ ต้องอาศัยการนึกย้อนกลับ (Recall) การหาเหตุผล (Reasoning) การประเมินผล (Evaluation) การใช้ จินตนาการ (Imagination) การเรียบเรียงเป็นหมวดหมู่ (Organizing) การนําไปใช้ (Applying) และการ แก้ปัญหา (Problem Solving) (อุทัย ภิรมย์รื่น และเพ็ญศรี รังสิยากูล 2521 : 3) และการอ่านคือ อะไรนั้นมีผู้ให้นิยามไว้มากมายแตกต่างกันไป สุดแล้วแต่ผู้ให้ความหมายนั้นจะมองในด้านใด เช่น นักจิตวิทยาจะมองการอ่านในแง่จิตวิทยา นักภาษาศาสตร์จะมองการอ่านในแง่ของภาษา หรือนักจิต ภาษาศาสตร์ก็มองการอ่านในแง่ของจิตภาษาศาสตร์ สําหรับนิยามหรือความหมายของการอ่านนั้น ได้มีผู้ให้ความหมายไว้มากมาย ดังนี้ ก่อ สวัสดิพาณิชย์ (ก่อ สวัสดิพาณิชย์ 2505 : 3) ได้ให้ความหมายของการอ่านไว้ว่า “เป็น การแปลความหมายของตัวอักษรออกมาเป็นตัวความคิด และนําความคิดนี้ไปใช้ให้เป็นประโยชน์ ตัวอักษร เป็นเครื่องหมายแทนคําพูด และคําพูดก็เป็นเพียงเสียงที่ใช้แทนของจริงอีกทีหนึ่ง” เพราะฉะนั้นหัวใจของ การอ่านอยู่ที่ “การเข้าใจความหมายของคํา” ศาสตราจารย์รัญจวน อินทรกําแหง (รัญจวน อินทรกํา
  • 17. 11 แหง และคนอื่น ๆ 2515 : 17) กล่าวถึง ความหมายของการอ่านไว้ว่า คือ “การแปลสื่อความหมาย จากตัวอักษรหรือภาพ ให้เป็นเรื่องราวที่เป็นแนวความคิด โดยให้มีความเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งและชัดเจน การอ่านจะต้องจับใจความสําคัญของข้อความ และ สามารถผูกเป็นเรื่องราวได้ถูกต้อง ผู้อ่านจะต้องสร้างมโนภาพขึ้นมาพร้อมกับการอ่านไปด้วย” บอนด์ และทิงเคอร์ (Bond and Tinker. 1957 : 19) ได้กล่าวว่าการอ่านคือความเข้าใจ ตัวอักษร ซึ่งเร้าใจให้ผู้อ่านระลึกถึงความหมายที่ได้สร้างขึ้นจากประสบการณ์ และความหมายที่ได้ใหม่ จะเป็นผลของความคิดรวบยอดที่มีอยู่เดิม กล่าวง่าย ๆ ก็คือกระบวนการอ่านประกอบด้วยความหมายของ ผู้เรียน รวมกับการตีความ การประเมินผลและการตอบสนองของผู้อ่านที่มีต่อความหมาย นิวเวล และไซมอน (Newell and Simon. 1970 : 310 -315) กล่าวว่า การอ่านคือ กระบวนการทางจิตภาษาศาสตร์ การอ่านผู้อ่านจะใช้ระบบการรับข่าวสารการรัยรู้สิ่งที่อ่านโดยใช้ตาเป็น อวัยวะสัมผัสจับสิ่งที่เป็นตัวหนังสือส่งไปยังหน่วยการรับรู้สึกเกี่ยวกับการอ่านแล้วส่งไปยังกระบวนการ ความจํา เมื่อสิ่งที่อ่านผ่านกระบวนการจําไปแล้วจะถูกส่งกลับมายังตัวรับหน่วยสิ่งที่อ่านใหม่อีกครั้ง จากนั้นจึงส่งมายังหน่วยปฏิบัติการอ่านออกมาเป็นเสียง หรือความเข้าใจ เดอชองท์ (Dechant. 1969 : 11) กล่าวว่า การอ่านมิใช่เพียงความเข้าใจในสัญลักษณ์หรือการ ออกเสียง หรือการรับความหมายจากตัวหนังสือ แต่ผู้อ่านจะได้รับการกระตุ้นจากตัวหนังสือและต้องปรับ ความหมายของตัวหนังสือเหล่านั้นให้เข้ากับความหมายที่ผู้อ่านมีอยู่แล้ว ฟรีส์ (Fries. 1963 : 131) กล่าวว่าการอ่านคือ การตอบสนองสัญลักษณ์ทางภาษา ซึ่งเป็น ตัวแทนของคําพูด หัวใจของการอ่านอยู่ที่การเข้าใจความหมายในสิ่งที่อ่าน สมิธ (Smith. 1967 : 11) ให้นิยามการอ่านว่า เป็นคําพูดที่ถูกบันทึกเก็บไว้เมื่อเราพูด เราต้อง ช้ําศัพท์เพื่อสื่อความคิดของเรา และในเวลาเดียวกันจะต้องรับรู้ด้วยว่าจะเรียบเรียงคําพูดนั้นอย่างไร จึง จะได้รับผลตามความมุ่งหมาย ซึ่งอาจต้องใช้เสียงหรือสัญลักษณ์แทนก็ได้ ลาโด (Lado. 1964 : 14) กล่าวว่า การอ่านเป็นการรวมทักษะในการถอดความการวิเคราะห์ คํา ความหมายของคํา ความเข้าใจเนื้อเรื่อง การตีความและการให้ข้อคิดเห็น ส่วนนักภาษาศาสตร์อีก คน คือ ฟรีส์ (Fries. 1963 : 131) ได้ให้ความหมายของการอ่านว่าเป็นการตอบสนองสัญลักษณ์ทาง ภาษา ซึ่งเป็นตัวแทนของภาษาพูด หัวใจของการอ่านนั้นอยู่ที่การเข้าใจความหมายของคํา เกรย์ (Gray. 1984 : 35 – 37) กล่าวว่ากระบวนการอ่านประกอบด้วยทักษะที่สําคัญหลาย อย่างดังนี้ 1. การรู้จักคํา (Perception of the word used) ผู้อ่านจะอ่านหนังสือได้เข้าใจก็ต่อเมื่อมี ความสามารถในการอ่านตัวอักษร และเข้าใจความหมายตรงกับผู้เขียน เกรย์ กล่าวว่า การเข้าใจ ความหมายของคําเป็นทักษะเบื้องต้นของการอ่านทุกประเภท 2. การเข้าใจความคิดของผู้เขียน (Comprehension of the ideas expressed) 3. การมีปฏิกิริยาตอบโต้ความคิดของผู้เขียน (Reaction to these ideas) เป็นการประเมิน ความคิดของผู้เขียนจากเรื่องที่อ่าน ซึ่งผลของการประเมินจะเป็นการเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยก็ได้ 4. ทักษะในการผสมผสานความคิดใหม่กับความคิดเก่า จากเรื่องที่อ่าน (Integration of the idea) ซึ่งหมายถึงการรวมความคิดที่ได้รับจากเรื่องที่อ่านกับประเดิมของผู้อ่าน บอนด์ และทิงเคอร์ (Bond and Tinker. 1957 : 235) กล่าวว่า ความสามารถในการอ่าน ขึ้นอยู่กับทักษะพื้นฐานดังต่อไปนี้ 1. การเข้าใจความหมายของคํา (Word meaning) การเข้าใจความหมายของคํา เป็นทักษะพื้นฐานของการอ่าน ถ้าหากนักเรียนเรียนรู้ความหมายของคําไม่เพียงพอ นักเรียนจะไม่เข้าใจ ประโยค (Sentence) อนุเฉท (Paragraph) และไม่สามารถพูดหรืออ่านได้ 2. การเข้าใจความหมายของกลุ่มคํา (Thought Units) นักเรียนจะสามารถเข้าใจ ความหมายของประโยคได้ก็ต่อเมื่อนักเรียนรู้จักอ่านเป็นกลุ่มคํา การอ่านทีละคําทําให้ไม่เข้าใจเรื่องที่อ่าน
  • 18. 12 3. การเข้าใจประโยค (Sentence Comprehension) เมื่อนักเรียนเข้าใจความหมาย ของกลุ่มคําแล้วยังต้องรู้จักนําเอาคําแต่ละคําหรือแต่ละส่วนมาสัมพันธ์กันจนได้ใจความของประโยค 4. การเข้าใจอนุเฉท (Paragraph Comprehension) หมายถึง ความสามารถนํา การนําประโยคในตอนนั้น ๆ มาสัมพันธ์กัน นักเรียนจะสามารถอ่านได้เข้าใจยิ่งขึ้น 5. การเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างอนุเฉท (Comprehension of larger units) นักเรียนจะสามารถเข้าใจเนื้อเรื่องที่ยาวขึ้นได้ก็ต่อนักเรียนสามารถจัดลําดับความคิดของเรื่องที่อ่านได้ และ จะต้องมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างอนุเฉทด้วย ทักษะพื้นฐานตามที่กล่าวมาแล้วนี้ จะมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน กล่าวคือ ผู้อ่านจะเข้าใจเรื่องที่อ่านได้ ก็ต่อเมื่อผู้อ่านเข้าใจความหมายของคํา รู้จักอ่านเป็นกลุ่มคํา ซึ่งเป็น องค์ประกอบสําคัญของการเข้าใจประโยค การเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างประโยคจะทําให้เข้าใจอนุเฉท และการเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างอนุเฉทจะทําให้เข้าใจเรื่องที่อ่านทั้งหมด พอจะสรุปได้ว่า การอ่านคือ การเข้าใจความหมายของสิ่งที่อ่าน และสามารถ แปลความ ตีความและขยายความ สัญลักษณ์หรือตัวอักษรที่ปรากฏออกมา เป็นความคิดเห็นที่นํามาใช้ ให้เกิดประโยชน์ได้ 2.4.2 ความเข้าใจในการอ่าน ชวาล แพรัตกุล (ชวาล แพรัตกุล. 2520 : 134) ได้ให้ความหมายของความเข้าใจ ว่าเป็นความสามารถในการผสมแล้วขยายความรู้ความจําให้ได้ไกลออกไปจากเดิมอย่างสมเหตุสมผล ซึ่ง จะต้องมีคุณสมบัติหลายประการ ดังนี้คือ 1. รู้ความหมายและรายละเอียดย่อย ๆ ของเรื่องนั้นมาก่อนแล้ว 2. รู้ความเกี่ยวข้องความสัมพันธ์ระหว่างขั้นและความรู้ย่อย ๆ เหล่านั้น 3. สามารถอธิบายสิ่งเหล่านั้นได้ด้วยภาษาของตนเอง 4. เมื่อพบสิ่งอันใด ที่มีสภาพทํานองเดียวกับที่เคยเรียนรู้มาแล้ว ก็สามารถตอบและอธิบายได้ ความเข้าใจสามารถแสดงได้ดังนี้ 1. การแปลความ (Translation) คือ สามารถแปลความหมายของสิ่งต่าง ๆ ได้โดยแปลลักษณะ และนัยของเรื่องราว ซึ่งเป็นความหมายที่ถูกต้องและใช้ได้ดีสําหรับเรื่องราวนั้นโดยเฉพาะ 2. การตีความ (Interpretation) คือ ความสามารถจับความสัมพันธ์ระหว่างชิ้นส่วนย่อย ๆ ของ เรื่องนั้น จนสามารถนํามากล่าวอีกนัยหนึ่งได้ 3. การขยายความ (Extrapolation) คือ ความสามารถขยายความหมายตามนัยของเรื่องนั้นให้ กว้างไกลไปจากสภาพข้อเท็จจริงเดิมได้ ทั้งนี้ สอดคล้องกับของ สมบูรณ์ ชิตพงศ์ (สมบูรณ์ ชิตพงศ์. 2523 : 27) ว่า ความเข้าใจ (Comprehension) เป็นความสามารถทางด้านสมองในการคิดเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในด้านการแปลความ ตีความ และขยายความในเรื่องราวและเหตุต่าง ๆ ในชีวิต และนอกจากนี้ พัฒน์ น้อยแสงศรี (พัฒน์ น้อยแสงศรี. 2520 : 76) สรุปว่าการอ่านเพื่อความเข้าใจ (Reading for comprehension) จะต้องมี ความสามารถในด้านความหมายของคํา (Word meaning) สังกัป (Concept) โครงสร้างประโยค (Sentence structure) โครงสร้างอนุเฉท (Paragraph structure) นอกจากนี้แล้วยังเกี่ยวพันธ์กับ ทัศนคติ (Attitude) และจุดประสงค์ (Purpose) ของผู้อ่านด้วย