SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
Downloaden Sie, um offline zu lesen
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระการปฏิรูป(Blueprint for Change)
วาระการปฏิรูป ลาดับที่ ๓๖
“ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม”
๑. ประเด็นปัญหา
ศาสนาเป็นสถาบันที่สาคัญอยู่คู่กับประเทศไทยมาช้านานเป็นสถาบันหลักของชาติคือเป็นหนึ่ง
ในสามขององค์ประกอบ “ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์”โดยมีศาสนาพุทธเป็นศาสนาที่ประชาชนชาวไทย
ส่วนใหญ่นับถือมากที่สุดมาเป็นเวลาช้านานโดยสานักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้ทาการสารวจ
ประชากรอายุ๑๓ปีขึ้นไป พบว่า คนไทยนับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ๙๔.๖ศาสนาอิสลามร้อยละ ๔.๖ ศาสนาคริสต์
ร้อยละ ๐.๗ ที่เหลือคือนับถือศาสนาอื่นๆ และไม่มีศาสนา ตลอดกาลเวลาที่ผ่านมาพุทธศาสนาได้ผสมกลมกลืน
อยู่ในศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของผู้คน หล่อหลอมอัตลักษณ์แห่งความเป็นพลเมืองผู้มีน้าใจอันดีงามและ
รักสันติมาอย่างยาวนาน
แต่สภาพสังคมไทยในปัจจุบันมีการพัฒนาทางด้านวัตถุอย่างมากมายก่อให้เกิดสภาวะแวดล้อม
ที่ไม่เอื้อต่อการเสริมสร้างศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และการนาหลักศาสนธรรมไปปฏิบัติในหมู่ชนส่วนใหญ่
ซึ่งเห็นได้ชัดจากข่าวสารผ่าน สื่อมวลชนทุกวันนี้ที่สะท้อนภาพผู้คนที่ขาดศีลธรรม หลงใหลอยู่ในวัตถุนิยม
ความฟุ่มเฟือย แหล่งอบายมุขหลายประเภท ขาดจิตสานึกในหลักศาสนา มีพฤติกรรมทุจริตประพฤติมิชอบ
อย่างแพร่หลายโดยขาดความละอายต่อบาป เกิดขึ้นเกือบจะ ในทุกมิติของสังคม ภาคประชาสังคมประสบ
ความล้มเหลวในการสร้างคนให้เป็นคนดีทั้งในระดับครอบครัวและชุมชนประกอบกับกระแสการเปลี่ยนแปลง
ของโลกที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในยุคโลกาภิวัตน์นี้ ได้ส่งผลกระทบต่อสังคมไทย ในภาพรวมอย่างมหาศาล
ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมก่อให้เกิดการแก่งแย่งแข่งขันกันอย่างสูงทาให้คนไทยหลงใหลในวัตถุนิยม ไม่ยึดหลัก
ความพอเพียงในชีวิต องค์กรและบุคลากรทางศาสนา ก็หลีกเลี่ยงไม่พ้น จึงมีปัญหาในการปรับตัวอย่างมาก
ในสังคมโลกปัจจุบันก่อให้เกิดการเสื่อมถอยและวิกฤติศรัทธาในหมู่ประชาชนเพิ่มขึ้นศาสนิกชนในแต่ละศาสนา
ขาดความรู้ความเข้าใจในหลักศาสนาของตนอย่างแท้จริง รวมทั้งขาดความเข้าใจในศาสนาอื่น สื่อมวลชนยังมี
บทบาทน้อยและขาดความรู้ความเข้า ในการให้ข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับศาสนาที่ถูกต้องครบถ้วน มีผลทาให้
สังคมเกิดปัญหาอย่างมากมายในด้านศีลธรรมและคุณธรรมบุคคลทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทุกวัย ขาดการนาหลักศา
สนธรรมไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิตประจาวันอย่างเพียงพอ
การสารวจสภาวะทางสังคม วัฒนธรรมและสุขภาพจิต พ.ศ. ๒๕๕๔ สานักงานสถิติแห่งชาติ สืบค้นจาก
http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/soc-culRep54.pdf
(๒)
กล่าวโดยสรุป อาจจาแนกประเด็นปัญหาที่เกี่ยวกับศาสนาที่สาคัญๆได้เป็น ๕ ประเด็น
ดังต่อไปนี้
๑.๑ ปัญหาเรื่องความเข้มแข็งขององค์กรศาสนา
หากเปรียบสังคมเสมือนกงล้อที่มีสถาบันทางสังคมต่างๆ ร่วมกันขับเคลื่อน สังคมนั้น
“สถาบันศาสนา” ก็คือแกนหลักที่เชื่อมโยงยึดเหนี่ยวสถาบันอื่นๆ เข้าด้วยกันมาแต่โบราณกาล โดยเฉพาะ
สังคมไทยที่มี “วัด” เป็นศูนย์กลางในการดาเนินชีวิตของผู้คนในแต่ละชุมชนอย่างแน่นแฟ้น แต่ในปัจจุบัน
พบว่าสถาบันศาสนากลับค่อยๆ ลดบทบาทลง อย่างมาก ทุกศาสนาประสบปัญหาการดาเนินการภายใน
องค์กรศาสนาเองอันเนื่องมาจากกฎระเบียบที่ไม่ได้รับการ ปรับปรุงแก้ไขให้สอดรับกับ สภาพการณ์ของ
สังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน อีก ทั้งยังมีปัญหาอุปสรรคในด้านการบังคับใช้กฎหมาย และ
การบริหารจัดการ ภายในองค์กรทางศาสนา แต่ละแห่ง ที่อาจมีปัญหาสะสมมาเป็นเวลานานจึงมีผล ทาให้
สูญเสียภาพลักษณ์ขององค์กรที่ผู้คนนับถืออย่างสูงส่งในอดีต รวมทั้งสูญเสียบทบาทในการเป็นที่พึ่งพา และ
เป็นหลักยึดเหนี่ยวทางด้านจิตใจของมหาชน
๑.๒ ปัญหาเรื่องบุคลากรทางศาสนา
โลกในยุคที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสารสนเทศ
ในปัจจุบัน มีผลทาให้เกิดการ พัฒนาทางวัตถุมาก ขึ้นเพียงใด ประชาชนก็ดูเหมือนจะถอยห่างจากศาสนา
มากขึ้นเพียงนั้น ในศาสนาพุทธ เอง จะพบว่าจานวนพระภิกษุสามเณร ก็ลดน้อยลงเรื่อยๆ และมีแนวโน้ม
จะลดลงไปอีกในอนาคต วัดจานวนมากกลายเป็นวัดร้างเนื่องจากไม่มีพระไปจาพรรษาอยู่นอกจากนี้ ทุกศาสนา
ยังมีปัญหาในเรื่องคุณภาพของบุคลากรทางศาสนา ซึ่งพบว่าส่วนใหญ่ยัง ขาดความรู้ และทักษะในการ
สื่อสารหรือถ่ายทอดหลักคาสอนที่ถูกต้อง เพื่อสั่งสอนศาสนิกชนอย่างเหมาะสม บ่อยครั้งที่พบว่าจะมุ่งเน้น
ไปทางทาพิธีกรรมต่างๆหรือมีพฤติกรรมที่ไม่น่าเลื่อมใสศรัทธา จึงเป็นการยากที่จะจูงใจผู้คนให้ตั้งมั่นอยู่ใน
หลักคาสอนและหลักปฏิบัติของแต่ละศาสนาอย่างแท้จริงได้
๑.๓ ปัญหาเรื่องการขาดการนาหลักศาสนามาใช้ปฏิบัติในชีวิตประจาวัน ทั้งระดับบุคคล
และองค์กร
แม้จากการสารวจจะพบว่า มีคนไทยที่ระบุศาสนาของตนเองได้เป็นจานวนมาก แต่เมื่อ
สอบถามในรายละเอียดกลับพบว่าคนเหล่านี้ได้ประพฤติปฏิบัติ ตามหลักคาสอน ตลอดจนเข้าร่วมกิจกรรม
ทางศาสนาของตนเพียงเล็กน้อยและพบว่าศาสนิกชนยังมีแนวโน้มที่จะนาคาสอนในหลักศาสนาของตนมาใช้
เป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตน้อยลงเรื่อยๆ จากการสารวจของสานักงานสถิติแห่งชาติ มุสลิมจะใช้หลัก
คาสอนทางศาสนาแก้ปัญหาชีวิตและการทางานทุกครั้งสูงที่สุด คือร้อยละ ๓๓.๙รองลงมาคริสต์ศาสนิกชนร้อย
การสารวจสภาวะทางสังคม วัฒนธรรมและสุขภาพจิต พ.ศ. ๒๕๕๔สานักงานสถิติแห่งชาติ สืบค้นจาก
http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/soc-culRep54.pdf
(๓)
ละ ๒๒.๙และพุทธศาสนิกชนร้อยละ ๑๓.๖ ผลที่ตามมาจึงเห็นได้ชัดจากข่าวสารผ่านสื่อมวลชนในปัจจุบันที่
สะท้อนถึงภาพผู้คนที่ขาดศีลธรรม มีความงมงาย หลงใหลอยู่ในวัตถุนิยมและความฟุ่มเฟือย มั่วสุมในแหล่ง
อบายมุข การพนัน และการเสพยาเสพติด ฉาวโฉ่ทางกามโลกีย์ อาชญากรรมเพิ่มขึ้นนิยมการใช้ความรุนแรง
ตลอดจนมีการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างแพร่หลายในทุกมิติของสังคม ภาคประชาสังคมประสบความล้มเหลว
ในการสร้างคนให้เป็นคนดีทั้งในระดับครอบครัวและชุมชนครูและผู้ปกครองไม่สามารถใช้ชีวิตที่เป็นแบบอย่างที่ดี
แก่เยาวชนบุตรหลานและคนในครอบครัวของตนเองได้ ในชุมชนองค์กร สถานที่ทางานอาคารห้างร้านต่างๆก็
ไม่มีพื้นที่สาหรับ การปฏิบัติ กิจกรรมทางศาสนา ที่เน้นการนาหลักคาสอนทางศาสนธรรมมาปฏิบัติ ใน
ชีวิตประจาวันอย่างเหมาะสม ส่วนใหญ่จะเน้นที่พิธีกรรมตามความเชื่อเท่านั้น
นอกจากนี้ ยังพบปัญหา อีกอย่างหนึ่ง คือ แม้ในหมู่ประชาชนที่ปฏิบัติธรรมตามหลัก
ศาสนานั้น ก็ยังมิได้มีการศึกษา หลักธรรมกัน อย่างเป็นระบบ ทาให้การจะนาหลักศาสนธรรมมาปฏิบัติ
ในชีวิตประจาวันของทุกกลุ่มบุคคลยังเกิดขึ้นได้ยากนอกจากนี้ ในสถาบันการศึกษา ก็ยังแยกบทบาทของ
องค์กรศาสนาออกจากการ จัดการศึกษาอย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่น พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พุทธศักราช๒๕๔๒และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่๒ ) พุทธศักราช๒๕๔๕ในหมวด๑มาตรา๖ แม้
พระราชบัญญัติดังกล่าวจะให้ความสาคัญกับคุณธรรมจริยธรรมแต่ก็แยกออกจากหลักศาสนา อีกทั้ง การ
จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานยังขาดการกาหนดแนวทางการสอน หลักศาสนาที่ชัดเจนในทุกระดับ ชั้นขาด
แคลนครูต้นแบบที่ดี และขาดการประเมินผลสัมฤทธิ์ที่ชัดเจนอีกด้วย
๑.๔ ปัญหาเรื่องการขาดการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างศาสนิกชนของทุกศาสนา
ในปัจจุบัน นอกจากการดาเนินงานของแต่ละองค์กรศาสนา จะมีแนวโน้มที่จะนาไปสู่
วิกฤติศรัทธา ของประชาชน แล้ว ยังพบว่าความร่วมมือระหว่างองค์กรทางศาสนา ของแต่ละศาสนาก็ ยัง
ไม่เกิดขึ้นเท่าที่ควร อาจเป็นเพราะขาดองค์กรกลางในการประสานงานและสร้างความรู้ความเข้าใจระหว่างกัน
การดาเนินกิจกรรมความร่วมมือระหว่างศาสนา ยังขาดงบประมาณสนับสนุนที่เพียงพอ ศาสนิกชนในแต่ละ
ศาสนาจานวนไม่น้อยยังขาดความรู้ความเข้าใจและการปฏิบัติตนตามหลักธรรมคาสอน ทั้งของศาสนา
ตนเองและศาสนาอื่นอีกทั้งยัง อาจมีทัศนคติทางลบต่อกันระหว่างศาสนาหรือแม้แต่ในศาสนาเดียวกัน
ซึ่งอาจเกิดจากเหตุผลหลายประการดังนี้ ๑) ความแตกต่างทางพิธีกรรม ๒) ความแตกต่างทางความเชื่อ ๓)
ความแตกต่างทางเชื้อชาติและผิวพรรณ ๔ ) ความแตกต่างทางด้านคาสอน ๕ ) การนาศาสนาเข้าไป
เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ทางการเมือง ๖) การตีความหมายของคาสอนผิดเพี้ยนไปจากเดิม ๗) ผลประโยชน์
มหาศาลที่มาพร้อมกับความเลื่อมใสทางศาสนาของสาธุชน๘) การไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นของศาสนาอื่น
ที่อยู่ในชุมชนเดียวกัน ๙) พวกที่คลั่งศาสนาแต่ไม่เคร่งศาสนา
ผลที่เกิดขึ้นตามมาจากความแตกต่างระหว่างศาสนานั้น ทาให้โอกาสที่แต่ละศาสนา
จะได้เกิดการเรียนรู้ระหว่างกัน ตลอดจนการมีกิจกรรม ที่เชื่อมประสานกันจึงยังมีได้น้อย ซึ่งส่งผลให้เกิด
ราชกิจจานุเบกษา, หมวดที่๑บททั่วไปความหมายและหลักการ, (เล่มที่๑๑๖ตอนที่๗๔ก, ๑๙ สิงหาคม๒๕๔๒), หน้า
๓.
ชูวิทย์ไชยเบ้าอาจารย์ประจาโปรแกรมวิชาสังคมศึกษาความขัดแย้งทางศาสนาและแนวทางแก้ไข
(๔)
ความไม่เข้าใจกัน มากขึ้น และอาจนาไปสู่ความแตกแยก ทางความคิดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆจนถึงขั้นก่อให้เกิด
ความรุนแรงทางพฤติกรรมได้ ดังนั้นประเด็นเรื่องการขาดการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างศาสนิกชน
ของทุกศาสนา จึงเป็นอีกประเด็นปัญหาหนึ่งที่สมควรได้รับการปฏิรูป
๑.๕ ปัญหาการขาดสื่อประเภทต่างๆ และสื่อมวลชน
การเผยแผ่คาสอนตามหลักศาสนาจาเป็นต้องอาศัยการสื่อสารเป็นหลัก นอกจากสื่อสิ่งพิมพ์
ประเภทหนังสือ จุลสาร เทป วีดิทัศน์แล้ว ยังต้องใช้การสื่อสาร ที่เป็นกระแสหลักได้แก่ หนังสือพิมพ์
วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และสื่อทางเลือกประเภทสื่อออนไลน์ เคเบิลทีวี โทรทัศน์ดาวเทียมในปัจจุบัน
วัดต่างๆ เผยแผ่ศาสนาทางอินเทอร์เน็ตมากขึ้น สาหรับพุทธศาสนาจานวนเว็บไซต์ของวัดเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน
กล่าวคือในปีพ.ศ. ๒๕๔๙ มีจานวน ๗๐๙ เว็บไซต์ แต่ปีพ.ศ. ๒๕๕๒ พบว่ามีถึง ๑,๐๒๖ เว็บไซต์ อย่างไรก็ดี
พบว่าเนื้อหาที่นาเสนอยังขาดรูปแบบและเนื้อหาที่ดึงดูดความสนใจ ตลอดจนการสร้างความใส่ใจในข้อปฏิบัติ
ตามหลักศาสนธรรมยังมีน้อยและไม่ชัดเจน
โดยสรุป จึงกล่าวได้ว่า เมื่อศาสนิกชน ส่วนใหญ่ ขาดการยึดหลักศาสน ธรรมมา เป็น
แนวทางในการดาเนินชีวิตอย่างจริงจัง สถาบันศาสนาจึงถูกลดบทบาทจากการเป็นศูนย์กลาง ที่เป็นที่พึ่งพา
ทางด้านจิตใจ ของคนในสังคม องค์กรศาสนาอ่อนแอด้วยเหตุปัจจัยทั้งด้านการบริหารจัดการองค์กร
ที่โปร่งใส การเผยแผ่หลักธรรมคาสอน บุคลากรในสถาบันศาสนา ไม่ได้ทาหน้าที่ในการปลูกฝัง ถ่ายทอด
อบรมคุณธรรม จริยธรรมแก่ประชาชนอย่างจริงจัง ทาให้ขาดแบบอย่างที่ดีงามจากองค์กรศาสนา และศาสนา
ไม่สามารถยึดเหนี่ยวจิตใจคนให้ทาความดีได้ สื่อมวลชนไม่ได้ทาหน้าที่ด้วย ความรู้ความเข้าใจ ที่ถูกต้อง
ในศาสนา ผลสุดท้ายอาจทาให้ประชาชนส่วนใหญ่เกิดการมองศาสนาแต่ในแง่ลบ และไม่สามารถดึงศักยภาพ
ของพลังเชิงบวกมาแก้ปัญหา ในชีวิตประจาวัน ได้ จึงมีความจาเป็นต้องปฏิรูป ด้านศาสนา เพื่อ “ส่งเสริม
ความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม”อย่างรีบด่วนในสังคมไทย
๒. วัตถุประสงค์
เพื่อให้ได้ข้อเสนอการปฏิรูปด้านกิจการศาสนา ทั้งโครงสร้าง ระบบและการบริหารจัดการ
โดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะ๕ประการ ดังนี้
๒.๑ เพื่อพัฒนาศักยภาพขององค์กรและบุคลากรทางศาสนาทุกศาสนา
๒.๒ เพื่อส่งเสริมการ นาหลักศาสนธรรมมาเป็นหลัก ปฏิบัติในการดา เนินชีวิตประจาวัน
ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว สังคม ชุมชน และองค์กรทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน
๒.๓ เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างศาสนิกชนในทุกศาสนา
การเผยแผ่พระพุทธศาสนากับเทคโนโลยีสารสนเทศ สืบค้นจาก
http://www.phd.mbu.ac.th/index.php/2๐14-๐8-28-๐8-57-4/1๐6-2๐14-๐9-2๐-๐8-27-56
รองศาสตราจารย์ ดร.เพ็ญแข ประจนปัจจนึก (๒๕๕๑) การวิจัยเรื่อง การยกระดับคุณธรรม จริยธรรมของสังคมไทย
เพื่อการปฏิรูปสังคม : แนวทางและการปฏิบัติสานักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
(๕)
๒.๔ เพื่อพัฒนาศักยภาพของสถานศึกษาในการบูรณาการหลักศาสนธรรมในการจัดการศึกษา
ทุกระดับอย่างชัดเจนรวมทั้งให้กระทรวงศึกษาธิการกาหนดสาระการเรียนการสอนเรื่องศาสนาในหลักสูตร
และการพัฒนาบุคลากรครู
๒.๕ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของสื่อ สารมวลชนและเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการนา
หลักศาสนาที่ถูกต้องไปเผยแผ่สู่ประชาชน โดยยึดหลัก คุณธรรม จริยธรรม และศีลธรรมในการนาเสนอ
ทุกรูปแบบ
๓. ประเด็นการปฏิรูป
๓.๑ พัฒนาศักยภาพขององค์กรและบุคลากรทางศาสนาทุกศาสนาทั้งเชิงโครงสร้าง ระบบ
และการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพสูง
๓.๒ กาหนดมาตรการในการส่งเสริมการนาหลักศาสนธรรมมาเป็นหลักปฏิบัติในการดาเนิน
ชีวิตประจาวันทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว สังคม ชุมชน และองค์กรทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน
๓.๓ เสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีและยั่งยืนระหว่างศาสนาทุกศาสนา
๓.๔ พัฒนาศักยภาพของสถานศึกษาในการ บูรณาการหลักศาสนธรรมในการจัดการศึกษา
ทุกระดับอย่างชัดเจนรวมทั้งให้กระทรวงศึกษาธิการกาหนดสาระการเรียนการสอนเรื่องศาสนาในหลักสูตร
และการพัฒนาบุคลากรครู
๓.๕ ส่งเสริมบทบาทหน้าที่ของสื่อสารมวลชนและเทคโนโลยีสารสนเทศในการนาหลักศาสนา
ที่ถูกต้องไปเผยแผ่สู่ประชาชน โดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม และศีลธรรมในการนาเสนอทุกรูปแบบ
๓.๖ เปิดพื้นที่สาหรับสื่อสาธารณะและ ภาคประชาสังคมในการนาหลักคาสอนทางศาสนา
มาเสริมสร้างความเข้มแข็งและความมั่นคงในชุมชน/สังคมผ่านกิจกรรมที่เหมาะสม หลากหลาย
๓. ๗ ส่งเสริมและสนับสนุนการยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม และศีลธรรมมาใช้ในภาคธุรกิจ
เอกชน และประชาสังคมอย่างจริงจังเป็นรูปธรรม
(๖)
๔. กรอบความคิดรวบยอด
(๗)
(๘)
๕. ขอบเขตงานปฏิรูป
๕.๑ ทบทวนสถานการณ์ภาพรวมและรวบรวมประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับศาสนาทุกศาสนา
๕.๒ ทบทวนศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับศาสนาทุกศาสนา และเสนอแนวทางในการปรับปรุง
แก้ไขให้ทันยุคทันสมัย
๕.๓ กาหนดประเด็นการปฏิรูปเชิงระบบโครงสร้าง การบริหารจัดการ รวมถึงการแก้ไขปรับปรุง
กฎหมายที่เกี่ยวข้องตามความจาเป็น
๕.๔ จัดทาข้อเสนอแนวทางปฏิรูประดับหลักการและ เนื้อหาสาระสาคัญในแนวทางปฏิบัติ
ที่เป็นรูปธรรม (Operational Design)
๕.๕ สรุปรายงานการศึกษา และนาเสนอต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติ เพื่อรับฟังความเห็นและ
รับหลักการ
๕.๖ สรุปข้อเสนอแนะประกอบรายงานการศึกษาและการยกร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อเสนอ
ต่อคณะรัฐมนตรีและสภานิติบัญญัติแห่งชาติต่อไป
๖. เครือข่ายพันธมิตร
๖.๑ คณะกรรมาธิการวิสามัญประจาสภาปฏิรูปแห่งชาติ ดังต่อไปนี้
- คณะกรรมาธิการปฏิรูปค่านิยม ศิลปะ วัฒนธรรม จริยธรรมและการศาสนา
- คณะกรรมาธิการปฏิรูปสังคม ชุมชน เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส
- คณะกรรมาธิการปฏิรูปการศึกษาและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
- คณะกรรมาธิการปฏิรูปการสื่อสารมวลชนและเทคโนโลยีสารสนเทศ
- คณะกรรมาธิการปฏิรูปการปกครองท้องถิ่น
- คณะกรรมาธิการปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดิน
- คณะกรรมาธิการปฏิรูปวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย นวัตกรรมและทรัพย์สินทางปัญญา
๖.๒ ส่วนราชการส่วนกลางเช่น กระทรวงศึกษาธิการกระทรวงวัฒนธรรมกระทรวง
การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวง
มหาดไทยสานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติสานักงบประมาณสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
เป็นต้น
๖.๓ ส่วนราชการส่วนท้องถิ่น เช่น องค์การบริหารส่วนจังหวัดองค์การบริหารส่วนตาบลเป็นต้น
๖.๔ องค์กรภาคธุรกิจ
๖.๕ องค์กรทางศาสนาทุกศาสนา
๖.๖ องค์กรด้านสื่อสารมวลชน
(๙)
๗. ตัวบ่งชี้ผลสัมฤทธิ์
ในการกาหนดตัวบ่งชี้ผลสัมฤทธิ์ ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการปฏิรูปทั้ง๕ ประการ
มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
วัตถุประสงค์ที่ ๑ เพื่อพัฒนาศักยภาพขององค์กรและบุคลากรทางศาสนาทุกศาสนา
ตัวบ่งชี้ผลสัมฤทธิ์
๑) ร้อยละ ๘๐ ขององค์กรทางศาสนามีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ระบบ และ
การบริหารจัดการที่โปร่งใส สามารถประเมินและตรวจสอบได้ ภายใน ๕ ปีโดยผ่านการรับรองการตรวจ
ประเมินตามหลักเกณฑ์หรือข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องจากคณะกรรมการที่ตั้งขึ้น
๒) มีการจัดอบรมและขึ้นทะเบียนผู้สอนศาสนา หรือรวมถึงการมีองค์กรในการพิจารณา
คุณภาพ มาตรฐานของหนังสือ ตารา และเอกสารทางวิชาการด้านศาสนารวมถึงมีจานวนศาสนจารย์
ที่มีคุณภาพในการสอนศาสนาเพิ่มขึ้น
๓) เกิดกลุ่มหรือองค์กรส่งเสริมมาตรฐาน ความรู้ ความชานาญ และจริยธรรมวิชาชีพ
ของผู้เผยแผ่คาสอนศาสนาในแต่ละศาสนา
วัตถุประสงค์ที่ ๒ เพื่อส่งเสริมการ นาหลักศาสนธรรมมาเป็นหลัก ปฏิบัติในการดา เนิน
ชีวิตประจาวันทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว สังคม ชุมชน และองค์กรทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน
ตัวบ่งชี้ผลสัมฤทธิ์
๑) คนไทยมีความสามัคคี มีระเบียบวินัย มีจิตสานึกต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
ยึดหลักศาสนธรรมในการดาเนินชีวิตโดยมีตัวบ่งชี้ผลสัมฤทธิ์ ดังนี้
- คนไทยบรรลุค่านิยมและคุณธรรมที่พึงประสงค์
- ความขัดแย้งระหว่างศาสนิกชนในเรื่องสิทธิการดารงชีวิตตามวัฒนธรรม ประเพณี
ทางศาสนาของตนลดลง
๒) ครอบครัว สังคม และภาคธุรกิจมีหลักคุณธรรม จริยธรรม และใช้หลักศาสนาในการ
ดาเนินชีวิตโดยมีตัวบ่งชี้ผลสัมฤทธิ์ ดังนี้
- มีการจัดโครงการและกิจกรรมส่งเสริมการปฏิบัติศาสนกิจในองค์กรภาคส่วนต่าง ๆ
อย่างน้อยปีละ ๓ กิจกรรม (เช่น ในสถานประกอบการ สถานศึกษา หน่วยราชการ องค์กรประชาสังคม เป็นต้น)
- ศาสนิกชนในองค์กรภาคส่วนต่างๆ ได้รับสิทธิในการดารงชีวิตและการเดินทางไป
ปฏิบัติศาสนกิจตามศรัทธาจานวนเพิ่มขึ้นทุกปี
(๑๐)
วัตถุประสงค์ที่ ๓ เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างศาสนิกชนในทุกศาสนา
ตัวบ่งชี้ผลสัมฤทธิ์
- ศาสนิกชนในทุกศาสนามีความสัมพันธ์ที่ดีและมีกิจกรรมร่วมกันระหว่างศาสนาในชุมชน
อย่างน้อยปีละ ๓ กิจกรรม
วัตถุประสงค์ที่ ๔ เพื่อพัฒนาศักยภาพของสถานศึกษาในการ บูรณาการหลักศาสนธรรม
ในการจัดการศึกษาทุกระดับอย่างชัดเจนรวมทั้งให้กระทรวงศึกษาธิการกาหนดสาระการเรียนการสอน
เรื่องศาสนาในหลักสูตรและการพัฒนาบุคลากรครู
ตัวบ่งชี้ผลสัมฤทธิ์
๑) มีการกาหนดหลักศาสนธรรมทั้งด้าน หลักคาสอน และหลักปฏิบัติในการจัดการเรียน
การสอน รวมทั้งการส่งเสริมการมุ่งปฏิบัติธรรมตามหลักศาสนธรรมในโรงเรียนระดับประถมศึกษา และ
มัธยมศึกษาทุกสังกัด ร้อยละ ๑๐๐ภายใน ๓ ปี
๒) มีการเสริมกิจกรรมการปฏิบัติตามหลักคาสอนทางศาสนาอย่างต่อเนื่อง และเป็นระบบ
ในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาในทุกสถาบัน
๓) มีจานวนตาราและผลงานวิจัยด้านศาสนาที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น
๔) มี การจัดกิจกรรมอบรมเพื่อ พัฒนาบุคลากรครู ให้มีความรู้และทักษะในเรื่อง การสอน
หลักศาสนาให้เหมาะสมกับผู้เรียน
วัตถุประสงค์ที่ ๕ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของสื่อ สารมวลชนและเทคโนโลยี
สารสนเทศ ในการนาหลักศาสนาที่ถูกต้องไปเผยแผ่สู่ประชาชน โดยยึดหลัก คุณธรรม จริยธรรม และ
ศีลธรรมในการนาเสนอทุกรูปแบบ
ตัวบ่งชี้ผลสัมฤทธิ์
- มีการจัดสรรพื้นที่ เวทีประชาคมและสื่อสาธารณะ สาหรับการศึกษาและเรียนรู้ร่วมกัน
ในหลักศาสนธรรมระหว่างสื่อสารมวลชนกับชุมชน องค์กร ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน เป็นประจา
อย่างต่อเนื่อง
๘. ผลกระทบเชิงบวกในวงกว้างต่อประเทศไทย
๘.๑ คนไทยบรรลุค่านิยมและคุณธรรมที่พึงประสงค์ เป็นผู้ปฏิบัติ ตนตามหลักศาสนา
ถึงพร้อมด้วย คุณธรรมจริยธรรม ตลอดจนค่านิยมที่พึงประสงค์ ประสานเข้าเป็นแนวทางส่วนหนึ่ง ใน
(๑๑)
การทางานของทุกภาคส่วน โดยเฉพาะองค์กรทางการเมือง ทางสังคม และทางธุรกิจ ทาให้ประเทศ
และสังคมขับเคลื่อนไปในทิศทางที่ถูกต้องดีงาม
๘.๒ คนไทยทุกเชื้อชาติ ทุกศาสนา ทุกเพศ ทุกวัย ทุกสาขาอาชีพ ทุกฐานะทางสังคม
ทุกสถานภาพ มีการพัฒนาจิตใจตนเอง เสริมสร้างหลักศาสนธรรมในตนเอง หลักธรรมจะช่วยให้มีแนวทาง
ในการดาเนินชีวิตที่ถูกต้องเหมาะสม และลดปัญหาในสังคม เช่น การแตกแยกของครอบครัว การหย่าร้าง
คนจรจัด โดยเริ่มจากตนเองครอบครัวขยายสู่ทุกชุมชน และส่งผลสู่สังคมไทยในภาพรวม เป็นสังคมไทย
ที่มีความสามัคคี มีระเบียบวินัย มีศิลปะและวัฒนธรรมอันดีงาม สามารถพัฒนาให้ เจริญก้าวหน้าต่อไปได้
อย่างยั่งยืน

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

INFORMATIVO-LEGISLAÇÃO SOBRE REFORMA/CÁLCULO NA GNR
INFORMATIVO-LEGISLAÇÃO SOBRE REFORMA/CÁLCULO NA GNRINFORMATIVO-LEGISLAÇÃO SOBRE REFORMA/CÁLCULO NA GNR
INFORMATIVO-LEGISLAÇÃO SOBRE REFORMA/CÁLCULO NA GNRAgostinho Pinto
 
Nghĩa vụ cấp dưỡng của cha mẹ đối với con khi ly hôn lý luận và th...
Nghĩa vụ cấp dưỡng của cha mẹ đối với con khi ly hôn lý luận và th...Nghĩa vụ cấp dưỡng của cha mẹ đối với con khi ly hôn lý luận và th...
Nghĩa vụ cấp dưỡng của cha mẹ đối với con khi ly hôn lý luận và th...hieu anh
 

Was ist angesagt? (20)

Đề tài: Kê biên quyền sử dụng đất trong thi hành án dân sự, HOT
Đề tài: Kê biên quyền sử dụng đất trong thi hành án dân sự, HOTĐề tài: Kê biên quyền sử dụng đất trong thi hành án dân sự, HOT
Đề tài: Kê biên quyền sử dụng đất trong thi hành án dân sự, HOT
 
Luận văn: Pháp luật về bảo hiểm thất nghiệp tỉnh Bắc Ninh, HAY
Luận văn: Pháp luật về bảo hiểm thất nghiệp tỉnh Bắc Ninh, HAYLuận văn: Pháp luật về bảo hiểm thất nghiệp tỉnh Bắc Ninh, HAY
Luận văn: Pháp luật về bảo hiểm thất nghiệp tỉnh Bắc Ninh, HAY
 
Đề tài: Bán đấu giá tài sản trong thi hành án dân sự ở Vĩnh Phúc
Đề tài: Bán đấu giá tài sản trong thi hành án dân sự ở Vĩnh PhúcĐề tài: Bán đấu giá tài sản trong thi hành án dân sự ở Vĩnh Phúc
Đề tài: Bán đấu giá tài sản trong thi hành án dân sự ở Vĩnh Phúc
 
INFORMATIVO-LEGISLAÇÃO SOBRE REFORMA/CÁLCULO NA GNR
INFORMATIVO-LEGISLAÇÃO SOBRE REFORMA/CÁLCULO NA GNRINFORMATIVO-LEGISLAÇÃO SOBRE REFORMA/CÁLCULO NA GNR
INFORMATIVO-LEGISLAÇÃO SOBRE REFORMA/CÁLCULO NA GNR
 
Luận án: Thực hành quyền công tố trong điều tra các tội giết người
Luận án: Thực hành quyền công tố trong điều tra các tội giết ngườiLuận án: Thực hành quyền công tố trong điều tra các tội giết người
Luận án: Thực hành quyền công tố trong điều tra các tội giết người
 
Đánh giá công chức các cơ quan thuộc UBND quận Bình Tân, HOT
Đánh giá công chức các cơ quan thuộc UBND quận Bình Tân, HOTĐánh giá công chức các cơ quan thuộc UBND quận Bình Tân, HOT
Đánh giá công chức các cơ quan thuộc UBND quận Bình Tân, HOT
 
Đề tài: Bảo đảm quyền con người của phạm nhân theo pháp luật
Đề tài: Bảo đảm quyền con người của phạm nhân theo pháp luậtĐề tài: Bảo đảm quyền con người của phạm nhân theo pháp luật
Đề tài: Bảo đảm quyền con người của phạm nhân theo pháp luật
 
Luận văn: Chế độ hưu trí theo Luật bảo hiểm xã hội năm 2014
Luận văn: Chế độ hưu trí theo Luật bảo hiểm xã hội năm 2014Luận văn: Chế độ hưu trí theo Luật bảo hiểm xã hội năm 2014
Luận văn: Chế độ hưu trí theo Luật bảo hiểm xã hội năm 2014
 
Luận văn: Ưu đãi xã hội theo pháp luật Việt Nam tại Đà Nẵng, HOT
Luận văn: Ưu đãi xã hội theo pháp luật Việt Nam tại Đà Nẵng, HOTLuận văn: Ưu đãi xã hội theo pháp luật Việt Nam tại Đà Nẵng, HOT
Luận văn: Ưu đãi xã hội theo pháp luật Việt Nam tại Đà Nẵng, HOT
 
Vai trò của tổ chức công đoàn trong bảo vệ quyền người lao động
Vai trò của tổ chức công đoàn trong bảo vệ quyền người lao độngVai trò của tổ chức công đoàn trong bảo vệ quyền người lao động
Vai trò của tổ chức công đoàn trong bảo vệ quyền người lao động
 
Luận văn: Quyền của lao động nữ làm việc tại các khu công nghiệp
Luận văn: Quyền của lao động nữ làm việc tại các khu công nghiệpLuận văn: Quyền của lao động nữ làm việc tại các khu công nghiệp
Luận văn: Quyền của lao động nữ làm việc tại các khu công nghiệp
 
Luận văn: Hợp đồng lao động giúp việc gia đình theo pháp luật
Luận văn: Hợp đồng lao động giúp việc gia đình theo pháp luậtLuận văn: Hợp đồng lao động giúp việc gia đình theo pháp luật
Luận văn: Hợp đồng lao động giúp việc gia đình theo pháp luật
 
Luận văn: Tổ chức hoạt động của Hội đồng nhân dân tỉnh, HOT
Luận văn: Tổ chức hoạt động của Hội đồng nhân dân tỉnh, HOTLuận văn: Tổ chức hoạt động của Hội đồng nhân dân tỉnh, HOT
Luận văn: Tổ chức hoạt động của Hội đồng nhân dân tỉnh, HOT
 
Luận văn: Kê biên tài sản trong thi hành án dân sự theo Luật thi hành án dân ...
Luận văn: Kê biên tài sản trong thi hành án dân sự theo Luật thi hành án dân ...Luận văn: Kê biên tài sản trong thi hành án dân sự theo Luật thi hành án dân ...
Luận văn: Kê biên tài sản trong thi hành án dân sự theo Luật thi hành án dân ...
 
Luận văn: Quản lý Nhà nước về giải quyết việc làm cho thanh niên
Luận văn: Quản lý Nhà nước về giải quyết việc làm cho thanh niênLuận văn: Quản lý Nhà nước về giải quyết việc làm cho thanh niên
Luận văn: Quản lý Nhà nước về giải quyết việc làm cho thanh niên
 
Luận văn: Hình thức kỷ luật lao động theo pháp luật Việt Nam
Luận văn: Hình thức kỷ luật lao động theo pháp luật Việt NamLuận văn: Hình thức kỷ luật lao động theo pháp luật Việt Nam
Luận văn: Hình thức kỷ luật lao động theo pháp luật Việt Nam
 
Nghĩa vụ cấp dưỡng của cha mẹ đối với con khi ly hôn lý luận và th...
Nghĩa vụ cấp dưỡng của cha mẹ đối với con khi ly hôn lý luận và th...Nghĩa vụ cấp dưỡng của cha mẹ đối với con khi ly hôn lý luận và th...
Nghĩa vụ cấp dưỡng của cha mẹ đối với con khi ly hôn lý luận và th...
 
Chất lượng đội ngũ cán bộ chủ chốt cấp phường ở quận Gò Vấp
Chất lượng đội ngũ cán bộ chủ chốt cấp phường ở quận Gò VấpChất lượng đội ngũ cán bộ chủ chốt cấp phường ở quận Gò Vấp
Chất lượng đội ngũ cán bộ chủ chốt cấp phường ở quận Gò Vấp
 
Luận án: Xây dựng đội ngũ cán bộ dân tộc thiểu số tại Đắk Lắk
Luận án: Xây dựng đội ngũ cán bộ dân tộc thiểu số tại Đắk LắkLuận án: Xây dựng đội ngũ cán bộ dân tộc thiểu số tại Đắk Lắk
Luận án: Xây dựng đội ngũ cán bộ dân tộc thiểu số tại Đắk Lắk
 
Luận án: Tổ chức và hoạt động của chính quyền huyện tại TP Hà Nội
Luận án: Tổ chức và hoạt động của chính quyền huyện tại TP Hà NộiLuận án: Tổ chức và hoạt động của chính quyền huyện tại TP Hà Nội
Luận án: Tổ chức và hoạt động của chính quyền huyện tại TP Hà Nội
 

Andere mochten auch

การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองTaraya Srivilas
 
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือจากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือTaraya Srivilas
 
การปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็น
การปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็นการปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็น
การปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็นTaraya Srivilas
 
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.Taraya Srivilas
 
ฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุง
ฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุงฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุง
ฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุงTaraya Srivilas
 
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานีTaraya Srivilas
 
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยพุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1Taraya Srivilas
 
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันรายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันTaraya Srivilas
 
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...Taraya Srivilas
 
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-599. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนีบทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนีTaraya Srivilas
 
เนื้อใน สันติสุข-New
เนื้อใน สันติสุข-Newเนื้อใน สันติสุข-New
เนื้อใน สันติสุข-NewTaraya Srivilas
 
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมืองความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมืองTaraya Srivilas
 
iร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญiร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญTaraya Srivilas
 
อิสราเอล ปาเลสไตน์
อิสราเอล  ปาเลสไตน์อิสราเอล  ปาเลสไตน์
อิสราเอล ปาเลสไตน์Taraya Srivilas
 
กล้า ทำ ดี 1(1)
กล้า ทำ ดี 1(1)กล้า ทำ ดี 1(1)
กล้า ทำ ดี 1(1)Taraya Srivilas
 

Andere mochten auch (20)

การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
 
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือจากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
 
การปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็น
การปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็นการปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็น
การปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็น
 
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
 
ฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุง
ฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุงฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุง
ฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุง
 
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
 
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยพุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
 
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
 
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันรายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
 
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
 
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-599. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนีบทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
 
เนื้อใน สันติสุข-New
เนื้อใน สันติสุข-Newเนื้อใน สันติสุข-New
เนื้อใน สันติสุข-New
 
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมืองความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
 
Framework 4ส6
Framework 4ส6Framework 4ส6
Framework 4ส6
 
iร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญiร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญ
 
อิสราเอล ปาเลสไตน์
อิสราเอล  ปาเลสไตน์อิสราเอล  ปาเลสไตน์
อิสราเอล ปาเลสไตน์
 
Thai civic org
Thai civic orgThai civic org
Thai civic org
 
กล้า ทำ ดี 1(1)
กล้า ทำ ดี 1(1)กล้า ทำ ดี 1(1)
กล้า ทำ ดี 1(1)
 

Ähnlich wie ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม

ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมTaraya Srivilas
 
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมTaraya Srivilas
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมBoonlert Aroonpiboon
 
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทยniralai
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai7515
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งpentanino
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101spk906
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานีTaraya Srivilas
 
33 พระมหามาติณ ถีนิติ
33 พระมหามาติณ ถีนิติ33 พระมหามาติณ ถีนิติ
33 พระมหามาติณ ถีนิติMartin Trinity
 
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2Satheinna Khetmanedaja
 
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิงniralai
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีPa'rig Prig
 
Cheet5 curriculam
Cheet5 curriculamCheet5 curriculam
Cheet5 curriculamZTu Zii ICe
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3Ch Khankluay
 
33 พระมหามาติณ ถีนิติ 1
33 พระมหามาติณ ถีนิติ 133 พระมหามาติณ ถีนิติ 1
33 พระมหามาติณ ถีนิติ 1Martin Trinity
 
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณบทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณPadvee Academy
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยbabyoam
 
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้นพรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้นสายฝน ต๊ะวันนา
 

Ähnlich wie ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม (20)

ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
 
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานี
 
33 พระมหามาติณ ถีนิติ
33 พระมหามาติณ ถีนิติ33 พระมหามาติณ ถีนิติ
33 พระมหามาติณ ถีนิติ
 
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
 
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
 
Cheet5 curriculam
Cheet5 curriculamCheet5 curriculam
Cheet5 curriculam
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
33 พระมหามาติณ ถีนิติ 1
33 พระมหามาติณ ถีนิติ 133 พระมหามาติณ ถีนิติ 1
33 พระมหามาติณ ถีนิติ 1
 
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณบทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
 
ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้นพรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
 

Mehr von Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

Mehr von Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม

  • 1. แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระการปฏิรูป(Blueprint for Change) วาระการปฏิรูป ลาดับที่ ๓๖ “ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม” ๑. ประเด็นปัญหา ศาสนาเป็นสถาบันที่สาคัญอยู่คู่กับประเทศไทยมาช้านานเป็นสถาบันหลักของชาติคือเป็นหนึ่ง ในสามขององค์ประกอบ “ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์”โดยมีศาสนาพุทธเป็นศาสนาที่ประชาชนชาวไทย ส่วนใหญ่นับถือมากที่สุดมาเป็นเวลาช้านานโดยสานักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้ทาการสารวจ ประชากรอายุ๑๓ปีขึ้นไป พบว่า คนไทยนับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ๙๔.๖ศาสนาอิสลามร้อยละ ๔.๖ ศาสนาคริสต์ ร้อยละ ๐.๗ ที่เหลือคือนับถือศาสนาอื่นๆ และไม่มีศาสนา ตลอดกาลเวลาที่ผ่านมาพุทธศาสนาได้ผสมกลมกลืน อยู่ในศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของผู้คน หล่อหลอมอัตลักษณ์แห่งความเป็นพลเมืองผู้มีน้าใจอันดีงามและ รักสันติมาอย่างยาวนาน แต่สภาพสังคมไทยในปัจจุบันมีการพัฒนาทางด้านวัตถุอย่างมากมายก่อให้เกิดสภาวะแวดล้อม ที่ไม่เอื้อต่อการเสริมสร้างศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และการนาหลักศาสนธรรมไปปฏิบัติในหมู่ชนส่วนใหญ่ ซึ่งเห็นได้ชัดจากข่าวสารผ่าน สื่อมวลชนทุกวันนี้ที่สะท้อนภาพผู้คนที่ขาดศีลธรรม หลงใหลอยู่ในวัตถุนิยม ความฟุ่มเฟือย แหล่งอบายมุขหลายประเภท ขาดจิตสานึกในหลักศาสนา มีพฤติกรรมทุจริตประพฤติมิชอบ อย่างแพร่หลายโดยขาดความละอายต่อบาป เกิดขึ้นเกือบจะ ในทุกมิติของสังคม ภาคประชาสังคมประสบ ความล้มเหลวในการสร้างคนให้เป็นคนดีทั้งในระดับครอบครัวและชุมชนประกอบกับกระแสการเปลี่ยนแปลง ของโลกที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในยุคโลกาภิวัตน์นี้ ได้ส่งผลกระทบต่อสังคมไทย ในภาพรวมอย่างมหาศาล ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมก่อให้เกิดการแก่งแย่งแข่งขันกันอย่างสูงทาให้คนไทยหลงใหลในวัตถุนิยม ไม่ยึดหลัก ความพอเพียงในชีวิต องค์กรและบุคลากรทางศาสนา ก็หลีกเลี่ยงไม่พ้น จึงมีปัญหาในการปรับตัวอย่างมาก ในสังคมโลกปัจจุบันก่อให้เกิดการเสื่อมถอยและวิกฤติศรัทธาในหมู่ประชาชนเพิ่มขึ้นศาสนิกชนในแต่ละศาสนา ขาดความรู้ความเข้าใจในหลักศาสนาของตนอย่างแท้จริง รวมทั้งขาดความเข้าใจในศาสนาอื่น สื่อมวลชนยังมี บทบาทน้อยและขาดความรู้ความเข้า ในการให้ข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับศาสนาที่ถูกต้องครบถ้วน มีผลทาให้ สังคมเกิดปัญหาอย่างมากมายในด้านศีลธรรมและคุณธรรมบุคคลทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทุกวัย ขาดการนาหลักศา สนธรรมไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิตประจาวันอย่างเพียงพอ การสารวจสภาวะทางสังคม วัฒนธรรมและสุขภาพจิต พ.ศ. ๒๕๕๔ สานักงานสถิติแห่งชาติ สืบค้นจาก http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/soc-culRep54.pdf
  • 2. (๒) กล่าวโดยสรุป อาจจาแนกประเด็นปัญหาที่เกี่ยวกับศาสนาที่สาคัญๆได้เป็น ๕ ประเด็น ดังต่อไปนี้ ๑.๑ ปัญหาเรื่องความเข้มแข็งขององค์กรศาสนา หากเปรียบสังคมเสมือนกงล้อที่มีสถาบันทางสังคมต่างๆ ร่วมกันขับเคลื่อน สังคมนั้น “สถาบันศาสนา” ก็คือแกนหลักที่เชื่อมโยงยึดเหนี่ยวสถาบันอื่นๆ เข้าด้วยกันมาแต่โบราณกาล โดยเฉพาะ สังคมไทยที่มี “วัด” เป็นศูนย์กลางในการดาเนินชีวิตของผู้คนในแต่ละชุมชนอย่างแน่นแฟ้น แต่ในปัจจุบัน พบว่าสถาบันศาสนากลับค่อยๆ ลดบทบาทลง อย่างมาก ทุกศาสนาประสบปัญหาการดาเนินการภายใน องค์กรศาสนาเองอันเนื่องมาจากกฎระเบียบที่ไม่ได้รับการ ปรับปรุงแก้ไขให้สอดรับกับ สภาพการณ์ของ สังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน อีก ทั้งยังมีปัญหาอุปสรรคในด้านการบังคับใช้กฎหมาย และ การบริหารจัดการ ภายในองค์กรทางศาสนา แต่ละแห่ง ที่อาจมีปัญหาสะสมมาเป็นเวลานานจึงมีผล ทาให้ สูญเสียภาพลักษณ์ขององค์กรที่ผู้คนนับถืออย่างสูงส่งในอดีต รวมทั้งสูญเสียบทบาทในการเป็นที่พึ่งพา และ เป็นหลักยึดเหนี่ยวทางด้านจิตใจของมหาชน ๑.๒ ปัญหาเรื่องบุคลากรทางศาสนา โลกในยุคที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสารสนเทศ ในปัจจุบัน มีผลทาให้เกิดการ พัฒนาทางวัตถุมาก ขึ้นเพียงใด ประชาชนก็ดูเหมือนจะถอยห่างจากศาสนา มากขึ้นเพียงนั้น ในศาสนาพุทธ เอง จะพบว่าจานวนพระภิกษุสามเณร ก็ลดน้อยลงเรื่อยๆ และมีแนวโน้ม จะลดลงไปอีกในอนาคต วัดจานวนมากกลายเป็นวัดร้างเนื่องจากไม่มีพระไปจาพรรษาอยู่นอกจากนี้ ทุกศาสนา ยังมีปัญหาในเรื่องคุณภาพของบุคลากรทางศาสนา ซึ่งพบว่าส่วนใหญ่ยัง ขาดความรู้ และทักษะในการ สื่อสารหรือถ่ายทอดหลักคาสอนที่ถูกต้อง เพื่อสั่งสอนศาสนิกชนอย่างเหมาะสม บ่อยครั้งที่พบว่าจะมุ่งเน้น ไปทางทาพิธีกรรมต่างๆหรือมีพฤติกรรมที่ไม่น่าเลื่อมใสศรัทธา จึงเป็นการยากที่จะจูงใจผู้คนให้ตั้งมั่นอยู่ใน หลักคาสอนและหลักปฏิบัติของแต่ละศาสนาอย่างแท้จริงได้ ๑.๓ ปัญหาเรื่องการขาดการนาหลักศาสนามาใช้ปฏิบัติในชีวิตประจาวัน ทั้งระดับบุคคล และองค์กร แม้จากการสารวจจะพบว่า มีคนไทยที่ระบุศาสนาของตนเองได้เป็นจานวนมาก แต่เมื่อ สอบถามในรายละเอียดกลับพบว่าคนเหล่านี้ได้ประพฤติปฏิบัติ ตามหลักคาสอน ตลอดจนเข้าร่วมกิจกรรม ทางศาสนาของตนเพียงเล็กน้อยและพบว่าศาสนิกชนยังมีแนวโน้มที่จะนาคาสอนในหลักศาสนาของตนมาใช้ เป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตน้อยลงเรื่อยๆ จากการสารวจของสานักงานสถิติแห่งชาติ มุสลิมจะใช้หลัก คาสอนทางศาสนาแก้ปัญหาชีวิตและการทางานทุกครั้งสูงที่สุด คือร้อยละ ๓๓.๙รองลงมาคริสต์ศาสนิกชนร้อย การสารวจสภาวะทางสังคม วัฒนธรรมและสุขภาพจิต พ.ศ. ๒๕๕๔สานักงานสถิติแห่งชาติ สืบค้นจาก http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/soc-culRep54.pdf
  • 3. (๓) ละ ๒๒.๙และพุทธศาสนิกชนร้อยละ ๑๓.๖ ผลที่ตามมาจึงเห็นได้ชัดจากข่าวสารผ่านสื่อมวลชนในปัจจุบันที่ สะท้อนถึงภาพผู้คนที่ขาดศีลธรรม มีความงมงาย หลงใหลอยู่ในวัตถุนิยมและความฟุ่มเฟือย มั่วสุมในแหล่ง อบายมุข การพนัน และการเสพยาเสพติด ฉาวโฉ่ทางกามโลกีย์ อาชญากรรมเพิ่มขึ้นนิยมการใช้ความรุนแรง ตลอดจนมีการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างแพร่หลายในทุกมิติของสังคม ภาคประชาสังคมประสบความล้มเหลว ในการสร้างคนให้เป็นคนดีทั้งในระดับครอบครัวและชุมชนครูและผู้ปกครองไม่สามารถใช้ชีวิตที่เป็นแบบอย่างที่ดี แก่เยาวชนบุตรหลานและคนในครอบครัวของตนเองได้ ในชุมชนองค์กร สถานที่ทางานอาคารห้างร้านต่างๆก็ ไม่มีพื้นที่สาหรับ การปฏิบัติ กิจกรรมทางศาสนา ที่เน้นการนาหลักคาสอนทางศาสนธรรมมาปฏิบัติ ใน ชีวิตประจาวันอย่างเหมาะสม ส่วนใหญ่จะเน้นที่พิธีกรรมตามความเชื่อเท่านั้น นอกจากนี้ ยังพบปัญหา อีกอย่างหนึ่ง คือ แม้ในหมู่ประชาชนที่ปฏิบัติธรรมตามหลัก ศาสนานั้น ก็ยังมิได้มีการศึกษา หลักธรรมกัน อย่างเป็นระบบ ทาให้การจะนาหลักศาสนธรรมมาปฏิบัติ ในชีวิตประจาวันของทุกกลุ่มบุคคลยังเกิดขึ้นได้ยากนอกจากนี้ ในสถาบันการศึกษา ก็ยังแยกบทบาทของ องค์กรศาสนาออกจากการ จัดการศึกษาอย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่น พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช๒๕๔๒และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่๒ ) พุทธศักราช๒๕๔๕ในหมวด๑มาตรา๖ แม้ พระราชบัญญัติดังกล่าวจะให้ความสาคัญกับคุณธรรมจริยธรรมแต่ก็แยกออกจากหลักศาสนา อีกทั้ง การ จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานยังขาดการกาหนดแนวทางการสอน หลักศาสนาที่ชัดเจนในทุกระดับ ชั้นขาด แคลนครูต้นแบบที่ดี และขาดการประเมินผลสัมฤทธิ์ที่ชัดเจนอีกด้วย ๑.๔ ปัญหาเรื่องการขาดการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างศาสนิกชนของทุกศาสนา ในปัจจุบัน นอกจากการดาเนินงานของแต่ละองค์กรศาสนา จะมีแนวโน้มที่จะนาไปสู่ วิกฤติศรัทธา ของประชาชน แล้ว ยังพบว่าความร่วมมือระหว่างองค์กรทางศาสนา ของแต่ละศาสนาก็ ยัง ไม่เกิดขึ้นเท่าที่ควร อาจเป็นเพราะขาดองค์กรกลางในการประสานงานและสร้างความรู้ความเข้าใจระหว่างกัน การดาเนินกิจกรรมความร่วมมือระหว่างศาสนา ยังขาดงบประมาณสนับสนุนที่เพียงพอ ศาสนิกชนในแต่ละ ศาสนาจานวนไม่น้อยยังขาดความรู้ความเข้าใจและการปฏิบัติตนตามหลักธรรมคาสอน ทั้งของศาสนา ตนเองและศาสนาอื่นอีกทั้งยัง อาจมีทัศนคติทางลบต่อกันระหว่างศาสนาหรือแม้แต่ในศาสนาเดียวกัน ซึ่งอาจเกิดจากเหตุผลหลายประการดังนี้ ๑) ความแตกต่างทางพิธีกรรม ๒) ความแตกต่างทางความเชื่อ ๓) ความแตกต่างทางเชื้อชาติและผิวพรรณ ๔ ) ความแตกต่างทางด้านคาสอน ๕ ) การนาศาสนาเข้าไป เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ทางการเมือง ๖) การตีความหมายของคาสอนผิดเพี้ยนไปจากเดิม ๗) ผลประโยชน์ มหาศาลที่มาพร้อมกับความเลื่อมใสทางศาสนาของสาธุชน๘) การไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นของศาสนาอื่น ที่อยู่ในชุมชนเดียวกัน ๙) พวกที่คลั่งศาสนาแต่ไม่เคร่งศาสนา ผลที่เกิดขึ้นตามมาจากความแตกต่างระหว่างศาสนานั้น ทาให้โอกาสที่แต่ละศาสนา จะได้เกิดการเรียนรู้ระหว่างกัน ตลอดจนการมีกิจกรรม ที่เชื่อมประสานกันจึงยังมีได้น้อย ซึ่งส่งผลให้เกิด ราชกิจจานุเบกษา, หมวดที่๑บททั่วไปความหมายและหลักการ, (เล่มที่๑๑๖ตอนที่๗๔ก, ๑๙ สิงหาคม๒๕๔๒), หน้า ๓. ชูวิทย์ไชยเบ้าอาจารย์ประจาโปรแกรมวิชาสังคมศึกษาความขัดแย้งทางศาสนาและแนวทางแก้ไข
  • 4. (๔) ความไม่เข้าใจกัน มากขึ้น และอาจนาไปสู่ความแตกแยก ทางความคิดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆจนถึงขั้นก่อให้เกิด ความรุนแรงทางพฤติกรรมได้ ดังนั้นประเด็นเรื่องการขาดการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างศาสนิกชน ของทุกศาสนา จึงเป็นอีกประเด็นปัญหาหนึ่งที่สมควรได้รับการปฏิรูป ๑.๕ ปัญหาการขาดสื่อประเภทต่างๆ และสื่อมวลชน การเผยแผ่คาสอนตามหลักศาสนาจาเป็นต้องอาศัยการสื่อสารเป็นหลัก นอกจากสื่อสิ่งพิมพ์ ประเภทหนังสือ จุลสาร เทป วีดิทัศน์แล้ว ยังต้องใช้การสื่อสาร ที่เป็นกระแสหลักได้แก่ หนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และสื่อทางเลือกประเภทสื่อออนไลน์ เคเบิลทีวี โทรทัศน์ดาวเทียมในปัจจุบัน วัดต่างๆ เผยแผ่ศาสนาทางอินเทอร์เน็ตมากขึ้น สาหรับพุทธศาสนาจานวนเว็บไซต์ของวัดเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน กล่าวคือในปีพ.ศ. ๒๕๔๙ มีจานวน ๗๐๙ เว็บไซต์ แต่ปีพ.ศ. ๒๕๕๒ พบว่ามีถึง ๑,๐๒๖ เว็บไซต์ อย่างไรก็ดี พบว่าเนื้อหาที่นาเสนอยังขาดรูปแบบและเนื้อหาที่ดึงดูดความสนใจ ตลอดจนการสร้างความใส่ใจในข้อปฏิบัติ ตามหลักศาสนธรรมยังมีน้อยและไม่ชัดเจน โดยสรุป จึงกล่าวได้ว่า เมื่อศาสนิกชน ส่วนใหญ่ ขาดการยึดหลักศาสน ธรรมมา เป็น แนวทางในการดาเนินชีวิตอย่างจริงจัง สถาบันศาสนาจึงถูกลดบทบาทจากการเป็นศูนย์กลาง ที่เป็นที่พึ่งพา ทางด้านจิตใจ ของคนในสังคม องค์กรศาสนาอ่อนแอด้วยเหตุปัจจัยทั้งด้านการบริหารจัดการองค์กร ที่โปร่งใส การเผยแผ่หลักธรรมคาสอน บุคลากรในสถาบันศาสนา ไม่ได้ทาหน้าที่ในการปลูกฝัง ถ่ายทอด อบรมคุณธรรม จริยธรรมแก่ประชาชนอย่างจริงจัง ทาให้ขาดแบบอย่างที่ดีงามจากองค์กรศาสนา และศาสนา ไม่สามารถยึดเหนี่ยวจิตใจคนให้ทาความดีได้ สื่อมวลชนไม่ได้ทาหน้าที่ด้วย ความรู้ความเข้าใจ ที่ถูกต้อง ในศาสนา ผลสุดท้ายอาจทาให้ประชาชนส่วนใหญ่เกิดการมองศาสนาแต่ในแง่ลบ และไม่สามารถดึงศักยภาพ ของพลังเชิงบวกมาแก้ปัญหา ในชีวิตประจาวัน ได้ จึงมีความจาเป็นต้องปฏิรูป ด้านศาสนา เพื่อ “ส่งเสริม ความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม”อย่างรีบด่วนในสังคมไทย ๒. วัตถุประสงค์ เพื่อให้ได้ข้อเสนอการปฏิรูปด้านกิจการศาสนา ทั้งโครงสร้าง ระบบและการบริหารจัดการ โดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะ๕ประการ ดังนี้ ๒.๑ เพื่อพัฒนาศักยภาพขององค์กรและบุคลากรทางศาสนาทุกศาสนา ๒.๒ เพื่อส่งเสริมการ นาหลักศาสนธรรมมาเป็นหลัก ปฏิบัติในการดา เนินชีวิตประจาวัน ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว สังคม ชุมชน และองค์กรทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน ๒.๓ เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างศาสนิกชนในทุกศาสนา การเผยแผ่พระพุทธศาสนากับเทคโนโลยีสารสนเทศ สืบค้นจาก http://www.phd.mbu.ac.th/index.php/2๐14-๐8-28-๐8-57-4/1๐6-2๐14-๐9-2๐-๐8-27-56 รองศาสตราจารย์ ดร.เพ็ญแข ประจนปัจจนึก (๒๕๕๑) การวิจัยเรื่อง การยกระดับคุณธรรม จริยธรรมของสังคมไทย เพื่อการปฏิรูปสังคม : แนวทางและการปฏิบัติสานักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
  • 5. (๕) ๒.๔ เพื่อพัฒนาศักยภาพของสถานศึกษาในการบูรณาการหลักศาสนธรรมในการจัดการศึกษา ทุกระดับอย่างชัดเจนรวมทั้งให้กระทรวงศึกษาธิการกาหนดสาระการเรียนการสอนเรื่องศาสนาในหลักสูตร และการพัฒนาบุคลากรครู ๒.๕ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของสื่อ สารมวลชนและเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการนา หลักศาสนาที่ถูกต้องไปเผยแผ่สู่ประชาชน โดยยึดหลัก คุณธรรม จริยธรรม และศีลธรรมในการนาเสนอ ทุกรูปแบบ ๓. ประเด็นการปฏิรูป ๓.๑ พัฒนาศักยภาพขององค์กรและบุคลากรทางศาสนาทุกศาสนาทั้งเชิงโครงสร้าง ระบบ และการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพสูง ๓.๒ กาหนดมาตรการในการส่งเสริมการนาหลักศาสนธรรมมาเป็นหลักปฏิบัติในการดาเนิน ชีวิตประจาวันทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว สังคม ชุมชน และองค์กรทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน ๓.๓ เสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีและยั่งยืนระหว่างศาสนาทุกศาสนา ๓.๔ พัฒนาศักยภาพของสถานศึกษาในการ บูรณาการหลักศาสนธรรมในการจัดการศึกษา ทุกระดับอย่างชัดเจนรวมทั้งให้กระทรวงศึกษาธิการกาหนดสาระการเรียนการสอนเรื่องศาสนาในหลักสูตร และการพัฒนาบุคลากรครู ๓.๕ ส่งเสริมบทบาทหน้าที่ของสื่อสารมวลชนและเทคโนโลยีสารสนเทศในการนาหลักศาสนา ที่ถูกต้องไปเผยแผ่สู่ประชาชน โดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม และศีลธรรมในการนาเสนอทุกรูปแบบ ๓.๖ เปิดพื้นที่สาหรับสื่อสาธารณะและ ภาคประชาสังคมในการนาหลักคาสอนทางศาสนา มาเสริมสร้างความเข้มแข็งและความมั่นคงในชุมชน/สังคมผ่านกิจกรรมที่เหมาะสม หลากหลาย ๓. ๗ ส่งเสริมและสนับสนุนการยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม และศีลธรรมมาใช้ในภาคธุรกิจ เอกชน และประชาสังคมอย่างจริงจังเป็นรูปธรรม
  • 8. (๘) ๕. ขอบเขตงานปฏิรูป ๕.๑ ทบทวนสถานการณ์ภาพรวมและรวบรวมประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับศาสนาทุกศาสนา ๕.๒ ทบทวนศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับศาสนาทุกศาสนา และเสนอแนวทางในการปรับปรุง แก้ไขให้ทันยุคทันสมัย ๕.๓ กาหนดประเด็นการปฏิรูปเชิงระบบโครงสร้าง การบริหารจัดการ รวมถึงการแก้ไขปรับปรุง กฎหมายที่เกี่ยวข้องตามความจาเป็น ๕.๔ จัดทาข้อเสนอแนวทางปฏิรูประดับหลักการและ เนื้อหาสาระสาคัญในแนวทางปฏิบัติ ที่เป็นรูปธรรม (Operational Design) ๕.๕ สรุปรายงานการศึกษา และนาเสนอต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติ เพื่อรับฟังความเห็นและ รับหลักการ ๕.๖ สรุปข้อเสนอแนะประกอบรายงานการศึกษาและการยกร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อเสนอ ต่อคณะรัฐมนตรีและสภานิติบัญญัติแห่งชาติต่อไป ๖. เครือข่ายพันธมิตร ๖.๑ คณะกรรมาธิการวิสามัญประจาสภาปฏิรูปแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ - คณะกรรมาธิการปฏิรูปค่านิยม ศิลปะ วัฒนธรรม จริยธรรมและการศาสนา - คณะกรรมาธิการปฏิรูปสังคม ชุมชน เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส - คณะกรรมาธิการปฏิรูปการศึกษาและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ - คณะกรรมาธิการปฏิรูปการสื่อสารมวลชนและเทคโนโลยีสารสนเทศ - คณะกรรมาธิการปฏิรูปการปกครองท้องถิ่น - คณะกรรมาธิการปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดิน - คณะกรรมาธิการปฏิรูปวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย นวัตกรรมและทรัพย์สินทางปัญญา ๖.๒ ส่วนราชการส่วนกลางเช่น กระทรวงศึกษาธิการกระทรวงวัฒนธรรมกระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวง มหาดไทยสานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติสานักงบประมาณสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) เป็นต้น ๖.๓ ส่วนราชการส่วนท้องถิ่น เช่น องค์การบริหารส่วนจังหวัดองค์การบริหารส่วนตาบลเป็นต้น ๖.๔ องค์กรภาคธุรกิจ ๖.๕ องค์กรทางศาสนาทุกศาสนา ๖.๖ องค์กรด้านสื่อสารมวลชน
  • 9. (๙) ๗. ตัวบ่งชี้ผลสัมฤทธิ์ ในการกาหนดตัวบ่งชี้ผลสัมฤทธิ์ ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการปฏิรูปทั้ง๕ ประการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ วัตถุประสงค์ที่ ๑ เพื่อพัฒนาศักยภาพขององค์กรและบุคลากรทางศาสนาทุกศาสนา ตัวบ่งชี้ผลสัมฤทธิ์ ๑) ร้อยละ ๘๐ ขององค์กรทางศาสนามีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ระบบ และ การบริหารจัดการที่โปร่งใส สามารถประเมินและตรวจสอบได้ ภายใน ๕ ปีโดยผ่านการรับรองการตรวจ ประเมินตามหลักเกณฑ์หรือข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องจากคณะกรรมการที่ตั้งขึ้น ๒) มีการจัดอบรมและขึ้นทะเบียนผู้สอนศาสนา หรือรวมถึงการมีองค์กรในการพิจารณา คุณภาพ มาตรฐานของหนังสือ ตารา และเอกสารทางวิชาการด้านศาสนารวมถึงมีจานวนศาสนจารย์ ที่มีคุณภาพในการสอนศาสนาเพิ่มขึ้น ๓) เกิดกลุ่มหรือองค์กรส่งเสริมมาตรฐาน ความรู้ ความชานาญ และจริยธรรมวิชาชีพ ของผู้เผยแผ่คาสอนศาสนาในแต่ละศาสนา วัตถุประสงค์ที่ ๒ เพื่อส่งเสริมการ นาหลักศาสนธรรมมาเป็นหลัก ปฏิบัติในการดา เนิน ชีวิตประจาวันทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว สังคม ชุมชน และองค์กรทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน ตัวบ่งชี้ผลสัมฤทธิ์ ๑) คนไทยมีความสามัคคี มีระเบียบวินัย มีจิตสานึกต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ยึดหลักศาสนธรรมในการดาเนินชีวิตโดยมีตัวบ่งชี้ผลสัมฤทธิ์ ดังนี้ - คนไทยบรรลุค่านิยมและคุณธรรมที่พึงประสงค์ - ความขัดแย้งระหว่างศาสนิกชนในเรื่องสิทธิการดารงชีวิตตามวัฒนธรรม ประเพณี ทางศาสนาของตนลดลง ๒) ครอบครัว สังคม และภาคธุรกิจมีหลักคุณธรรม จริยธรรม และใช้หลักศาสนาในการ ดาเนินชีวิตโดยมีตัวบ่งชี้ผลสัมฤทธิ์ ดังนี้ - มีการจัดโครงการและกิจกรรมส่งเสริมการปฏิบัติศาสนกิจในองค์กรภาคส่วนต่าง ๆ อย่างน้อยปีละ ๓ กิจกรรม (เช่น ในสถานประกอบการ สถานศึกษา หน่วยราชการ องค์กรประชาสังคม เป็นต้น) - ศาสนิกชนในองค์กรภาคส่วนต่างๆ ได้รับสิทธิในการดารงชีวิตและการเดินทางไป ปฏิบัติศาสนกิจตามศรัทธาจานวนเพิ่มขึ้นทุกปี
  • 10. (๑๐) วัตถุประสงค์ที่ ๓ เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างศาสนิกชนในทุกศาสนา ตัวบ่งชี้ผลสัมฤทธิ์ - ศาสนิกชนในทุกศาสนามีความสัมพันธ์ที่ดีและมีกิจกรรมร่วมกันระหว่างศาสนาในชุมชน อย่างน้อยปีละ ๓ กิจกรรม วัตถุประสงค์ที่ ๔ เพื่อพัฒนาศักยภาพของสถานศึกษาในการ บูรณาการหลักศาสนธรรม ในการจัดการศึกษาทุกระดับอย่างชัดเจนรวมทั้งให้กระทรวงศึกษาธิการกาหนดสาระการเรียนการสอน เรื่องศาสนาในหลักสูตรและการพัฒนาบุคลากรครู ตัวบ่งชี้ผลสัมฤทธิ์ ๑) มีการกาหนดหลักศาสนธรรมทั้งด้าน หลักคาสอน และหลักปฏิบัติในการจัดการเรียน การสอน รวมทั้งการส่งเสริมการมุ่งปฏิบัติธรรมตามหลักศาสนธรรมในโรงเรียนระดับประถมศึกษา และ มัธยมศึกษาทุกสังกัด ร้อยละ ๑๐๐ภายใน ๓ ปี ๒) มีการเสริมกิจกรรมการปฏิบัติตามหลักคาสอนทางศาสนาอย่างต่อเนื่อง และเป็นระบบ ในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาในทุกสถาบัน ๓) มีจานวนตาราและผลงานวิจัยด้านศาสนาที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น ๔) มี การจัดกิจกรรมอบรมเพื่อ พัฒนาบุคลากรครู ให้มีความรู้และทักษะในเรื่อง การสอน หลักศาสนาให้เหมาะสมกับผู้เรียน วัตถุประสงค์ที่ ๕ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของสื่อ สารมวลชนและเทคโนโลยี สารสนเทศ ในการนาหลักศาสนาที่ถูกต้องไปเผยแผ่สู่ประชาชน โดยยึดหลัก คุณธรรม จริยธรรม และ ศีลธรรมในการนาเสนอทุกรูปแบบ ตัวบ่งชี้ผลสัมฤทธิ์ - มีการจัดสรรพื้นที่ เวทีประชาคมและสื่อสาธารณะ สาหรับการศึกษาและเรียนรู้ร่วมกัน ในหลักศาสนธรรมระหว่างสื่อสารมวลชนกับชุมชน องค์กร ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน เป็นประจา อย่างต่อเนื่อง ๘. ผลกระทบเชิงบวกในวงกว้างต่อประเทศไทย ๘.๑ คนไทยบรรลุค่านิยมและคุณธรรมที่พึงประสงค์ เป็นผู้ปฏิบัติ ตนตามหลักศาสนา ถึงพร้อมด้วย คุณธรรมจริยธรรม ตลอดจนค่านิยมที่พึงประสงค์ ประสานเข้าเป็นแนวทางส่วนหนึ่ง ใน
  • 11. (๑๑) การทางานของทุกภาคส่วน โดยเฉพาะองค์กรทางการเมือง ทางสังคม และทางธุรกิจ ทาให้ประเทศ และสังคมขับเคลื่อนไปในทิศทางที่ถูกต้องดีงาม ๘.๒ คนไทยทุกเชื้อชาติ ทุกศาสนา ทุกเพศ ทุกวัย ทุกสาขาอาชีพ ทุกฐานะทางสังคม ทุกสถานภาพ มีการพัฒนาจิตใจตนเอง เสริมสร้างหลักศาสนธรรมในตนเอง หลักธรรมจะช่วยให้มีแนวทาง ในการดาเนินชีวิตที่ถูกต้องเหมาะสม และลดปัญหาในสังคม เช่น การแตกแยกของครอบครัว การหย่าร้าง คนจรจัด โดยเริ่มจากตนเองครอบครัวขยายสู่ทุกชุมชน และส่งผลสู่สังคมไทยในภาพรวม เป็นสังคมไทย ที่มีความสามัคคี มีระเบียบวินัย มีศิลปะและวัฒนธรรมอันดีงาม สามารถพัฒนาให้ เจริญก้าวหน้าต่อไปได้ อย่างยั่งยืน