SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 89
เรื่อง  การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เนื้อหา 4 .  การเคลื่อนที่ของมนุษย์ 3.  การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง 2.  การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 1.  การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว แบบฝึกหัด ออก จัดทำโดย นางสาววัชวัลย์ ครุฑไชยันต์  ครูชำนาญการพิเศษ
[object Object],ภายในไซโทพลาซึมมีไมโครฟิลาเมนต์ เป็นเส้นใยโปรตีนแอกทินและไมโอซิน ซึ่งเป็นโครงสร้างที่ทำให้เอนโดพลาซึมไหลไปมาภายในเซลล์ได้และดันเยื่อหุ้มเซลล์ให้โป่งออกมาเป็นขาเทียม ทำให้อะมีบาเคลื่อนไหวได้ เรียกว่า การเคลื่อนไหวแบบอะมีบา ไซโทพลาซึมในเซลล์อะมีบาแบ่งเป็น  2  ส่วน คือ   -  ชั้นนอก  (ectoplasm)   มีลักษณะค่อนข้างแข็งและไหลไม่ได้   -  ชั้นใน  (endoplasm)   มีลักษณะเป็นของเหลวและไหลได้   เพิ่มเติมรายละเอียด เรื่อง  การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
ภาพแสดงโครงสร้างภายในของอะมีบา คลิกที่ภาพหนึ่งครั้งเพื่อแสดงการเคลื่อนที่ของไซโทพลาซึมโดยการใช้เท้าเทียม ที่มา  :   http://www.vcharkarn.com/vcafe/dekvit/uploaded_pics/CS19805x15.gif เรื่อง  การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว  ( ต่อ ) 1.1  การเคลื่อนไหวโดยอาศัยการไหลของไซโทพลาซึม  ( ต่อ ) เพิ่มเติมรายละเอียด
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คลิกที่ภาพแสดงการเคลื่อนที่ของ  ยูกลีนา เรื่อง  การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว  ( ต่อ ) 1.2  การเคลื่อนไหวโดยอาศัยแฟลเจลลัมหรือซิเลีย ที่มา  http://www.wwa-fs.bayern.de/datenufakten/Biologie/Flagellaten.htm เพิ่มเติมรายละเอียด
ซิเลีย  (cilia)  -  มีลักษณะเป็นเส้นเล็ก ๆ  ยื่นยาวออกจากเซลล์ของพืช หรือสัตว์เซลล์เดียว หรือเซลล์สืบพันธุ์  ใช้โบกพัดเพื่อให้เกิดการเคลื่อนที่ภายในน้ำหรือของเหลว  พบในพารามีเซียม   พลานาเรีย  ภาพแสดงการเคลื่อนที่ของพารามีเซียม เรื่อง  การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว  ( ต่อ ) 1.2  การเคลื่อนไหวโดยอาศัยแฟลเจลลัมหรือซิเลีย  ( ต่อ ) ที่มา  :   http://www.bwc.ac.th/Science/sumena/cell1.htm เพิ่มเติมรายละเอียด
เพิ่มเติมรายละเอียด การเคลื่อนที่ของไส้เดือนเกิดจากการทำงานร่วมกันของกล้ามเนื้อวงกลม  และกล้ามเนื้อตามยาวหดตัวและคลายตัวเป็นระลอกคลื่นจากทางด้านหน้ามาทางด้านหลังทำให้เกิดการเคลื่อนที่ไปทางด้านหน้า  ไส้เดือนมีกล้ามเนื้อ  2  ชุด  คือ  กล้ามเนื้อวงกลมรอบตัว อยู่ทางด้านนอก  และกล้ามเนื้อตามยาว ตลอดลำตัวอยู่ทางด้านใน  นอกจากนี้ไส้เดือนยังใช้เดือยซึ่งเป็นโครงสร้างเล็ก ๆ ที่ยื่นออกจากผนังลำตัวรอบปล้องช่วยในการเคลื่อนที่ด้วย คลิกที่ภาพหนึ่งครั้งเพื่อแสดง เคลื่อนที่ของไส้เดือน เรื่อง  การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 2.1  การเคลื่อนที่ของไส้เดือน
พลานาเรียเป็นสัตว์จำพวกหนอนตัวแบนอาศัยอยู่ในน้ำมีกล้ามเนื้อ  3  ชนิด คือ  ●   กล้ามเนื้อวง  อยู่ทางด้านนอก  ●   กล้ามเนื้อตามยาว  อยู่ทางด้านใน ●   กล้ามเนื้อทแยง  ยึดอยู่ระหว่างส่วนบนและส่วนล่างของลำตัว พลานาเรีย เคลื่อนที่โดยการลอยไปตามน้ำ หรือ คืบคลานไปตามพืชใต้น้ำโดยอาศัยกล้ามเนื้อวง และกล้ามเนื้อตามยาว  ส่วนกล้ามเนื้อทแยงจะช่วยให้ลำตัวแบนบางและพลิ้วไปตามน้ำ ในขณะที่ พลานาเรียเคลื่อนไปตามผิวน้ำ  ซิเลียที่อยู่ทางด้านล่างของลำตัวจะโบกพัดไปมาช่วยเคลื่อนตัวไปได้ดี ยิ่งขึ้น  การเคลื่อนที่ของพลานาเรีย   เรื่อง  การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง  ( ต่อ ) 2.2  การเคลื่อนที่ของพลานาเรีย   ที่มา  :   ประสงค์  หลำสะอาด  :  6 เพิ่มเติมรายละเอียด
แมงกะพรุน มีของเหลวที่ เรียกว่า  มีโซเกลียแทรกอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นนอกและเนื้อเยื่อ ชั้นใน มีน้ำเป็น องค์ประกอบส่วนใหญ่ของลำตัวแมงกะพรุนเคลื่อนที่โดยการหดตัวของเนื้อเยื่อบริเวณขอบกระดิ่งและที่ผนังลำตัวสลับกัน  ทำให้พ่นน้ำออกมาทางด้านล่างส่วนตัวจะพุ่งไปในทิศทางตรงข้ามกับทิศทางน้ำที่พ่นออกมา  การหดตัวนี้จะเป็นจังหวะทำให้ตัวแมงกะพรุนเคลื่อนไปเป็นจังหวะด้วย  การเคลื่อนที่ของแมงกะพรุน   เรื่อง  การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง  ( ต่อ ) 2.3  การเคลื่อนที่ของแมงกะพรุน ที่มา  :   http :// echeng . com / journal / 2006/04 / เพิ่มเติมรายละเอียด
เรื่อง  การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง  ( ต่อ ) 2.4  การเคลื่อนที่ของหมึก   ที่มา  :   สสวท .   ชีววิทยา  เล่ม  3,  2547  :  7  หมึก   เคลื่อนที่โดยการหดตัวของกล้ามเนื้อลำตัว พ่นน้ำออกมาจาก ไซฟอน ซึ่งอยู่ทางส่วนล่างของส่วนหัว ทำให้ตัวพุ่งไปข้างหน้าในทิศทางที่ตรงข้ามกับทิศทางของน้ำ นอกจากนี้ส่วนของ ไซฟอนยังสามารถเคลื่อนไหวได้ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทิศทางของน้ำที่พ่นออกมา และยังทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทิศทางของการเคลื่อนที่ด้วย ส่วนความเร็วนั้น  ขึ้นอยู่กับความแรงของการบีบตัวของกล้ามเนื้อลำตัว แล้วพ่นน้ำออกมา  หมึกมีครีบอยู่ทางด้านข้างลำตัว ช่วยในการทรงตัวให้เคลื่อนที่ไปในทิศทางที่เหมาะสม การเคลื่อนที่ของหมึก   เพิ่มเติมรายละเอียด
ดาวทะเล มีระบบการเคลื่อนที่ด้วยระบบท่อน้ำ ระบบท่อน้ำประกอบด้วย มาดรีโพไรต์  สโตนแคเนล ริงแคแนล เรเดียลแคแนล ทิวบ์ฟีท แอมพูลลา ดาวทะเลเคลื่อนที่โดย น้ำเข้าสู่ระบบท่อน้ำ ดรีโพไรต์และไหลผ่านท่อวงแหวนรอบปากเข้าสู่ท่อเรเดียลแคแนลและทิวบ์ฟีท  เมื่อกล้ามเนื้อ ที่แอมพูลลาหดตัวดันน้ำไปยังทิวบ์ฟีท  ทิวบ์ฟีทจะยืดยาวออก ไปดันกับพื้นที่อยู่ด้านล่างทำให้เกิด การเคลื่อนที่  เมื่อเคลื่อนที่ไปแล้วกล้ามเนื้อของทิวบ์ฟีทจะหดตัวทำให้ทิวบ์ฟีทสั้นลง ดันน้ำกลับไป ที่แอมพูลลาตามเดิม  การยืดหดของทิวบ์ฟีท หลายๆ ครั้งต่อเนื่องกันทำให้ดาวทะเลเกิดการเคลื่อนที่ไปได้   ระบบท่อน้ำของดาวทะเล   เรื่อง  การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง  ( ต่อ ) 2.5  การเคลื่อนที่ของดาวทะเล   ที่มา  :   สสวท .  ชีววิทยา  เล่ม  3,  2547  :  7  เพิ่มเติมรายละเอียด
แมลง เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง  แต่แมลงมีโครงร่างภายนอก ซึ่งเป็นสารพวกไคทินมีลักษณะเป็นโพรง เกาะกันด้วยข้อต่อซึ่งเป็นเยื่อที่งอได้  ข้อต่อข้อแรกของขากับลำตัวเป็นข้อต่อแบบ บอลแอนด์ซอกเก็ต  ส่วนข้อต่อแบบอื่นๆ เป็นแบบบานพับ  การเคลื่อนไหวเกิดจากทำงานสลับกันของ กล้ามเนื้อเฟล็กเซอร์ และเอ็กเทนเซอร์  ซึ่งเกาะอยู่โพรงไคทินนี้ โดย  กล้ามเนื้อเฟล็กเซอร์   ทำหน้าที่ในการงอขา และกล้ามเนื้อเอ็กเทนเซอร์  ทำหน้าที่ในการเหยียดขาซึ่งการทำงานเป็นแบบแอนทาโกนิซึมเหมือนกับคน  ตำแหน่งกล้ามเนื้อที่ใช้ใน การเคลื่อนที่ของตั๊กแตน   เรื่อง  การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง  ( ต่อ ) 2.6  การเคลื่อนที่ของแมลง ที่มา  :   สสวท .  ชีววิทยา  เล่ม  3,  2547  :  9  เพิ่มเติมรายละเอียด
แมลงมีระบบกล้ามเนื้อเป็น  2  แบบ  คือ     -  ระบบกล้ามเนื้อที่ติดต่อกับโคนปีกโดยตรง   -  ระบบกล้ามเนื้อที่ไม่ติดต่อกับปีกโดยตรง การทำงานของกล้ามเนื้อของแมลงขณะยกปีกขึ้นและขณะกดปีกลง   ที่มา  :   สสวท .  ชีววิทยา  เล่ม  3,  2547  :   10  เรื่อง  การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง  ( ต่อ ) 2.6  การเคลื่อนที่ของแมลง  ( ต่อ ) เพิ่มเติมรายละเอียด
[object Object],โลมา วาฬ ครีบหาง ครีบอก 3.1  การเคลื่อนที่ของโลมาและวาฬ ที่มา  :   http :// 203.146.15.111 / goverment / www . seaanimal . com / page11-3 . html เรื่อง  การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง เพิ่มเติมรายละเอียด
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],เรื่อง  การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง  ( ต่อ )  3. 2  การเคลื่อนที่ของปลา ที่มา  :   สสวท .  ชีววิทยา เล่ม  3, 2547   :   18 เพิ่มเติมรายละเอียด
เป็ดขณะที่เคลื่อนไหวในน้ำ  จะใช้โครงสร้างที่มีลักษณะเป็นแผ่นบางๆ ยึดติดอยู่ระหว่างนิ้วเท้าช่วยโบกพัดน้ำ  ทำให้ลำตัวเคลื่อนไปข้างหน้าได้ เรียกว่า   Web   ท่ากระโดดของกบจะใช้ขาหลังทั้งสองในการดีดตัวไปข้างหน้า เรื่อง  การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง  ( ต่อ ) 3.3  การเคลื่อนที่ของกบและเป็ดในน้ำ ที่มา  :   http ://  www . jobbees . com   เพิ่มเติมรายละเอียด
สัตว์กลุ่มนี้จะมีขาคู่หน้าที่เปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะเป็นพาย เรียกว่า ฟลิบเปอร์ ช่วยในการพัดโบกร่วมกับส่วนประกอบอื่นของร่างกาย  ทำให้เคลื่อนที่ในน้ำได้เป็นอย่างดี แมวน้ำ เต่าทะเล เรื่อง  การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง  ( ต่อ ) 3.4  การเคลื่อนที่ของเต่าทะเล  แมวน้ำ และ สิงโตทะเล ที่มา  :   http ://  www .  chiangmaizoo . com   เพิ่มเติมรายละเอียด
เรื่อง  การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง  ( ต่อ ) 3.5  การเคลื่อนที่ของนก นกมีกล้ามเนื้อที่ใช้ในการขยับปีกที่แข็งแรง โดยกล้ามเนื้อนี้จะยึดอยู่ระหว่างโคนปีกกับกระดูกอก (keel or sternum)   กล้ามเนื้อคู่หนึ่ง ทำหน้าที่ เป็น กล้ามเนื้อยกปีก   (levater muscle)  คือ กล้ามเนื้อเพกทอราลิสไมเนอร์  (pectorlis minor) และกล้ามเนื้ออีกคู่มีขนาดใหญ่มาก ทำหน้าที่ ในการหุบปีกลง  (depresser muscle)  คือ กล้ามเนื้อเพกทอราลิสเมเจอร์  (pectorralis major)   ที่มา  :   ประสงค์ หลำสะอาด  :  17   เพิ่มเติมรายละเอียด
[object Object],[object Object],[object Object],ที่มา  :   สมาน แก้วไวยุทธ  :  20 เรื่อง  การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง  ( ต่อ ) 3.5  การเคลื่อนที่ของนก  ( ต่อ ) โครงสร้างกระดูกของนก เพิ่มเติมรายละเอียด
ระบบโครงกระดูกของคน ระบบโครงกระดูก หมายถึง กระดูกอ่อน (Cartilage)   กระดูกแข็ง  (Compact bone)  ข้อต่อ (Joints) รวมถึงสิ่งต่างๆ ที่มาเกี่ยวพัน ได้แก่ เอ็นกล้ามเนื้อ  (Tendon)  เอ็นยึดข้อ  (Ligament)  เรื่อง  การเคลื่อนที่ของคน ที่มา  :   นายแพทย์อภิชัย ชัยดรุณ  : 11 เพิ่มเติมรายละเอียด 4.1  ระบบโครงกระดูกและข้อต่อ
หน้าที่ของระบบโครงกระดูก 1.   เป็นโครงร่าง ทำให้คนเราคงรูปอยู่ได้ นับเป็นหน้าที่สำคัญที่สุด 2.   เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อลาย เป็น รวมทั้งพังผืด 3.   เป็นโครงร่างห่อหุ้มป้องกันอวัยวะภายใน ไม่ให้เป็นอันตราย เช่น กระดูกสันหลังป้องกัน  ไขสันหลัง 4.   เป็นแหล่งเก็บแคลเซียมที่ใหญ่ที่สุด  5.   เป็นแหล่งสร้างเม็ดเลือดชนิดต่างๆ 6.   ช่วยในการเคลื่อนไหว โดยเฉพาะกระดูกยาวทำให้เราสามารถเคลื่อนไหวเป็นมุมที่กว้างขึ้น 7.  กระดูกบางชนิดยังช่วยในการนำคลื่นเสียง ช่วยในการได้ยิน เช่น กระดูกค้อน ทั่ง และ โกลน ซึ่งอยู่ในหูตอนกลาง จะทำหน้าที่นำคลื่นเสียงผ่ายไปยังหูตอนใน เรื่อง  การเคลื่อนที่ของคน  ( ต่อ ) 4.1  ระบบโครงกระดูกและข้อต่อ เพิ่มเติมรายละเอียด
กระดูกอ่อน  (Cartilage )   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],4.1  ระบบโครงกระดูกและข้อต่อ เรื่อง  การเคลื่อนที่ของคน  ( ต่อ ) เพิ่มเติมรายละเอียด
[object Object],[object Object],1.  กระดูกอ่อนโปร่งใส  (Hyaline Cartilage)   มีลักษณะใสเหมือนแก้ว เพราะมีเมทริกซ์โปร่งใส เป็นชนิดที่พบมากที่สุดในร่างกาย เป็นต้นกำเนิดโครงกระดูกส่วนมากในร่างกาย เช่น กระดูกซี่โครงด้านหน้าตรงส่วนรอยต่อกับกระดูกหน้าอก  บริเวณส่วนหัวของกระดูกยาว เช่น  จมูก กล่องเสียง  หลอดลม รูหูชั้นนอก หลอดลมขั้วปอด ที่มา  :   http://classroom.psu.ac.th/users/vuraporn/321_211/skeletal_sys2.htm 4.1  ระบบโครงกระดูกและข้อต่อ  ( ต่อ ) เรื่อง  การเคลื่อนที่ของคน ( ต่อ ) เพิ่มเติมรายละเอียด
[object Object],ที่มา  :   http://classroom.psu.ac.th/users/vuraporn/321_211/skeletal_sys2.htm กระดูกอ่อน  (Cartilage)   ( ต่อ ) กระดูกอ่อนจำแนกชนิดได้เป็น  3  ชนิด  ( ต่อ )   4.1  ระบบโครงกระดูกและข้อต่อ  ( ต่อ ) เรื่อง  การเคลื่อนที่ของคน  ( ต่อ ) เพิ่มเติมรายละเอียด
[object Object],ที่มา  :   http://classroom.psu.ac.th/users/vuraporn/321_211/skeletal_sys2.htm กระดูกอ่อน  (Cartilage)   ( ต่อ ) กระดูกอ่อนจำแนกชนิดได้เป็น  3  ชนิด  ( ต่อ )   เรื่อง  การเคลื่อนที่ของคน  ( ต่อ ) 4.1  ระบบโครงกระดูกและข้อต่อ  ( ต่อ ) เพิ่มเติมรายละเอียด
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],เรื่อง  การเคลื่อนที่ของคน  ( ต่อ ) 4.1  ระบบโครงกระดูกและข้อต่อ  ( ต่อ ) เพิ่มเติมรายละเอียด
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],เรื่อง  การเคลื่อนที่ของคน  ( ต่อ ) 4.1  ระบบโครงกระดูกและข้อต่อ  ( ต่อ ) เพิ่มเติมรายละเอียด
กระดูกชนิดต่างๆ ที่มา  :   http://classroom.psu.ac.th/users/vuraporn/321_211/skeletal_sys2.htm เรื่อง  การเคลื่อนที่ของคน  ( ต่อ ) 4.1  ระบบโครงกระดูกและข้อต่อ  ( ต่อ ) เพิ่มเติมรายละเอียด
ภายใต้ผิวหนังของคุณเป็นอย่างนี้แหละครับ ไปดูข้อต่อของกระดูกกันต่อ ครับ ! ที่มา  :   อวัยวะภายในของคน  :  4  เรื่อง  การเคลื่อนที่ของคน  ( ต่อ ) 4.1  ระบบโครงกระดูกและข้อต่อ  ( ต่อ ) เพิ่มเติมรายละเอียด
ข้อต่อและเอ็นเชื่อมกระดูก   เรื่อง  การเคลื่อนที่ของคน  ( ต่อ ) 4.2  ข้อต่อและเอ็นเชื่อมกระดูก เพิ่มเติมรายละเอียด
[object Object],[object Object],เรื่อง  การเคลื่อนที่ของคน  ( ต่อ ) 4.2  ข้อต่อและเอ็นเชื่อมกระดูก  ( ต่อ ) เพิ่มเติมรายละเอียด
ที่มา  :   นายแพทย์อภิชัย ชัยดรุณ  : 11 ข้อต่อแบบลูกกลมในเบ้า   สามารถหมุนได้เกือบทุกทิศทาง  สามารถพบได้ที่บริเวณสะโพกและหัวไหล่ เรื่อง  การเคลื่อนที่ของคน  ( ต่อ ) 4.2  ข้อต่อและเอ็นเชื่อมกระดูก  ( ต่อ ) เพิ่มเติมรายละเอียด
ที่มา  :   นายแพทย์อภิชัย ชัยดรุณ  : 11 ข้อต่อแบบบานพับ   ข้อต่อแบบนี้  พบได้ที่บริเวณข้อศอก  ซึ่งจะเคลื่อนไหวได้แค่งอและเหยียดเท่านั้นคล้ายกับบานพับประตู เรื่อง  การเคลื่อนที่ของคน  ( ต่อ ) 4.2  ข้อต่อและเอ็นเชื่อมกระดูก  ( ต่อ ) เพิ่มเติมรายละเอียด
ที่มา  :   นายแพทย์อภิชัย ชัยดรุณ  : 11 ข้อต่อแบบเลื่อน  -  จะมีผิวแบนเรียบ  ซึ่งจะเลื่อนไปซ้อนกันได้เล็กน้อยในทุกทิศทาง  พบได้ที่บริเวณระหว่างข้อกระดูกสันหลัง  และที่บริเวณข้อมือ - ข้อเท้า เรื่อง  การเคลื่อนที่ของคน  ( ต่อ ) 4.2  ข้อต่อและเอ็นเชื่อมกระดูก  ( ต่อ ) เพิ่มเติมรายละเอียด
ที่มา  :   นายแพทย์อภิชัย ชัยดรุณ  : 11 ข้อต่อแบบเดือยหมุน   พบในข้อต่อระหว่างกระดูกคอชิ้นที่  1  และ  2  โดยกระดูกคอชิ้นที่  2  มีลักษณะเป็นเดือยตั้งให้กระดูกคอชิ้นที่  1 เรื่อง  การเคลื่อนที่ของคน  ( ต่อ ) 4.2  ข้อต่อและเอ็นเชื่อมกระดูก  ( ต่อ ) เพิ่มเติมรายละเอียด
มีแต่กระดูกกับข้อต่อ  ยังเคลื่อนไหวไม่ได้หรอกนะ  !! ต้องมีระบบกล้ามเนื้อด้วยใช่ ไ ห ม ค ะ !?! 4.3  ระบบกล้ามเนื้อ เรื่อง  ระบบกล้ามเนื้อ เพิ่มเติมรายละเอียด
กล้ามเนื้อ (muscle)  เป็นตัวที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวโดยทำงานร่วมกับระบบโครงกระดูก   ,[object Object],[object Object],เรื่อง  ระบบกล้ามเนื้อ  ( ต่อ ) 4.3  ระบบกล้ามเนื้อ  ( ต่อ ) เพิ่มเติมรายละเอียด
กล้ามเนื้อลาย  ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะยาวเหมือนเส้นใย  เรียกว่า  เส้นใยกล้ามเนื้อ  (  muscle fiber  )  อยู่รวมกันเป็นมัด  เซลล์แต่ละเซลล์ในเส้นใยกล้ามเนื้อจะมีหลาย นิวเคลียส    ในเส้นใยกล้ามเนื้อแต่ละเส้นจะประกอบด้วยมัดของ  เส้นใยฝอย หรือเส้นใยกล้ามเนื้อเล็ก  (  myofibrils  )  ที่มีลักษณะเป็นท่อนยาว เรียงตัวตามแนวยาว ภายในเส้นใยฝอยจะประกอบด้วยเส้นใยเล็กๆ เรียกว่า ไมโอฟิลาเมนท์  (  myofilament  )  เรื่อง ระบบกล้ามเนื้อ  ( ต่อ ) 4.3  ระบบกล้ามเนื้อ  ( ต่อ ) เพิ่มเติมรายละเอียด
ไมโอฟิลาเมนต์  ประกอบด้วยโปรตีน  2   ชนิด คือ ไมโอซิน (  myosin  )  และแอกทิน  (  actin  )  ไมโอซินมีลักษณะเป็นเส้นใยหนา ส่วนแอกทินเป็นเส้นใยที่บางกว่า การเรียงตัวของไมโอซินและแอกทิน  อยู่ในแนวขนานกัน ทำให้เห็นกล้ามเนื้อเป็นลายขาวดำสลับกัน เรื่อง ระบบกล้ามเนื้อ  ( ต่อ ) 4.3  ระบบกล้ามเนื้อ  ( ต่อ ) เพิ่มเติมรายละเอียด
[object Object],[object Object],เรื่อง ระบบกล้ามเนื้อ  ( ต่อ ) 4.3  ระบบกล้ามเนื้อ  ( ต่อ ) เพิ่มเติมรายละเอียด
ลักษณะเซลล์กล้ามเนื้อชนิดต่างๆ ที่มา  :  สสวท .  ชีววิทยา เล่ม  3, 2547   :  18  เรื่อง ระบบกล้ามเนื้อ  ( ต่อ ) 4.3  ระบบกล้ามเนื้อ  ( ต่อ ) เพิ่มเติมรายละเอียด
[object Object],[object Object],การทำงานของกล้ามเนื้อที่เห็นได้ชัดเจน ได้แก่ การทำงานของกล้ามเนื้อแขน เรื่อง ระบบกล้ามเนื้อ  ( ต่อ ) 4.3  ระบบกล้ามเนื้อ  ( ต่อ ) เพิ่มเติมรายละเอียด
ที่มา  : http :// www . non . rmutsb . ac . th / homepages / organ / 1_Muscular . html เรื่อง ระบบกล้ามเนื้อ  ( ต่อ ) 4.3  ระบบกล้ามเนื้อ  ( ต่อ ) รูปภาพแสดงโครงสร้างของกล้ามเนื้อ การเรียงตัวของ ไมโอฟิลาเมนต์  โปรตีน  แอกทิน และไมโอซิน เพิ่มเติมรายละเอียด
ไม่เข้าใจเรื่องใด  กลับไปทบทวน ศึกษาเพิ่มเติมอีกครั้งนะ ....
แบบฝึกหัด เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ,[object Object],[object Object],วิธีทำแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 3. ไปข้างหน้า 2.  ไปด้านข้าง 1.  ถอยหลัง 4. หมุนตัวเป็นวงกลม 1.  ยูกลีนามีแฟลเจลลัมเส้นเดียว อยู่ที่ปลายทางด้านหน้าสุดของเซลล์  ถ้ายูกลีนาโบกแฟลเจลลัม  จากแนวตั้งตรงมาทางด้านหน้า  จะทำให้เกิดการเคลื่อนที่ลักษณะใด
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตอบผิดนะ  !
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ถูกต้องนะคะ
3.  วอลวอกซ์ ,  แมงกระพรุน 2.  ดาวทะเล ,  ยูกลีนา 1.  อะมีบา ,  พารามีเซียม 4.  พลานาเรีย ,  ไส้เดือนดิน 2.  สิ่งมีชีวิตในข้อใดที่มีลักษณะการทำงานของกล้ามเนื้อเป็นแบบแอนตาโกนิซึม แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตอบผิดนะ  !
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ถูกต้องนะคะ
3.  พลานาเรีย 2.  ยูกลีนา   1.  ราเมือก 4.  พารามีเซียม   3.  สิ่งมีชีวิตในข้อใดที่มีการเคลื่อนที่แบบอะมีบา แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตอบผิดนะ  !
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ถูกต้องนะคะ
4 .  ปลาฉลามและแมวน้ำ   3 .  แมลงดานาและเต่านา 2 .  กระและแมวน้ำ 1 .  เป็ดและกบ   4.  โครงสร้างแบบ  flipper  พบได้ในสัตว์พวกใด แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตอบผิดนะ  !
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ถูกต้องนะคะ
4.  พลานาเรีย  แมงกะพรุน   3.  พลานาเรีย  ไส้เดือนดิน   2.  แมงกะพรุน  หมึก   1.  พลานาเรีย  หมึก   5.  สัตว์ชนิดใดเมื่อเคลื่อนที่อาศัยการทำงานของกล้ามเนื้อที่ทำหน้าที่ตรงกันข้าม แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตอบผิดนะ  !
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ถูกต้องนะคะ
4.  ควบคุมการหาอาหารของซีเลีย 3.  ควบคุมการพัดโบกของซีเลีย 2.  ตอบสนองต่อสิ่งเร้า   1.  รับความรู้สึก   6.  เส้นใยประสานงานของพารามีเซียมทำหน้าที่อย่างไร แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตอบผิดนะ  !
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ถูกต้องนะคะ
4.   เฟลกซ์เซอร์คลายตัว และ เอกเทนเซอร์หดตัว 3.  เฟลกซ์เซอร์หดตัวและเอกเทนเซอร์คลายตัว 2.  เฟลกซ์เซอร์และเอกเทนเซอร์คลายตัว 1.   เฟลกซ์เซอร์และเอกเทนเซอร์หดตัว   ,[object Object],[object Object],แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตอบผิดนะ  !
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ถูกต้องนะคะ
4.  กล้ามเนื้อเอกเทนเซอร์ตอนล่างหดตัว 3.   กล้ามเนื้อเฟลกซ์เซอร์ตอนล่างหดตัว 2.  กล้ามเนื้อเอกเทนเซอร์หดตัว 1.  กล้ามเนื้อเฟลกซ์เซอร์หดตัว  8.  ในขณะที่นักเรียนเขียนหนังสือจะเกิดการทำงานของกล้ามเนื้ออย่างไร  แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตอบผิดนะ  !
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ถูกต้องนะคะ
4.  มีการยืดหยุ่นการยึดกระดูกกับกระดูก 3.  ไม่มีการยืดหยุ่นการยึดกระดูกกับกระดูก 2.  มีการยืดหยุ่นการยึดกล้ามเนื้อกับกระดูก 1.  ไม่มีการยืดหยุ่นการยึดกล้ามเนื้อกับกระดูก   9.  ข้อความใดอธิบายถึงลิกาเมนต์ได้อย่างถูกต้อง แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตอบผิดนะ  !
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ถูกต้องนะคะ
4.   กล้ามเนื้อมัดเดียวไม่สามารถยึดข้อต่อได้ 3.  กล้ามเนื้อมัดเดียวไม่สามารถหดข้อต่อได้ 2.  กล้ามเนื้อทำงานได้เฉพาะเมื่อมีการหดตัว 1.  ทำให้มีแรงมากกว่าเป็นกล้ามเนื้อมัดเดียว 10.  กล้ามเนื้อลายโดยปกติพบได้ในการทำงานตรงข้ามเป็นคู่ ๆ เพราะอะไร แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตอบผิดนะ  !
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ถูกต้องนะคะ
4.   มีการสลาย  ATP 3.   กล้ามเนื้อมีปริมาณลดลง 2.  มีพลังงานความร้อนเกิดขึ้น 1.  แรงดันในแทนดอนเพิ่มขึ้น 11.  เหตุการณ์ใดจะไม่เกิดขึ้นเมื่อกล้ามเนื้อหดตัว แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตอบผิดนะ  !
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ถูกต้องนะคะ
4.  ไส้เดือนดิน 3.  แมงกะพรุน 2.  ปลาหมึก 1.  ดาวทะเล 12.  สัตว์ชนิดใดที่มีอวัยวะเฉพาะทำหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนที่โดยอาศัยแรงดันไฮโดรสแตติก แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตอบผิดนะ  !
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ถูกต้องนะคะ
4.  ระบบกล้ามเนื้อที่อยู่นอกอำนาจจิตใจ 3.  ระบบกล้ามเนื้อที่ยึดกระดูก 2.  ระบบกล้ามเนื้อลาย 1.  ระบบกล้ามเนื้อเรียบ 13.  ในระหว่างการวิ่งของเสือ  เสือเคลื่อนที่ไปโดยอาศัยการทำงานของระบบอวัยวะใดบ้าง แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตอบผิดนะ  !
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ถูกต้องนะคะ
4.  เดือยของไส้เดือนกับทิวบ์ฟีตของดาวทะเล 3.  เซลล์คอลลาของฟองน้ำกับเฟลมเซลล์ 2.  เซลล์คอลลากับนีมาโตซีสต์ 1.  เฟลมเซลล์กับทิวบ์ฟีต 14.  โครงสร้างคู่ใดทำหน้าที่เหมือนกัน แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตอบผิดนะ  !
ทำข้อต่อไป แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ถูกต้องนะคะ
4.  ระบบกล้ามเนื้อ  ระบบโครงกระดูก  และ ระบบหายใจ 3.  ระบบกล้ามเนื้อ  ระบบโครงกระดูก  และระบบหมุนเวียนโลหิต 2.  ระบบกล้ามเนื้อ  ระบบประสาท  และระบบหมุนเวียนโลหิต   1.  ระบบกล้ามเนื้อ ระบบประสาท  และระบบโครงกระดูก 15.  การที่คนเราสามารถเคลื่อนไหวได้อย่างคล่องแคล่วว่องไวนั้น เกิดจากการทำงานร่วมกันของ  ระบบใด แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
กลับเมนูหลัก แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตอบผิดนะ  !
กลับเมนูหลัก แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ถูกต้องนะคะ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
Wan Ngamwongwan
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
supreechafkk
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
nokbiology
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
nokbiology
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
nokbiology
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
Thanyamon Chat.
 

Was ist angesagt? (19)

โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
บท3การเคลื่อนที่สมช
บท3การเคลื่อนที่สมชบท3การเคลื่อนที่สมช
บท3การเคลื่อนที่สมช
 
vbvb
vbvbvbvb
vbvb
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
8ปลา
8ปลา8ปลา
8ปลา
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
Movement
MovementMovement
Movement
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
skeletal system
skeletal systemskeletal system
skeletal system
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
 
Lesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasisLesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasis
 
ระบบกระดูก
ระบบกระดูกระบบกระดูก
ระบบกระดูก
 

Andere mochten auch

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
nokbiology
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
Nokko Bio
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
Tatthep Deesukon
 

Andere mochten auch (20)

การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 25, เมษายน 2558
สาระวิทย์ ฉบับที่ 25, เมษายน 2558สาระวิทย์ ฉบับที่ 25, เมษายน 2558
สาระวิทย์ ฉบับที่ 25, เมษายน 2558
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 29 ประจำเดือนสิงหาคม 2558
สาระวิทย์ ฉบับที่ 29 ประจำเดือนสิงหาคม 2558สาระวิทย์ ฉบับที่ 29 ประจำเดือนสิงหาคม 2558
สาระวิทย์ ฉบับที่ 29 ประจำเดือนสิงหาคม 2558
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน
ฉันและเธอ เราคืออาเซียนฉันและเธอ เราคืออาเซียน
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน
 
Weather
WeatherWeather
Weather
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
 
กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...
 ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0... ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...
ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
 
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์
 

Ähnlich wie สิ่งมีชีวิต

การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
nokbiology
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
Nattapong Boonpong
 
3 movement plan
3 movement plan3 movement plan
3 movement plan
Wichai Likitponrak
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
Namthip Theangtrong
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์
พัน พัน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
พัน พัน
 
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_การจำแนกสัตว์_(3)-06251013.pdf
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_การจำแนกสัตว์_(3)-06251013.pdfสื่อประกอบการสอน_เรื่อง_การจำแนกสัตว์_(3)-06251013.pdf
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_การจำแนกสัตว์_(3)-06251013.pdf
Kru Bio Hazad
 
การสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์การสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์
Wan Ngamwongwan
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Science
teeraya
 
9789740331315
97897403313159789740331315
9789740331315
CUPress
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
tarcharee1980
 
กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)
กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)
กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)
Kel2ol3yte ™
 

Ähnlich wie สิ่งมีชีวิต (20)

Movement
MovementMovement
Movement
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
3 movement plan
3 movement plan3 movement plan
3 movement plan
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
Original insect2
Original insect2Original insect2
Original insect2
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_การจำแนกสัตว์_(3)-06251013.pdf
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_การจำแนกสัตว์_(3)-06251013.pdfสื่อประกอบการสอน_เรื่อง_การจำแนกสัตว์_(3)-06251013.pdf
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_การจำแนกสัตว์_(3)-06251013.pdf
 
การสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์การสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Science
 
9789740331315
97897403313159789740331315
9789740331315
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)
กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)
กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)
 

สิ่งมีชีวิต