SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 16
Downloaden Sie, um offline zu lesen
09/12/58
1
ปัญหาความขัดแย้งในศรีลังกา
โดย รศ.พ.ต.อ.กิตติธนทัต เลอวงศ์รัตน์
และ นายนิติ นาชิต ผอ.วิทยาลัยสารพัดช่างลพบุรี
Sri Lanka
9 จังหวัด 26 อําเภอ
09/12/58
2
สิงหล 75%
ทมิฬ 15%
มุสลิม 10%
Sri Lanka Timeline
http://www.financepractitioner.com/country-profiles-whitaker/sri-lanka
09/12/58
3
ชาวสิงหลจากอินเดียตอนใต้เข้ามาตั<งรกรากที=ประเทศศรีลังกา
ในปลายศตวรรษที= 6 ก่อนคริสตกาล
ส่วนศาสนาพุทธได้เริ=มเผยแผ่ในประเทศศรีลังกา เมื=อกลาง
ศตวรรษที= 3 ก่อนคริสตกาล สําหรับอารยธรรมในดินแดนนี<ได้ถือ
กําเนิดเป็ นเมือง (เมื=อราว 200 ปี ก่อนคริสตกาล ถึงคริสตศักราชที=
1000)
เมื=อคริสตศตวรรษที= 14 ราชวงศ์หนึ=งทางอินเดียตอนใต้ได้ยึดอํานาจ
ในบริเวณตอนเหนือของเกาะ และได้ก่อตั<งราชอาณาจักรทมิฬ ต่อมา
ศรีลังกาถูกยึดครองโดยโปรตุเกสในคริสตศตวรรษที= 16 และถูกยึดครองโดย
ดัตช์ในคริสตศตวรรษที= 17 ในที=สุดก็ตกอยู่ภายใต้อํานาจของอังกฤษอย่าง
สิ<นเชิงในปี ค.ศ.1815
ต่อมาศรีลังกาได้รับเอกราชเมื=อปี ค.ศ.1948 และได้เปลี=ยนชื=อจาก
Ceylon เป็นศรีลังกาเมื=อปี ค.ศ.1972
09/12/58
4
ข้อแตกต่างทางด้าน ภาษา ศาสนา วัฒนธรรม และประเพณี
ชาวสิงหลก็เป็นชนชาติที=ใช้ภาษาสิงหล ศาสนาพุทธ
วัฒนธรรมสิงหลพุทธ และประวัติศาสตร์การปกครอง
ระบอบราชาธิปไตย อาณาจักรสิงหลในภาคตะวันตกและภาคกลาง
มาเป็นเวลาหลายศตวรรษ
ชาวศรีลังกาทมิฬเป็นชนชาติที=ใช้ภาษาทมิฬ ศาสนาฮินดู
วัฒนธรรมทมิฬฮินดู และประวัติศาสตร์องค์กรทางการเมืองที=เป็นอิสระ
ในอาณาจักรที=มีอํานาจอธิปไตยใน ภาคเหนือและ
ภาคตะวันออกเป็นเวลาหลายศตวรรษ
ข้อแตกต่างทางด้าน ภาษา ศาสนา วัฒนธรรม และประเพณี
09/12/58
5
เหตุความขัดแย้งระหว่างสิงหล กับ ทมิฬ
ความขัดแย้งระหว่างสิงหล กับ ทมิฬ
ความขัดแย้งระหว่างทมิฬกับสิงหลนั<นมีมาตั<งแต่สมัยโบราณ
จะเห็นได้จากประวัติศาสตร์การก่อตั<งประเทศศรีลังกา ที=ต่างฝ่ ายต่าง
ผลัดกันมีอานาจอยู่เสมอ มีการสู้รบอยู่เนืองๆ เนื=องจากความขัดแย้งใน
ด้านผลประโยชน์ การทํามาหากินและการต้องการความเป็ นใหญ่
ทั<งหมดในประเทศศรีลังกา
09/12/58
6
ปัญหาทางการเมืองและการปกครองของอังกฤษ กล่าวคือในระหว่างที=
ศรีลังกาตกเป็นเมืองขึ<นของอังกฤษระหว่าง ค.ศ. 1815 – 1948 นั<น อังกฤษ
มักจะใช้ชาวทมิฬเป็ นเจ้าหน้าที=บริหารชั<นผู้น้อย เนื=องจากมีความคล่องตัว
มากกว่าชาวสิงหล และบังเอิญชาวตะวันตกได้มาตั<งโรงเรียนมิชชันนารีอยู่ทาง
ตอนเหนือของประเทศ เป็ นโอกาสให้ชาวทมิฬมีโอกาสเรียนหนังสือและพูด
ภาษาต่างประเทศได้ดีกว่าชาวสิงหล
เมื=ออังกฤษได้ให้เอกราชแก่ศรีลังกาใน ค.ศ. 1948 ชาวทมิฬซึ=ง
มีจํานวนเพียงประมาณร้อยละ 12 ของประชากรทั<งหมด จึงปรากฏ
ตัวในฐานะข้าราชการและพ่อค้าในเมืองต่างๆมากกว่าชาวสิงหลซึ=งมี
ประชากรร้อยละ 70 การปกครองแบบอาณานิคมของอังกฤษได้เปิด
โอกาสให้ชาวทมิฬซึ=งเป็นชนกลุ่มน้อย ผูกขาดอํานาจการบริหารรัฐ
กิจและประกอบการทางเศรษฐกิจ ในขณะที=ชาวสิงหลมีอํานาจเป็น
เพียงคณะผู้บริหารประเทศในระดับสูงเท่านั<น
09/12/58
7
ชาวสิงหล จึงเห็นว่าเป็นการสร้างช่องว่างด้านอํานาจการปกครอง
ชาวสิงหล ซึ=งควรมีอํานาจเต็มที=ทุกด้านศรีลังกาในฐานะคนที=เป็ น
ชนกลุ่มใหญ่ในประเทศ จึงได้เริ=มมีการกีดกันชาวทมิฬออกไปจากวงการ
บริหารเศรษฐกิจ
ชาวทมิฬจึงไม่พอใจอย่างยิ=งที=ถูกตัดบทบาท และโอกาสดังกล่าว
เป็ นต้นว่าชาวทมิฬไม่ได้เข้าเรียนมหาวิทยาลัยหรือเข้าทํางานในองค์การ
ของรัฐอย่างเท่าเทียมและยุติธรรมเช่นชาวสิงหล
ดังนั<น ชาวทมิฬจึงได้
อพยพรวมตัวกันอยู่ทางภาคเหนือ
ซึ=งเป็นแหล่งดั<งเดิมของตนอย่าง
หนาแน่ น และแสดงความ
ปรารถนาที=จะแยกตัวเป็ นอิสระ
เสมอมา
09/12/58
8
ปัญหาความขัดแย้งมีเพิ=มขึ<นในช่วงแรกที=ศรีลังกาได้เอกราช
คือระหว่าง ค.ศ. 1948 – 1949 รัฐบาลกลางของศรีลังกาได้ผลักดันชาว
อินเดียทมิฬประมาณ 1 ล้านคน ซึ=งเคยเป็นคนงานในไร่ใบชามาตั<งแต่
ครั<งอังกฤษปกครองให้กลับสู่ภาคใต้ของอินเดีย ทั<งนี<เพราะเกรงว่าถ้า
ให้สัญชาติศรีลังกาแก่คนเหล่านี<แล้วจะเป็นการเพิ=มประชากรทมิฬ
ทําให้กลุ่มนี<มีกาลังเข้มแข็งขึ<น
เมื=ออินเดียทมิฬเหล่านี<ปฏิเสธที=จะกลับ เนื=องจากได้ฝังรกรากอยู่
ในศรีลังกาเป็นเวลานานและถาวรแล้ว และถ้ากลับไปก็ไม่มีอาชีพการ
ในอินเดียตกค้างอยู่ในศรีลังกา จึงทําให้ชนเหล่านี<มีสภาพ “ไร้รัฐ”
(Statelessness) คือไม่มีสัญชาติและไม่มีสิทธิเลือกตั<ง ตลอดจน ถูกตัด
สิทธิในการศึกษาและการทํางานอีกมากมาย
09/12/58
9
จึงทําให้ชาวทมิฬต้องการแยกประเทศของตน จึงมีการปะทะกัน
อยู่เสมอ ชาวทมิฬได้ก่อตั<งขบวนการแนวร่วมปลดปล่อยทมิฬ หรือ
TULF (Tamil United Liberation Front) ขึ<น โดยเรียกร้องให้มีการแยก
ประเทศเด็ดขาดระหว่างชาวทมิฬและชาวสิงหลตั<งแต่ปี ค.ศ. 1976 เป็น
ต้นมา
ขบวนการ TULF นีมีบทบาทในทางการเมืองทังอย่างเปิดเผย
และอย่างลับๆ บทบาทที!เปิดเผยก็คือการเล่นการเมืองในระบบ คือ ส่ง
ผู้แทนของตนเข้ารับสมัครการเลือกตัง ซึ!งในปัจจุบันปรากฏว่า
ขบวนการนีสามารถครองที!นั!งในสภาได้ถึง 16 ที!นั!ง ส่วนบทบาท
อย่างลับๆ ได้แก่ การต่อต้านในรูปของการทําสงครามกองโจร
09/12/58
10
ปัญหาความขัดแย้งระหว่างชาวสิงหลกับชาวทมิฬที=มีมานี< ไม่ได้รับ
การแก้ไขอย่างตั<งใจจากรัฐบาลกลางแต่อย่างใด นายบันดารา นัยเก ผู้ดํารง
ตําแหน่งนายกรัฐมนตรีของศรีลังกาตั<งแต่ ค.ศ.1956 -1959 นั<น
ก่อนเข้ารับตําแหน่งนายบันดาราฯ นรม.เคยมีนโยบายมาก ปัญหา
ของชาวทมิฬกับสิงหลจะสงบได้ก็ต่อเมื=อชาวทมิฬได้แยกตัวออกไปเป็นรัฐ
ต่างหากภายใต้การปกครองแบบสหพันธรัฐ (Federal Government) คือชาว
ทมิฬมีสิทธิที=จะจัดการกิจการภายในของตนได้ด้วยตนเองภายในระดับหนึ=ง
โดยเฉพาะในเรื=องเกี=ยวกับเศรษฐกิจและสังคม
แต่ปรากฏว่าเมื=อนายบันดารา
นัยเกได้เข้ารับตําแหน่งนายกรัฐมนตรี
แล้ว เขามิได้ทําตามคําปรารภที=เคยมี
มา มิหนําซํ<าในเดือนมิถุนายน ค.ศ.
1956 เขายังได้ประกาศให้ภาษาสิงหล
เป็นภาษาราชการเพียงภาษาเดียวของ
ศรีลังกา ในครั<งนั<นเกิดการปะทะกัน
ระหว่างชาวทมิฬกับสิงหลจนมี
ผู้เสียชีวิตราว 150 คน
09/12/58
11
ท่ามกลางความขัดแย้งระหว่างชนชั<นทั<งสองกลุ่มในศรีลังกา
รัฐบาลกลางจึงมักจะเป็นพรรคสหชาติหรือ United National Party
(UNP) ซึ=งเป็ นพรรคของชาวสิงหลได้ใช้ความพยายามน้อยมากที=จะ
แก้ปัญหาให้หมดไป
ความขัดแย้ง นําไปสู่สงครามที=ยืดเยื<อ
09/12/58
12
ความขัดแย้งระหว่างชาวสิงหลซึ=งเป็นคนส่วนใหญ่กับกลุ่มแบ่งแยก
ดินแดนชาวทมิฬได้ ปะทุขึ<นเป็นสงครามเมื=อปี ค.ศ.1983 เนื=องจากชาวทมิฬ
ต้องการต้องการที=จะแยกดินแดนทางภาคเหนือและตะวันออกของประเทศตั<ง
เป็น มาตุภูมิทมิฬ จึงได้ก่อตั<งกลุ่ม Liberation Tigers of Tamil Eelam,
LTTE
กลุ่ม Liberation Tigers of Tamil Eelam, LTTE เป็นกองกําลังใน
การต่อสู้กับรัฐบาล โดยใช้วิธีการก่อการร้าย ระเบิดพลีชีพ และการลอบสังหาร
โดยพุ่งเป้ าไปที=หน่วยทหาร ผู้นาทางการเมือง และเจ้าหน้าที=ทางการท้องถิ=น
ชาวสิงหล ทําให้ประชาชนหลายพันคนเสียชีวิต เนื=องมาจากการปะทะกัน
ระหว่างสองกลุ่มนี<
09/12/58
13
การต่อสู้ได้ดําเนินมาถึง 2 ทศวรรษ ต่อมารัฐบาลและกบฎพยัคฆ์
ทมิฬอีแลม ได้บรรลุข้อตกลงหยุดยิงในเดือนกุมภาพันธ์ ปี ค.ศ.2002 โดย
นอร์เวย์เป็นตัวกลางในการเจรจา และได้เจรจาสันติภาพมาแล้ว 8 ครั<ง
อย่างไรก็ตาม การเจรจาไม่มีความก้าวหน้า หยุดชะงักเป็ นช่วงๆ
อุปสรรคสําคัญของการเจรจา คือ ขาดความไว้วางใจซึ=งกันและกัน และความ
จริงใจที=จะยุติปัญหาอย่างถาวร
ประธานาธิบดี Rajapaksa ได้จัดตั<งคณะกรรมการ All Party
Representative Committee (APRC) ประกอบด้วย สมาชิกจากพรรค
การเมืองจานวน 14 พรรค เพื=อพิจารณารูปแบบการจัดสรรอํานาจบางส่วนแก่
กลุ่ม LTTE
เมื=อเดือนมกราคม 2008 รัฐบาลศรีลังกาเผยแพร่ข้อเสนอแนะของ
APRC ต่อ ประธานาธิบดีเกี=ยวกับมาตรการกระจายอํานาจสู่การปกครอง
ท้องถิ=น โดยเฉพาะในทางภาคเหนือและภาคตะวันออก (ซึ=งทั<งสองภาคเป็ น
พื<นที=ควบคุมของ LTTE) มาตรการการส่งเสริมสิทธิและเสรีภาพของชาว
ทมิฬ (การส่งเสริมการใช้ภาษาทมิฬในระบบราชการ) เป็นต้น
09/12/58
14
สถานการณ์ความขัดแย้งได้ทวีความรุนแรงมากยิ=งขึ<นภายหลังรัฐบาลศรี
ลังกาประกาศยกเลิก ข้อตกลงหยุดยิงเมื=อวันที= 2 มกราคม 2008 เช่น กลุ่ม LTTE
ลอบสังหารเจ้าหน้าที=ระดับสูงของรัฐบาล อาทิ การสังหารนาย D.M.
Dassanayake รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการสร้างชาติ
เมื=อวันที= 8 มกราคม 2008 และนาย J. Fernandopulle รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงทางหลวงและการพัฒนาถนน เมื=อวันที= 6 เมษายน 2008 การวางระเบิด
ในบริเวณชุมชนใจกลางกรุงโคลัมโบบ่อยครั<งขึ<น ทั<งที=สถานีรถไฟ สวนสัตว์ รถ
ประจําทาง และห้างสรรพสินค้า
เมื=อวันที= 11 พฤษภาคม 2008 รัฐบาลสามารถจัดการเลือกตั<ง
ท้องถิ=นในภาคตะวันออกของประเทศได้สําเร็จ โดย United People’s
Freedom Alliance (UPFA) ซึ=งเป็นกลุ่มพรรครัฐบาลผสมภายใต้การ
นําของพรรค SLFP ของประธานาธิบดีได้รับชัยชนะอย่างท่วมท้น โดย
ได้รับ 20 ที=นั=งจากทั<งหมด 37 ที=นั=ง และรัฐบาลพยายามช่วงชิงโอกาสที=
กลุ่ม LTTE กําลังอยู่ในสถานะเสียเปรียบ ใช้กาลังเข้าปราบปราม
LTTE ให้ราบคาบในเขตภาคเหนือ หลังจากสามารถยึดภาคตะวันออก
คืนได้สําเร็จแล้วเมื=อเดือนกรกฎาคม 2007
09/12/58
15
กลุ่มพยัคทมิฬอีแลม (Liberation Tigers of Tamil Eelam:LTTE)
3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ประเทศศรีลังกา
ปชช.นับถือศาสนาอิสลาม
และศาสนาพุทธ
ปชช.นับถือศาสนาฮินดู
ศาสนาพุทธและอิสลาม
09/12/58
16
จบการนําเสนอ
ขอบคุณมากครับ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Pracha Wongsrida
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์Proud N. Boonrak
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือWarodom Techasrisutee
 
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มโครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มeeii
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์kruthai40
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาJiraprapa Noinoo
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475JulPcc CR
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Pracha Wongsrida
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35Milky' __
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
ภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยMpiizzysm
 

Was ist angesagt? (20)

โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มโครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
ภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทย
 

Mehr von Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

Mehr von Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

Part 2 ปัญหาความขัดแย้งในศรีลังกา

  • 1. 09/12/58 1 ปัญหาความขัดแย้งในศรีลังกา โดย รศ.พ.ต.อ.กิตติธนทัต เลอวงศ์รัตน์ และ นายนิติ นาชิต ผอ.วิทยาลัยสารพัดช่างลพบุรี Sri Lanka 9 จังหวัด 26 อําเภอ
  • 2. 09/12/58 2 สิงหล 75% ทมิฬ 15% มุสลิม 10% Sri Lanka Timeline http://www.financepractitioner.com/country-profiles-whitaker/sri-lanka
  • 3. 09/12/58 3 ชาวสิงหลจากอินเดียตอนใต้เข้ามาตั<งรกรากที=ประเทศศรีลังกา ในปลายศตวรรษที= 6 ก่อนคริสตกาล ส่วนศาสนาพุทธได้เริ=มเผยแผ่ในประเทศศรีลังกา เมื=อกลาง ศตวรรษที= 3 ก่อนคริสตกาล สําหรับอารยธรรมในดินแดนนี<ได้ถือ กําเนิดเป็ นเมือง (เมื=อราว 200 ปี ก่อนคริสตกาล ถึงคริสตศักราชที= 1000) เมื=อคริสตศตวรรษที= 14 ราชวงศ์หนึ=งทางอินเดียตอนใต้ได้ยึดอํานาจ ในบริเวณตอนเหนือของเกาะ และได้ก่อตั<งราชอาณาจักรทมิฬ ต่อมา ศรีลังกาถูกยึดครองโดยโปรตุเกสในคริสตศตวรรษที= 16 และถูกยึดครองโดย ดัตช์ในคริสตศตวรรษที= 17 ในที=สุดก็ตกอยู่ภายใต้อํานาจของอังกฤษอย่าง สิ<นเชิงในปี ค.ศ.1815 ต่อมาศรีลังกาได้รับเอกราชเมื=อปี ค.ศ.1948 และได้เปลี=ยนชื=อจาก Ceylon เป็นศรีลังกาเมื=อปี ค.ศ.1972
  • 4. 09/12/58 4 ข้อแตกต่างทางด้าน ภาษา ศาสนา วัฒนธรรม และประเพณี ชาวสิงหลก็เป็นชนชาติที=ใช้ภาษาสิงหล ศาสนาพุทธ วัฒนธรรมสิงหลพุทธ และประวัติศาสตร์การปกครอง ระบอบราชาธิปไตย อาณาจักรสิงหลในภาคตะวันตกและภาคกลาง มาเป็นเวลาหลายศตวรรษ ชาวศรีลังกาทมิฬเป็นชนชาติที=ใช้ภาษาทมิฬ ศาสนาฮินดู วัฒนธรรมทมิฬฮินดู และประวัติศาสตร์องค์กรทางการเมืองที=เป็นอิสระ ในอาณาจักรที=มีอํานาจอธิปไตยใน ภาคเหนือและ ภาคตะวันออกเป็นเวลาหลายศตวรรษ ข้อแตกต่างทางด้าน ภาษา ศาสนา วัฒนธรรม และประเพณี
  • 5. 09/12/58 5 เหตุความขัดแย้งระหว่างสิงหล กับ ทมิฬ ความขัดแย้งระหว่างสิงหล กับ ทมิฬ ความขัดแย้งระหว่างทมิฬกับสิงหลนั<นมีมาตั<งแต่สมัยโบราณ จะเห็นได้จากประวัติศาสตร์การก่อตั<งประเทศศรีลังกา ที=ต่างฝ่ ายต่าง ผลัดกันมีอานาจอยู่เสมอ มีการสู้รบอยู่เนืองๆ เนื=องจากความขัดแย้งใน ด้านผลประโยชน์ การทํามาหากินและการต้องการความเป็ นใหญ่ ทั<งหมดในประเทศศรีลังกา
  • 6. 09/12/58 6 ปัญหาทางการเมืองและการปกครองของอังกฤษ กล่าวคือในระหว่างที= ศรีลังกาตกเป็นเมืองขึ<นของอังกฤษระหว่าง ค.ศ. 1815 – 1948 นั<น อังกฤษ มักจะใช้ชาวทมิฬเป็ นเจ้าหน้าที=บริหารชั<นผู้น้อย เนื=องจากมีความคล่องตัว มากกว่าชาวสิงหล และบังเอิญชาวตะวันตกได้มาตั<งโรงเรียนมิชชันนารีอยู่ทาง ตอนเหนือของประเทศ เป็ นโอกาสให้ชาวทมิฬมีโอกาสเรียนหนังสือและพูด ภาษาต่างประเทศได้ดีกว่าชาวสิงหล เมื=ออังกฤษได้ให้เอกราชแก่ศรีลังกาใน ค.ศ. 1948 ชาวทมิฬซึ=ง มีจํานวนเพียงประมาณร้อยละ 12 ของประชากรทั<งหมด จึงปรากฏ ตัวในฐานะข้าราชการและพ่อค้าในเมืองต่างๆมากกว่าชาวสิงหลซึ=งมี ประชากรร้อยละ 70 การปกครองแบบอาณานิคมของอังกฤษได้เปิด โอกาสให้ชาวทมิฬซึ=งเป็นชนกลุ่มน้อย ผูกขาดอํานาจการบริหารรัฐ กิจและประกอบการทางเศรษฐกิจ ในขณะที=ชาวสิงหลมีอํานาจเป็น เพียงคณะผู้บริหารประเทศในระดับสูงเท่านั<น
  • 7. 09/12/58 7 ชาวสิงหล จึงเห็นว่าเป็นการสร้างช่องว่างด้านอํานาจการปกครอง ชาวสิงหล ซึ=งควรมีอํานาจเต็มที=ทุกด้านศรีลังกาในฐานะคนที=เป็ น ชนกลุ่มใหญ่ในประเทศ จึงได้เริ=มมีการกีดกันชาวทมิฬออกไปจากวงการ บริหารเศรษฐกิจ ชาวทมิฬจึงไม่พอใจอย่างยิ=งที=ถูกตัดบทบาท และโอกาสดังกล่าว เป็ นต้นว่าชาวทมิฬไม่ได้เข้าเรียนมหาวิทยาลัยหรือเข้าทํางานในองค์การ ของรัฐอย่างเท่าเทียมและยุติธรรมเช่นชาวสิงหล ดังนั<น ชาวทมิฬจึงได้ อพยพรวมตัวกันอยู่ทางภาคเหนือ ซึ=งเป็นแหล่งดั<งเดิมของตนอย่าง หนาแน่ น และแสดงความ ปรารถนาที=จะแยกตัวเป็ นอิสระ เสมอมา
  • 8. 09/12/58 8 ปัญหาความขัดแย้งมีเพิ=มขึ<นในช่วงแรกที=ศรีลังกาได้เอกราช คือระหว่าง ค.ศ. 1948 – 1949 รัฐบาลกลางของศรีลังกาได้ผลักดันชาว อินเดียทมิฬประมาณ 1 ล้านคน ซึ=งเคยเป็นคนงานในไร่ใบชามาตั<งแต่ ครั<งอังกฤษปกครองให้กลับสู่ภาคใต้ของอินเดีย ทั<งนี<เพราะเกรงว่าถ้า ให้สัญชาติศรีลังกาแก่คนเหล่านี<แล้วจะเป็นการเพิ=มประชากรทมิฬ ทําให้กลุ่มนี<มีกาลังเข้มแข็งขึ<น เมื=ออินเดียทมิฬเหล่านี<ปฏิเสธที=จะกลับ เนื=องจากได้ฝังรกรากอยู่ ในศรีลังกาเป็นเวลานานและถาวรแล้ว และถ้ากลับไปก็ไม่มีอาชีพการ ในอินเดียตกค้างอยู่ในศรีลังกา จึงทําให้ชนเหล่านี<มีสภาพ “ไร้รัฐ” (Statelessness) คือไม่มีสัญชาติและไม่มีสิทธิเลือกตั<ง ตลอดจน ถูกตัด สิทธิในการศึกษาและการทํางานอีกมากมาย
  • 9. 09/12/58 9 จึงทําให้ชาวทมิฬต้องการแยกประเทศของตน จึงมีการปะทะกัน อยู่เสมอ ชาวทมิฬได้ก่อตั<งขบวนการแนวร่วมปลดปล่อยทมิฬ หรือ TULF (Tamil United Liberation Front) ขึ<น โดยเรียกร้องให้มีการแยก ประเทศเด็ดขาดระหว่างชาวทมิฬและชาวสิงหลตั<งแต่ปี ค.ศ. 1976 เป็น ต้นมา ขบวนการ TULF นีมีบทบาทในทางการเมืองทังอย่างเปิดเผย และอย่างลับๆ บทบาทที!เปิดเผยก็คือการเล่นการเมืองในระบบ คือ ส่ง ผู้แทนของตนเข้ารับสมัครการเลือกตัง ซึ!งในปัจจุบันปรากฏว่า ขบวนการนีสามารถครองที!นั!งในสภาได้ถึง 16 ที!นั!ง ส่วนบทบาท อย่างลับๆ ได้แก่ การต่อต้านในรูปของการทําสงครามกองโจร
  • 10. 09/12/58 10 ปัญหาความขัดแย้งระหว่างชาวสิงหลกับชาวทมิฬที=มีมานี< ไม่ได้รับ การแก้ไขอย่างตั<งใจจากรัฐบาลกลางแต่อย่างใด นายบันดารา นัยเก ผู้ดํารง ตําแหน่งนายกรัฐมนตรีของศรีลังกาตั<งแต่ ค.ศ.1956 -1959 นั<น ก่อนเข้ารับตําแหน่งนายบันดาราฯ นรม.เคยมีนโยบายมาก ปัญหา ของชาวทมิฬกับสิงหลจะสงบได้ก็ต่อเมื=อชาวทมิฬได้แยกตัวออกไปเป็นรัฐ ต่างหากภายใต้การปกครองแบบสหพันธรัฐ (Federal Government) คือชาว ทมิฬมีสิทธิที=จะจัดการกิจการภายในของตนได้ด้วยตนเองภายในระดับหนึ=ง โดยเฉพาะในเรื=องเกี=ยวกับเศรษฐกิจและสังคม แต่ปรากฏว่าเมื=อนายบันดารา นัยเกได้เข้ารับตําแหน่งนายกรัฐมนตรี แล้ว เขามิได้ทําตามคําปรารภที=เคยมี มา มิหนําซํ<าในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1956 เขายังได้ประกาศให้ภาษาสิงหล เป็นภาษาราชการเพียงภาษาเดียวของ ศรีลังกา ในครั<งนั<นเกิดการปะทะกัน ระหว่างชาวทมิฬกับสิงหลจนมี ผู้เสียชีวิตราว 150 คน
  • 11. 09/12/58 11 ท่ามกลางความขัดแย้งระหว่างชนชั<นทั<งสองกลุ่มในศรีลังกา รัฐบาลกลางจึงมักจะเป็นพรรคสหชาติหรือ United National Party (UNP) ซึ=งเป็ นพรรคของชาวสิงหลได้ใช้ความพยายามน้อยมากที=จะ แก้ปัญหาให้หมดไป ความขัดแย้ง นําไปสู่สงครามที=ยืดเยื<อ
  • 12. 09/12/58 12 ความขัดแย้งระหว่างชาวสิงหลซึ=งเป็นคนส่วนใหญ่กับกลุ่มแบ่งแยก ดินแดนชาวทมิฬได้ ปะทุขึ<นเป็นสงครามเมื=อปี ค.ศ.1983 เนื=องจากชาวทมิฬ ต้องการต้องการที=จะแยกดินแดนทางภาคเหนือและตะวันออกของประเทศตั<ง เป็น มาตุภูมิทมิฬ จึงได้ก่อตั<งกลุ่ม Liberation Tigers of Tamil Eelam, LTTE กลุ่ม Liberation Tigers of Tamil Eelam, LTTE เป็นกองกําลังใน การต่อสู้กับรัฐบาล โดยใช้วิธีการก่อการร้าย ระเบิดพลีชีพ และการลอบสังหาร โดยพุ่งเป้ าไปที=หน่วยทหาร ผู้นาทางการเมือง และเจ้าหน้าที=ทางการท้องถิ=น ชาวสิงหล ทําให้ประชาชนหลายพันคนเสียชีวิต เนื=องมาจากการปะทะกัน ระหว่างสองกลุ่มนี<
  • 13. 09/12/58 13 การต่อสู้ได้ดําเนินมาถึง 2 ทศวรรษ ต่อมารัฐบาลและกบฎพยัคฆ์ ทมิฬอีแลม ได้บรรลุข้อตกลงหยุดยิงในเดือนกุมภาพันธ์ ปี ค.ศ.2002 โดย นอร์เวย์เป็นตัวกลางในการเจรจา และได้เจรจาสันติภาพมาแล้ว 8 ครั<ง อย่างไรก็ตาม การเจรจาไม่มีความก้าวหน้า หยุดชะงักเป็ นช่วงๆ อุปสรรคสําคัญของการเจรจา คือ ขาดความไว้วางใจซึ=งกันและกัน และความ จริงใจที=จะยุติปัญหาอย่างถาวร ประธานาธิบดี Rajapaksa ได้จัดตั<งคณะกรรมการ All Party Representative Committee (APRC) ประกอบด้วย สมาชิกจากพรรค การเมืองจานวน 14 พรรค เพื=อพิจารณารูปแบบการจัดสรรอํานาจบางส่วนแก่ กลุ่ม LTTE เมื=อเดือนมกราคม 2008 รัฐบาลศรีลังกาเผยแพร่ข้อเสนอแนะของ APRC ต่อ ประธานาธิบดีเกี=ยวกับมาตรการกระจายอํานาจสู่การปกครอง ท้องถิ=น โดยเฉพาะในทางภาคเหนือและภาคตะวันออก (ซึ=งทั<งสองภาคเป็ น พื<นที=ควบคุมของ LTTE) มาตรการการส่งเสริมสิทธิและเสรีภาพของชาว ทมิฬ (การส่งเสริมการใช้ภาษาทมิฬในระบบราชการ) เป็นต้น
  • 14. 09/12/58 14 สถานการณ์ความขัดแย้งได้ทวีความรุนแรงมากยิ=งขึ<นภายหลังรัฐบาลศรี ลังกาประกาศยกเลิก ข้อตกลงหยุดยิงเมื=อวันที= 2 มกราคม 2008 เช่น กลุ่ม LTTE ลอบสังหารเจ้าหน้าที=ระดับสูงของรัฐบาล อาทิ การสังหารนาย D.M. Dassanayake รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการสร้างชาติ เมื=อวันที= 8 มกราคม 2008 และนาย J. Fernandopulle รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงทางหลวงและการพัฒนาถนน เมื=อวันที= 6 เมษายน 2008 การวางระเบิด ในบริเวณชุมชนใจกลางกรุงโคลัมโบบ่อยครั<งขึ<น ทั<งที=สถานีรถไฟ สวนสัตว์ รถ ประจําทาง และห้างสรรพสินค้า เมื=อวันที= 11 พฤษภาคม 2008 รัฐบาลสามารถจัดการเลือกตั<ง ท้องถิ=นในภาคตะวันออกของประเทศได้สําเร็จ โดย United People’s Freedom Alliance (UPFA) ซึ=งเป็นกลุ่มพรรครัฐบาลผสมภายใต้การ นําของพรรค SLFP ของประธานาธิบดีได้รับชัยชนะอย่างท่วมท้น โดย ได้รับ 20 ที=นั=งจากทั<งหมด 37 ที=นั=ง และรัฐบาลพยายามช่วงชิงโอกาสที= กลุ่ม LTTE กําลังอยู่ในสถานะเสียเปรียบ ใช้กาลังเข้าปราบปราม LTTE ให้ราบคาบในเขตภาคเหนือ หลังจากสามารถยึดภาคตะวันออก คืนได้สําเร็จแล้วเมื=อเดือนกรกฎาคม 2007
  • 15. 09/12/58 15 กลุ่มพยัคทมิฬอีแลม (Liberation Tigers of Tamil Eelam:LTTE) 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ประเทศศรีลังกา ปชช.นับถือศาสนาอิสลาม และศาสนาพุทธ ปชช.นับถือศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธและอิสลาม