SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 73
ทำำอย่ำงไร..เมื่อ
รถเกิดอุบัติเหตุ
เมื่อตัวเรำหรือบุคคลอื่น เกิดอุบัติเหตุขึ้น
เนื่องจำกกำรขับขี่รถยนต์ บุคคลผู้ได้รับควำมเสีย
หำยหรือทำยำทของบุคคลนั้นย่อมมีสิทธิ และ
หน้ำที่ตำมกฎหมำยที่กำำหนด แล้วแต่ว่ำเรำอยู่ใน
ฐำนะอะไร เช่น เป็นผู้สียหำยหรือเป็นผู้กระทำำ
ควำมผิด หรือเป็นบริษัทประกันภัยที่จะต้องชดใช้
ค่ำเสียหำยแทนผู้เอำประกันภัย
แต่อย่ำงไรก็ตำม ก่อนที่จะถึงขั้นตอนกำรใช้
สิทธิตำมกฎหมำย ผู้ที่เห็นเหตุกำรณ์ขณะเกิดเหตุ
หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกับรถที่เกิดเหตุควรปฎิบัติ
ตนอย่ำงไร เพื่อให้เกิดประโยชน์และควำม
ปลอดภัยของทุกฝ่ำย จึงเห็นว่ำควรปฎิบัติหรือ
1. ตั้งสติให้ดี อย่ำตื่นตระหนกเกินไป เพรำะสติเป็นสิ่งสำำคัญ
จำกรถคันที่เกิดเหตุให้เร็วที่สุด เพรำะอำจเกิดไฟลุกไหม้หรือระเบิด
3. อย่ำยืนอยู่กลำงถนน ให้ไปอยู่ที่ไหล่ทำง
นย้ำยรถออกจำกที่เกิดเหตุ เพรำะท่ำนอำจเป็นฝ่ำยผิดเองได้
อนย้ำยให้ทำำร่องรอยหรือเขียนแผนที่ให้อีกฝ่ำยลงลำยมือชื่อกำำกับ
รำเกิดเหตุฝ่ำยเดียว
ื่องหมำยท้ำย/หน้ำรถ เพื่อรถคันอื่นเห็นแต่ไกลเพื่อป้องกันอุบัติเหตุซ
6. แจ้งเจ้ำหน้ำที่ตำำรวจ และบริษัทประกันภัย หำกรถมีประกันภัย
7. อย่ำตกลงเจรจำใดๆ กับอีกฝ่ำย
ช่วยเหลือผู้บำดเจ็บตำมสมควร อีกทั้งต้องระมัดระวังรถอื่นที่ตำมมำด
น ตัวท่ำนอำจถูกรถอื่นเฉี่ยวชนได้
บหนี จำกที่เกิดเหตุโดยไม่จำำเป็น หำกท่ำนเป็นผู้ขับขี่รถยนต์แล้วเก
เพรำะกำรหลบหนีกฎหมำยให้สันนิษฐำนไว้ก่อนว่ำท่ำนเป็นฝ่ำยผิด
ำคุกแม้ภำยหลังจะพิสูจน์ได้ว่ำท่ำนไม่เป็นฝ่ำยผิด
10. ถ่ำยรูปต่ำงๆ ตำมจำำเป็น เพื่อใช้เป็นพยำนหลักฐำน
* จำกนั้นจึงเข้ำสู่ขั้นตอนกำรเรียกร้องค่ำเสียหำยหรือควำมรับผิดทั้งทำง
ในฐำนะ ผู้โดยสำร หรือ
บุคคลภำยนอก
 สิทธิที่จะเรียกร้องค่ำเสียหำยจำกฝ่ำยผิดในทำงเพ่ง
 สิทธิที่จะดำำเนินคดีในทำงอำญำ
 บุคคลที่ต้องรับผิดชอบค่ำเสียหำย
 อำยุควำมเรียกร้องค่ำเสียหำย
 กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนจำกบริษัทประกัน
 . .กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์พ ร บ
 กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์สมัครใจ
 กำรเรียกร้องค่ำทรัพย์สินที่เสียหำย
ในฐำนะ ผู้ขับขี่
 ผู้ขับขี่เป็นฝ่ำยผิด
ควำมรับผิดในทำงเพ่ง
ควำมรับผิดในทำงอำญำ
 ควำมรับผิดตำม พ.ร.บ จรำจรทำง
บกและประมวลกฎหมำยอำญำ
 ขั้นตอนดำำเนินคดีเมื่อผู้ขับขี่มี
ควำมผิดทำงอำญำ
 ควรทำำ..เมื่อถูกแจ้งข้อหำ ขับขี่รถ
โดยประมำทและก่อให้เกิดควำม
เสียหำยแก่ผู้อื่น
* * * ท่ำนสำมำรถคลิกดูรำยละเอียดที่หัว
สิทธิที่จะเรียกร้องค่ำเสียหำยจำกฝ่ำยผิดในทำงแพ่ง
กรณีบำดเจ็บ กรณีตำย กรณีทรัพย์สินเสียหำย
ำรักษำพยำบำลที่จ่ำยไปจริง
ำรักษำพยำบำลในอนำคต
ำทำำศัลยกรรมที่จำำเป็น
ำขำดประโยชน์จำกกำรทำำ
หำได้ระหว่ำงบำดเจ็บ
ำเสียควำมสำมำรถในกำร
ะกอบอำชีพในอนำคต
ำอนำมัย
อกเบี้ย
1.ค่ำรักษำพยำบำลก่อนตำย
2.ค่ำรำยได้ก่อนตำย
3.ค่ำปลงศพ
4.ค่ำใช้จ่ำยอันจำำเป็นในกำรจัด
กำรศพ
5.ค่ำขำดไร้อุปกำระ
6.ดอกเบี้ย
1.จ่ำยค่ำซ่อม หรือค่ำเสียหำย
ทรัพย์สินสูญหำย หรือถูกทำำ
2.ค่ำขำดประโยชน์จำกกำรใ
3.ค่ำเสื่อม เสื่อมรำคำ
4.ดอกเบี้ย
• หำกผู้โดยสำร หรือบุคคล
ภำยนอกได้รับควำมเสียหำยต้องบำด
เจ็บ สูญเสียอวัยวะ หรือ เสียชีวิต
สำมำรถร้องทุกข์กล่ำวโทษ หรือฟ้อง
คดีอำญำผู้กระทำำผิดต่อพนักงำน
สอบสวน หรือศำลได้ แต่หำกมีแต่
ทรัพย์สินเสียหำยอย่ำงเดียว ผู้เสียหำย
ฟ้องคดีอำญำเองไม่ได้ เพรำะมีควำม
ผิดเฉพำะ พ.ร.บ จรำจรทำงบกเท่ำนั้น
• หำกผู้โดยสำร หรือบุคคล
ภำยนอกได้รับควำมเสียหำยต้องบำด
เจ็บ สูญเสียอวัยวะ หรือ เสียชีวิต
สำมำรถร้องทุกข์กล่ำวโทษ หรือฟ้อง
คดีอำญำผู้กระทำำผิดต่อพนักงำน
สอบสวน หรือศำลได้ แต่หำกมีแต่
ทรัพย์สินเสียหำยอย่ำงเดียว ผู้เสียหำย
ฟ้องคดีอำญำเองไม่ได้ เพรำะมีควำม
ผิดเฉพำะ พ.ร.บ จรำจรทำงบกเท่ำนั้น
สิทธิที่จะดำำเนินคดีในทำงอำญำ
บุคคลที่ต้องรับผิดชอบค่ำเสียหำย
ผู้ที่เป็นฝ่ำยผิด ซึ่งอำจมีมำกกว่ำ 1 ฝ่ำยก็ได้ผู้ที่เป็นฝ่ำยผิด ซึ่งอำจมีมำกกว่ำ 1 ฝ่ำยก็ได้
. นำยจ้ำงของผู้เป็นฝ่ำยผิดและ...เกิดเหตุ
ในเวลำที่เรียกว่ำทำงกำรที่จ้ำง
. นำยจ้ำงของผู้เป็นฝ่ำยผิดและ...เกิดเหตุ
ในเวลำที่เรียกว่ำทำงกำรที่จ้ำง
3. บิดำ มำรดำ ของผู้กระทำำที่เป็นผู้เยำว์3. บิดำ มำรดำ ของผู้กระทำำที่เป็นผู้เยำว์
4. ตัวกำร เช่น บขส. ขสมก. เป็นต้น4. ตัวกำร เช่น บขส. ขสมก. เป็นต้น
5. ครูอำจำรย์ หรือผู้ดูแล ผู้ไร้ควำมสำมำร5. ครูอำจำรย์ หรือผู้ดูแล ผู้ไร้ควำมสำมำร
6. บริษัทประกันภัย ที่เป็นผู้รับประกันภัยร
ที่เป็นฝ่ำยผิด
6. บริษัทประกันภัย ที่เป็นผู้รับประกันภัยร
ที่เป็นฝ่ำยผิด
 1. กรณีเรียกร้องจำกผู้กระทำำควำมผิด นำยจ้ำงตัวกำร
ฯลฯ จะต้องเรียกร้อง ดังนี้
1.1 ภำยใน 1 ปี นับแต่วันเกิดเหตุ หำกรู้กำรกระทำำผิด
และรู้ตัวผู้กระทำำผิด
1.2 ภำยใน 10 ปี นับแต่วันเกิดเหตุ หำกเพิ่งรู้กำรกระทำำ
ผิด หรือเพิ่งรู้ตัว กระทำำผิด หรือต้อง
ฟ้องคดีภำยใน 2 ปีนับแต่วันเกิดเหตุ
 2. กรณีเรียกร้องจำก บริษัทประกันภัย โดยตรงต้องเรียก
ร้องภำยใน 2 ปี นับแต่วันเกิดเหตุหรือต้อง
ฟ้องคดีภำยใน 2 ปีนับแต่วันเกิดเหตุ
 3. หำกมีกำรฟ้องคดีอำญำและศำลลงโทษฝ่ำยผิด ผู้เสีย
อำยุควำมเรียกร้องค่ำเสียหำย
• เมื่อรถคันที่ก่อให้เกิดควำมเสียหำย ได้ทำำประกันภัย
เอำไว้ ผู้เสียหำยหรือทำยำทย่อมมีสิทธิที่จะเรียกร้องให้
บริษัทประกันชดใช้ค่ำเสียหำยได้โดยตรง หรือโดย
ทั่วไปเจ้ำของรถฝ่ำยผิดมักจะให้ผู้เสียหำยไปเรียกร้อง
จำกบริษัทประกันภัย
• ในกำรเรียกร้องจำกบริษัทประกันภัยนั้น มีข้อยุ่งยำก
และขั้นตอนหลำยอย่ำง เรำจึงจำำเป็นที่จะต้องเรียนรู้
สำำหรับกรมธรรม์ที่ให้ควำมคุ้มครองในกรณีนี้ที่เกี่ยวกับ
เรื่องรถยนต์จะมีด้วยกัน 2 กรมธรรม์ คือ
1. กรมธรรม์ประกันภัยคุ้มครองผู้ประสบภัยจำกรถ
หรือที่จะเรียกกันว่ำ กรมธรรม์ พ.ร.บ
2. กรมธรรม์ภำคสมัครใจ เช่น ประเภทหนี่ง ประเภท
กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนจำกบริษัทประกัน
กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์ พ.ร.บ
• กรมธรรม์นี้จะให้กำรคุ้มครองหรือชดใช้ค่ำเสียหำยให้
แก่ผู้เสียหำยในส่วนที่เกี่ยวกับชีวิต ร่ำงกำย และอนำมัย
เท่ำนั้น ในส่วนควำมเสียหำยของทรัพย์สินกรมธรรม์
พ.ร.บ ไม่คุ้มครอง
ควำมเสียหำยของชีวิตควำมเสียหำยของร่ำงกำย ค่ำอนำมัย
กรณีเสียชีวิต
กรณีได้รับบำดเจ็บ
หรือสูญเสียอวัยวะ
กรณีที่ได้รับบำดเจ็บแล้ว
ทำำให้ผู้อื่นได้รับบำดเจ็บ
ไม่สำมำรถใช้อวัยวะ
ต่ำงๆได้ดีเช่นเดิม
• ทั้งนี้ในกำรเรียกร้องค่ำเสียหำยในส่วนนี้ สำมำรถเรียกร้องได้ตำมที่กล่ำวใน
หัวข้อกำรเรียกร้องในฐำนะผู้โดยสำร
กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์ พ.ร.บ
นเงินค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์ พ.ร.บ
จำำนวนเงินค่ำเสียหำยเบื้องต้น
กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์พ.ร.บ
ส่วนเกินค่ำเสียหำยเบื้องต้น
กรณีผู้ประสบภัยเป็นบุคคลภำยนอก
ทั้งจำกรถประกันและรถคู่กรณี
กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์ พ.ร.บ
จำำนวนเงินค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์ พ.ร.บ
1. กรณีตำย
2. กรณีสูญเสียอวัยวะ
หรือทุพพลภำพถำวร
3. กรณีได้รับบำด
เจ็บมีค่ำรักษำ
พยำบำลและค่ำ
อนำมัย4.ได้รับบำดเจ็บ ต้อง
นอนรักษำตัวในร.พ.
บริษัทประกันภัยต้องจ่ำยเต็มจำำนวนเงิน
ตำมกรมธรรม์คือ 200,000 บำท
บริษัทประกันภัยต้องจ่ำยเป็นเงิน 200,000
บริษัทประกันภัยจะรับผิดชอบไม่เกิน 50,000
บริษัทประกันภัยจ่ำยชดเชยรำยได้วันละ 20
รวมแล้วไม่เกิน 20 วัน รวมเป็นเงิน 4,000 บ
จำำนวนเงินค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์ พ.ร.บ
อย่ำงไรก็ตำม หำกได้รับบำดเจ็บต้องนอนโรง
พยำบำล ต้องตัดมือ ตัดขำ แล้วต่อมำเสียชีวิต บริษัท
ประกันภัยจะรับผิดชอบรวมทั้งหมดไม่เกิน 204,000
บำท เท่ำนั้น
กำรเรีกยร้องค่ำสินไหมทดแทนนี้จะต้องเรียกร้อง
จำกฝ่ำยที่กระทำำควำมผิด หำกยังไม่สำมำรถพิสูจน์
ควำมผิดถูกได้ ผู้เสียหำยจะต้องเรียกร้องจำกบริษัท
ประกันที่รับประกันภัยรถยนต์ที่เรำนั่งเท่ำนั้น
ตัวอย่ำง นำยเคนนั่งโดยสำรในรถของนำยณัฐ
วุฒิ และได้ขับรถไปชนกับรถของนำยจตุพร นำยเคน
ได้รับบำดเจ็บ แต่พนักงำนสอบสวนยังไม่สำมำรถชี้ได้
ว่ำเหตุครั้งนี้เป็นควำมผิดของนำยณัฐวุฒิ หรือ นำยจตุ
กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์ พ.ร.บ
จำำนวนเงินค่ำเสียหำยเบื้องต้น
มี 2 กรณี คือ
15,000 บำท 35,000 บำท
สำำหรับกรณีที่ผู้ประสบภัยได้รับ
บำดเจ็บ เข้ำรักษำพยำบำล
บริษัทประกันภัยจะจ่ำย
ค่ำรักษำพยำบำลให้ตำมจริง
แต่ไม่เกิน 15,000 บำท
สำำหรับกรณีที่ผู้ประสบภัยได้รับ
บำดเจ็บ เข้ำรักษำพยำบำล
บริษัทประกันภัยจะจ่ำย
ค่ำรักษำพยำบำลให้ตำมจริง
แต่ไม่เกิน 15,000 บำท
ถึงแก่ควำมตำยถึงแก่ควำมตำย สูญเสียอวัยวะ
หรือ ตำบอด หูหนวก
ทุพลภำพถำวร ฯลฯ
สูญเสียอวัยวะ
หรือ ตำบอด หูหนวก
ทุพลภำพถำวร ฯลฯ
กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์ พ.ร.บ
• ทั้งนี้หำกผู้ประสบภัยได้รับบำดเจ็บแล้วต่อ
มำเสียชีวิต บริษัทประกันภัยจะจ่ำยค่ำเสีย
หำยเป็นค่ำรักษำพยำบำลตำมจริง แต่ไม่เกิน
15,000 บำท และค่ำปลงศพอีก 35,000 บำท
รวมแล้ว บริษัทประกันภัยจ่ำยค่ำเสียหำย
เบื้องต้น ไม่เกิน 50,000 บำท
• หรือ กรณีได้รับบำดเจ็บ ต่อมำต้องตัดนิ้ว
ตัดขำ ถือว่ำสูญเสียอวัยวะ บริษัทประกันภัยก็
จะจ่ำยค่ำรักษำพยำบำลตำมที่จ่ำยจริง แต่ไม่
จำำนวนเงินค่ำเสียหำยเบื้องต้น
กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์ พ.ร.บ
 ระยะเวลำในกำรเรียกร้องค่ำเสียหำย
• ตำมเงื่อนไขกรมธรรม์คุ้มครองผู้ประสบภัยจำกรถข้อ
5 ได้กำำหนดระยะเวลำในกำรใช้สิทธิเรียกร้องค่ำเสีย
หำยเบื้องต้นเอำไว้ว่ำจะต้องเรียกร้องภำยใน 180 วัน
นับแต่เกิดควำมเสียหำย
• หมำยควำมว่ำ เมื่อเกิดควำมเสียหำย ผู้ประสบภัยจะ
ต้องเรียกร้องค่ำเสียหำยเบื้องต้นกับบริษัทประกันภัย
ภำยใน 180 วัน เพรำะเห็นว่ำค่ำเสียหำยเบื้องต้นเป็น
กรณีอันจำำเป็นจึงไม่ต้องพิสูจน์ผิดถูกเพื่อให้ผู้เสียหำย
ได้รับเงินชดใช้อันจำำเป็น หำกรอพิสูจน์ผิดถูกอำจไม่มี
เงินค่ำรักษำ พยำบำล หรือไม่มีเงินค่ำทำำศพ
จำำนวนเงินค่ำเสียหำยเบื้องต้น
กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์ พ.ร.บ
เช่น รถสองคันชนกัน แล้วกระเด็นชนคนเดิน
ถนน โดยยังไม่ได้ข้อสรุปว่ำใครผิดใครถูก
คนเดินถนน ย่อมสำมำรถเรียกร้องค่ำเสียหำย
เบื้องต้นจำกรถทั้ง 2 คัน โดยบริษัทประกันภัยรถแต่ละ
คันจะรับผิดชอบคนละครึ่ง
• ตัวอย่ำง
นำยเก่ง ขับขี่รถยนต์ชนกับรถของก้อง แล้วรถ
เสียหลักไปชนนำยไก่ ซึ่งเดินอยู่บนฟุตบำท ทำำให้
นำยไก่ได้รับบำดเจ็บมีค่ำรักษำพยำบำล 15,000 บำท
และเหตุครั้งนี้ ยังไม่ได้ข้อสรุปว่ำใครเป็นฝ่ำยผิด กรณี
กรณีผู้ประสบภัยเป็นบุคคลภำยนอก
ทั้งจำกรถประกันและรถคู่กรณี
กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์ พ.ร.บ
• หำกผู้ประสบภัยมีค่ำเสียหำยเพิ่มขึ้น จำกค่ำเสีย
หำยเบื้องต้น และ มีควำมประสงค์ที่จะเรียกร้องค่ำ
สินไหมทดแทนในส่วนที่เกินนั้นจะต้องรอผลพิสูจน์ผิด
ถูก โดยในส่วนของกรมธรรม์ พ.ร.บ ได้มีข้อตกลงกัน
ในระหว่ำงบริษัทประกันภัยว่ำให้ยึดถือควำมเห็นของ
พนักงำนสอบสวนเป็นข้อยุติ กล่ำวคือ หำกพนักงำน
สอบสวนชี้ว่ำใครเป็นฝ่ำยผิด ให้บริษัทประกันภัยฝ่ำย
ผิดนั้นรับผิดชอบโดยไม่โต้แย้งใดๆ
• ดังนั้น เมื่อข้อพิสูจน์ว่ำใครผิดถูก ให้ผู้เสียหำยใช้
สิทธิ ดังนี้
1. เรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนส่วนเกิน ค่ำเสีย
กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์พ.ร.บ
ส่วนเกินค่ำเสียหำยเบื้องต้น
กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์ พ.ร.บ
• 1. เรียกร้องค่าสินไหมทดแทนส่วนเกิน ค่าเสียหาย
เบื้องต้นจากบริษัทประกันภัยที่เป็นฝ่ายผิด
โดยกรณีนี้ ผู้เสียหายจะเรียกร้องเงินค่าสินไหม
ส่วนเกินที่เรียกร้องจากบริษัทประกันภัยของตนเอง
หรือเรียกร้องส่วนเกินที่ได้รับจากบริษัทประกันภัยฝ่าย
ตนแล้ว แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินวงเงินคุ้มครองตามสัญญา
ประกันภัย
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์พ.ร.บ
ส่วนเกินค่าเสียหายเบื้องต้น
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์ พ.ร.บ
• นายไก่ นั่งอยู่ในรถของนายเก่ง รถของนายเก่ง
ชนกับรถของนายกวางนายไก่ ถึงแก่ความตาย
บริษัทประกันภัยรถของนายเก่ง ได้จ่ายค่าเสียหาย
เบื้องต้นให้ทายาทนายไก่ไป 35,000 บาท
• ดังนั้น ต่อมาเมื่อพิสูจน์ได้ว่ารถของนายกวาง
เป็นฝ่ายผิด กรณีนี้ทายาทของ นายไก่สามารถไป
ใช้สิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากบริษัท
ประกันภัยรถของนายเก่ง เป็นเงินที่ได้มีการทดรอง
จ่ายไปก่อน และบริษัทประกันภัยรถของนายเก่ง
สามารถสวมสิทธิไปเรียกร้องเงินที่จ่ายไปจำานวน
35,000 บาท คืนจากบริษัทประกันภัยของรถนายก
วาง และเมื่อรวม 2 กรณี ทายาทนายไก่ ได้รับเงิน
ครบตามความคุ้มครองกรมธรรม์แล้วคือ 200,000
บาท ดังนั้นบริษัทประกันภัยที่รับประกันภัยฝ่าย
นายกวางจึงต้องจ่ายค่าเสียหายให้ทายาทนายไก่
เพียง 165,000 บาท และต้องจ่ายคืนให้บริษัทประกัน
ภัยที่รับประกันรถของนายเก่งอีก 35,000 บาท
ตัวอย่าง
• 2. เรียกร้องจากบริษัทประกันภัยฝ่ายที่ตนเองนั่ง
โดยสารมาเต็มจำานวนความคุ้มครองตามสัญญา
กรมธรรม์
• ดังตัวอย่างข้างต้น ทายาทของนายไก่อาจจะเลือก
ใช้สิทธิเรียกร้องจากบริษัทประกันภัยรถนายเก่ง
ทั้งหมด คืออีก 165,000 บาท รวมกับเงินค่าเสียหาย
เบื้องต้นอีก 35,000 บาท
• ดังนั้น ทายาทนายไก่จะได้รับเงินค่าสินไหมทดแทน
เป็นเงิน 200,000 บาท เมื่อบริษัทประกันภัยรถนายเก่ง
ได้จ่ายเงินค่าสินไหมทดแทนไปแล้ว สามารถสวมสิทธิ
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์พ.ร.บ
ส่วนเกินค่าเสียหายเบื้องต้น
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์ พ.ร.บ
หากรถสองคันชนกันแล้วเสียหลักไปชนคน
เดินถนนหรือตามตัวอย่างข้างต้น หากพิสูจน์แล้ว
พบว่าเหตุที่เกิด เป็นความประมาททั้งนายเก่งและ
นายกวาง ทายาทของนายไก่สามารถเรียกร้อง
ค่าสินไหมทดแทนได้จากบริษัทประกันภัยของรถ
ทั้งสองคัน ได้เต็มจำานวนความคุ้มครอง คือ
บริษัทละ 200,000 บาท รวมเป็น 400,000 บาท
(ไม่ใช่คนละ 100,000 บาท แต่อย่างใด) ซึ่งเป็น
ไปตามหลักการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน
มาตรา 432 แห่ง ป.พ.พ.
ข้อสังเกต
• เมื่อผู้เสียหายได้ใช้สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายตาม
กรมธรรม์พ.ร.บ แล้วแต่ยังไม่คุ้มกับค่าเสียหายที่สูญ
เสียไป ผู้เสียหายมีสิทธิที่จะเรียกร้องจากบริษัท
ประกันภัยตามกรมธรรม์ภาคสมัครใจ หากรถคันนั้น
ได้ทำาประกันภัยภาคสมัครใจไว้ด้วย แต่หากไม่มีการ
ทำาประกันภาคสมัครใจไว้ ผู้เสียหายมีสิทธิเรียกร้อง
จากผู้กระทำาละเมิดหรือนายจ้าง หรือตัวการของผู้
กระทำาละเมิดก็ได้
• ในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์
ภาคสมัครใจนี้ นอกจากผู้เสียหายจะเรียกร้องค่าเสีย
หายต่อชีวิต ร่างกาย และอนามัยแล้ว ยังมีสิทธิเรียก
ร้องค่าเสียหายของทรัพย์สินที่ได้รับความเสียหายด้วย
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ
ความเสียหายต่อชีวิต
ร่างกาย และอนามัย
 แบ่งออก 2 กรณี
 เราไม่ได้โดยสารในรถ ถือเป็นบุคคลนอกรถ
 นั่งโดยสารในรถ แบ่งออก
เป็น
รถที่เรานั่งโดยสารเป็นฝ่ายผิด
รถที่เรานั่งโดยสารเป็นฝ่ายถูก
รถที่เรานั่งโดยสารกับรถที่ชนกันต่างฝ่ายต่างผิด
 จำานวนเงินขั้นตำ่าของกรมธรรม์ภาคสมัครใจ
 . . ( )กรณีตามกรมธรรม์พ ร บ เมื่อสูญเสียอวัยวะ
ความเสียหายต่อทรัพย์สิน
 การเรียกร้องค่าทรัพย์สินที่เสีย
หาย
 ผู้ที่จะต้องรับผิดชอบชดใช้ค่า
ทรัพย์สิน
 สิ่งที่สามารถเรียกร้องเกี่ยวกับ
ทรัพย์สิน
 การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน
จากบริษัทประกันภัย
 ทรัพย์สินที่บริษัทประกันภัยไม่
ต้องรับผิดชอบ
* * * ท่านสามารถคลิกดูรายละเอียดที่หัว
• 1. กรณีเราไม่ได้โดยสารในรถ
• ถือเป็นบุคคลภายนอก ตามหลักแล้วผู้เสียหาย
เป็นฝ่ายถูก 99% เพราะตามพ.ร.บ จราจรทางบก
มาตรา 32 ได้ให้ความคุ้มครองคนเดินเท้าว่าห้ามผู้
ขับขี่รถมาชนคน ไม่ว่าคนจะอยู่ตรงไหนของถนน
แว้นแต่จะพิสูจน์ว่าคนประมาทเอง เช่น วิ่งตัดหน้า
กระทันหัน เป็นต้น
• ดังนั้น หากผู้เอาประกันภัย หรือผู้เสียหายเป็น
ฝ่ายถูกย่อมมีสิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตาม
รายละเอียดที่ได้พูดในบทว่าด้วย กรมธรรม์ พ.ร.บ
จึงมาใช้สิทธิตามกรมธรรม์สมัครใจแต่มีข้อยกเว้น
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ
ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย และอนามัย
ตัวอย่าง
• นายก้อง ถูกรถยนต์ของนายเกียรติชน ทำาให้นาย
ก้องได้รับบาดเจ็บมีค่ารักาพยาบาล 70,000 บาท กรณี
นี้ นายก้องจะเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนเป็นค่ารักษา
พยาบาล ดังนี้
• 1. เรียกร้องจากกรมธรรม์ พ.ร.บ ที่รถนายเกียรติ ทำา
ประกันไว้เป็นเงินไม่เกิน 50,000 บาท
• 2. เรียกร้องจากกรมธรรม์ภาคสมัครใจที่รถของนาย
เกียรติทำาประกันภัยในส่วนของค่ารักษาพยาบาลได้
อีก 20,000 บาท
• ทั้งนี้ ไม่รวมค่าอนามัยที่จะเรียกร้องจากกรมธรรม์
ภาคสมัครใจได้อีก เพราะตามกรมธรรม์พ.ร.บได้จ่าย
เต็มความคุ้มครองแล้ว
• แต่ถ้ารถของนายเกียรติ ไม่ได้ทำาประกันภัยพ.ร.บ
เอาไว้ คงทำาแต่กรมธรรม์สมัครใจ กรณีนี้ บริษัท
• 2. กรณีนั่งโดยสารในรถ
• 2.1 กรณีรถที่เรานั่งเป็นฝ่ายผิด
• ในกรณีนี้สิทธิของผู้โดยสารเป็นไปเช่นเดียวกับ
กรณีเป็นบุคคลภายนอกรถ กล่าวคือ ย่อมเป็นฝ่ายถูก
ตลอด (เว้นแต่มีส่วนกระทำา)
• ดังนั้น ผู้โดยสารที่เป็นฝ่ายถูกย่อมมีสิทธิเรียกร้อง
ค่าสินไหมทดแทนส่วนเกินความรับผิดชอบตามกรมธร
รม์พ.ร.บ ในกรมธรรม์สมัครใจ
• แต่มีข้อยกเว้น คือ ผู้โดยสารจะต้องไม่ใช่บิดา
มารดา บุตร หรือคู่สมรส หรือลูกจ้างในทางการที่จ้าง
ของผู้ขับขี่ ทั้งนี้ บิดา มารดา บุตร ให้ยึดตามความจริง
ส่วนคู่สมรสให้ยึดถือตามกฎหมาย
• หมายความว่า แม้ผู้โดยสารจะเป็นผู้เสียหายแต่
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ
ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย และอนามัย
ตัวอย่าง
• นายกล้า กับนางก้อย นั่งโดยสารในรถที่นายกล้วย
เป็นผู้ขับขี่ ปรากฎว่านายกล้วยขับรถโดยประมาท รถ
เสียหลักพลิกควำ่า ทำาให้นายกล้ากับนางก้อยถึงแก่
ความตาย ถ้าข้อเท็จจริงปรากฏว่านายกล้าเป็นบิดาที่
ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกับมารดาของนายกล้วย ส่วน
นางก้อยเป็นภรรยาของนายกล้วย แต่ไม่ได้จด
ทะเบียนสมรสกัน กรณีนี้กรมธรรม์ประกันภัยภาค
สมัครใจ ไม่ต้องรับผิดชอชดใช้ค่าปลงศพของนายก
ล้า เพราะถือว่าเป็นบิดาตามจริง แม้ไม่ชอบด้วย
กฎหมายก็ตาม เพราะการบิดาที่ชอบด้วยกฎหมายจะ
ต้องจดทะเบียนสมรสกับมารดา ส่วนค่าปลงศพนาง
ก้อย บริษัทประกันภัยต้องรับผิดชอบชดใช้เพราะไม่
เข้าข้อยกเว้นตามกรมธรรม์แต่อย่างใด เพราะไม่ได้
เป็นภรรยาที่ชอบด้วยกฎหมาย เพราะภรรยาที่จะชอบ
• 2. กรณีนั่งโดยสารในรถ (ต่อ)
• 2.2 กรณีรถที่เรานั่งเป็นฝ่ายถูก
โดยหลักของกรมธรรม์ภาคสมัครใจจะชดใช้ค่า
สินไหมทดแทน เมื่อผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดตาม
กฎหมาย เนื่องจากการใช้รถคันเอาประกันภัย ดังนั้น
หากรถที่เรานั่งไม่ได้เป็นฝ่ายผิด ผู้ขับขี่รถที่เรานั่งจึง
ไม่ต้องชดใช้ค่าเสียหายใดๆ ผู้เสียหายหรือทายาท
ย่อมไปใช้สิทธิเรียกร้องจากฝ่ายผิด เพราะตาม
กรมธรรม์สมัครใจไม่มีหลักสำารองจ่ายเหมือนกรมธร
รม์พ.ร.บ
• 2.3 กรณีรถที่เรานั่งโดยสารมา ประมาทด้วยกันกับ
รถอื่น
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ
ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย และอนามัย
ตัวอย่าง
• หากรถของนายกล้วยชนกับรถของนายก้าน
และปรากฎข้อเท็จจริงว่า ทั้งนายกล้วยและนายก้าน
เป็นฝ่ายผิดทั้งคู่
• แม้ตามกรมธรรม์ภาคสมัครใจที่คุ้มครองนาย
กล้วย จะสามารถปฎิเสธความรับผิดชอบค่าเสียหาย
ของนายกล้าได้ แต่กรมธรรม์สมัครใจที่คุ้มครองรถ
ของนายก้านไม่สามารถปฎิเสธความรับผิดชอบค่า
เสียหายของนายกล้าได้ บริษัทประกันภัยรถของ
นายก้านจึงต้องจ่ายค่าสินไหมทดแทนให้แก่นายก
ล้า หรือ ทายาท
 จำานวนเงินขั้นตำ่าของกรมธรรม์สมัครใจ กรณีจำานวนเงินขั้นตำ่าของกรมธรรม์สมัครใจ กรณี
เกี่ยวกับชีวต ร่างกาย อนามัยเกี่ยวกับชีวต ร่างกาย อนามัย
• ตามสัญญาประกันภัยภาคสมัครใจ ได้
กำาหนดวงเงินขั้นตำ่า ที่บริษัทประกันภัยจะต้องรับ
ผิดชดใช้ต่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้เสียหาย หรือ
ทายาทเอาไว้ 2 กรณี คือ
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ
ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย และอนามัย
กรณีเสียชีวิต กรณีทุพพลภาพถาวร
กรณีเสียชีวิต
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ
ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย และอนามัย
a. 100,000 บาท หากผู้เสียชีวิตไม่มีผู้ขาดไร้อุปการะ
คือผู้ตายไม่มีภาระเลี้ยงดูใครตามกฎหมาย
a. 100,000 บาท หากผู้เสียชีวิตไม่มีผู้ขาดไร้อุปการะ
คือผู้ตายไม่มีภาระเลี้ยงดูใครตามกฎหมาย
ข. 300,000 บาท ผู้เสียชีวิตมีผู้ขาดไร้อุปการะข. 300,000 บาท ผู้เสียชีวิตมีผู้ขาดไร้อุปการะ
• “คำาว่า ขาดไร้อุปการะ” หมายถึง การที่ทำาให้
ผู้อื่นถึงแก่ความตาย และมีบุคคลที่ต้องอาศัยการ
ยังชีพจากบุคคลที่ตาย หรือทำาให้คนที่มีชีวิตอยู่
ขาดคนเลี้ยงดู เนื่องจากตายไปแล้ว ดังนั้น
ตามกรมธรรม์จึงกำาหนดให้มีการจ่ายขั้นตำ่าแตก
ต่างกัน
• บุคคลที่จะสามารถเรียกร้องค่าขาดไร้อุปการะ
หมายถึง คนที่ไม่สามารถทำาอาชีพ
การงานใดๆได้ เนื่องจากรถยนต์ที่เป็น
ฝ่ายทำาให้เกิดขึ้น ดังั้นตามสัญญา
กรมธรรม์จึงกำาหนดให้จ่ายค่าสินไหม
ทดแทนขั้นตำ่า คือ 300,000 บาท
ในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน
นี้ตามกรมธรรม์ บังคับให้บริษัทประกัน
ภัยจ่ายค่าเสียหายขั้นตำ่า หากกรมธรรม์
นั้นมีความคุ้มครองสูงกว่านี้ เช่น
1,000,000 บาท ผู้เสียหายหรือทายาท
ย่อมมีสิทธิเรียกร้องได้อีกตามแต่จะ
ตกลงกัน
สำาหรับค่าเสียหายที่เป็นกรณีของ
ค่ารักษาพยาบาล หรือค่าอนามัย สมา
รถเรียกร้องได้เฉพาะส่วนเกินความ
กรณีทุพพลภาพถาวร
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ
ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย และอนามัย
ข้อสังเกต ในการจ่ายค่าเสียหาย เนื่องจากการสูญเสียอวัยวะ
ระหว่างกรมธรรม์พ.ร.บ และภาคสมัครใจมีความแตกต่างกัน ซึ่ง
• กรณีตามกรมธรรม์พ.ร.บ
• แต่กรณีตามกรมธรรม์สมัครใจ
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ
ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย และอนามัย
หากสูญเสียอวัยวะแม้ 1 ข้อ
ของนิ้วใดนิ้วหนึ่ง จะต้องจ่าย
เต็มวงเงินคุ้มครองคือ
200,000 บาท
ไม่ได้บังคับเอาไว้ แต่กรณี
การสูญเสียอวัยวะที่จะต้อง
จ่ายคือ หากเป็นกรณีมือ ต้อง
ถูกต้องมือตั้งแต่ข้อมือขึ้นไป
และต้องมีอวัยวะอื่นอีกด้วยอีก
1 อย่าง เช่น แขนขาด พร้อม
ขาขาด หากขาดข้างเดียวจะ
ความคุ้มครองเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
....อุบัติเหตุส่วนบุคคล....
การประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล หรือ (PA) เป็นก
รมธรรม์ที่ให้ความคุ้มครองต่อชีวิต ร่างกาย เพิ่มเติม
ขึ้นมาโดยถือว่า ไม่ว่าผู้บาดเจ็บหรือผู้ตายจะเป็น
ใครก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นบุคคลในครอบครัวของผู้
ขับขี่ หรือแม้แต่กับผู้ขับขี่รถประกันภัยเองก็จะได้รับ
ความคุ้มครอง และไม่ว่ารถคันที่เกิดเหตุจะเป็นฝ่าย
ผิดหรือถูกก็ตาม
โดยการประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลนี้แบ่งออก
เป็น 2 ประเภท คือ
กรณีตาม
กรมธรรม์สมัคร
ใจ
กรณีตาม
กรมธรรม์สมัคร
ใจ
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ
ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย และอนามัย
ความคุ้มครองเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
....อุบัติเหตุส่วนบุคคล....กรณีตาม
กรมธรรม์สมัคร
ใจ
กรณีตาม
กรมธรรม์สมัคร
ใจ
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ
ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย และอนามัย
โดยการประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลนี้
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. กรณีเสียชีวิต ( รย 01 )
บริษัทประกันภัยจะจ่ายค่า
สินไหมทดแทนเต็มตามจำานวน
เงินที่ระบุเอาไว้ในกรมธรรม์
เช่น 100,000 บาท หรือ
200,000 บาท เป็นต้น ให้แก่
ทายาท ทั้งนี้เมื่อจ่ายแล้วบริษัท
ความคุ้มครองเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
....อุบัติเหตุส่วนบุคคล....กรณีตาม
กรมธรรม์สมัคร
ใจ
กรณีตาม
กรมธรรม์สมัคร
ใจ
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ
ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย และอนามัย
2. กรณีบาดเจ็บ
( รย 02 )
บริษัทประกันภัยจะ
จ่ายค่ารักษาพยาบาล
ตามใบเสร็จ ให้แก่ผู้
บาดเจ็บ หรือทายาท
หรือผู้บาดเจ็บสามารถ
เรียกร้องบริษัทประกัน
ภัยจ่ายได้ทันที โดยไม่
ต้องไปเรียกร้องจาก
• นอกจากผู้เสียหาย หรือทายาท จะเรียกร้องค่าเสีย
หายที่เกี่ยวกับชีวิต ร่างกาย และอนามัย แล้วหากมีความ
เสียหายที่เป็นทรัพย์สินด้วยผู้เสียหาย หรือทายาท
สามารถเรียกร้องให้ฝ่ายผิดชดใช้ค่าเสียหายได้
• 1. ผู้กระทำาความผิด
• 2. นายจ้างหรือตัวการ หรือผู้ปกครอง ของผู้กระทำา
ความผิด
• 3. บริษัทประกันภัยที่ได้รับประกันภัยรถคันที่เป็นฝ่าย
ผิด
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ
ความเสียหายต่อทรัพย์สิน
ารเรียกร้องค่าทรัพย์สินที่เสียหาย
ที่จะต้องรับผิดชอบชดใช้ทรัพย์สิน
• กรณีตามกรมรรม์ประกันภัย ได้กำาหนดวงเงินความรับ
ผิดชอบต่อความเสียหายของทรัพย์สินของบุคคล
ภายนอกไว้เป็นเงินไม่เกิน 1,000,000 บาท หากปรากฎ
ว่ารถที่ทำาประกันไว้เป็นฝ่ายผิดไปชนทรัพย์สินของผู้อื่น
เสียหาย 1,200,000 บาท บริษัทประกันภัยฝ่ายผิดก็จะ
ชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ฝ่ายถูกเป็นเงิน 1,000,000 บาท
ส่วนอีก 200,000 บาท ผู้ขับขี่รถที่เป็นฝ่ายผิดหรือ
นายจ้างหรือตัวการจะต้องชดใช้ให้แก่ผู้เสียหาย
• นายจ้างที่จะต้องรับผิดร่วมกับลูกจ้างที่เป็นผู้ขับขี่รถ
คันที่เป็นฝ่ายผิดนั้น จะต้องเป็นกรณีที่ลูกจ้างกระทำา
ละเมิดต่อบุคคลอื่นในเวลาที่จ้าง หรือในทางการที่จ้าง
หากนอกเวลาจ้าง เช่น เลิกงานแล้ว หรือเป็นวันหยุด
ะต้องรับผิดชอบชดใช้ทรัพย์สิน(ต่อ)ะต้องรับผิดชอบชดใช้ทรัพย์สิน(ต่อ)
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ
ความเสียหายต่อทรัพย์สิน
ตัวอย่าง
• เมื่อทรัพย์สินเสียหาย เจ้าของทรัพย์สินหรือทายาท
ย่อมมีสิทธิเรียกร้องให้ฝ่ายผิดชดใช้ค่าเสียหาย ดังนี้
1. คืนทรัพย์สินหรือจัดซ่อมให้ หรือชดใช้เป็นตัวเงิน
2. ค่าขาดประโยชน์ที่ไม่ได้ใช้สอยทรัพย์สินระหว่าง
เสียหายหรือกำาลังซ่อม
3. ดอกเบี้ยตามกฎหมายให้คิดร้อยละ 7.5 ต่อปี (ตาม
ป.พ.พ มาตรา 224)
การคืนทรัพย์สิน เช่น การซื้อทรัพย์ที่มีสภาพ
เดียวกันให้โดยความพอใจทั้ง 2 ฝ่าย
การชดใช้เป็นตัวเงิน เป็นวิธีการที่ง่ายที่สุด คือ คู่
กรณีตกลงกันว่าค่าเสียหายของทรัพย์สินเป็นเงินเท่าใด
สามารถเรียกร้องเกี่ยวกับทรัพย์สินที่สามารถเรียกร้องเกี่ยวกับทรัพย์สิน
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ
ความเสียหายต่อทรัพย์สิน
ามารถเรียกร้องเกี่ยวกับทรัพย์สิน(ต่อ)สามารถเรียกร้องเกี่ยวกับทรัพย์สิน(ต่อ)
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ
ความเสียหายต่อทรัพย์สิน
• ค่าขาดประโยชน์ที่ไม่ได้ใช้สอยทรัพย์ที่เสียหาย
คือ กรณีที่เจ้าของทรัพย์สินที่เสียหายต้องมีภาระเพิ่ม
เติมเนื่องจากไม่มีทรัพย์ให้ใช้
• เช่น รถเราถูกชน เราไม่มีรถใช้ ทำาให้ต้องไปจ้าง
หรือเช่ารถอื่น หรือต้องใช้บริการรถแท็กซี่ ซึ่งทำาให้มี
ค่าใช้จ่ายมากขึ้นเหล่านี้ คือ ค่าขาดประโยชน์ที่ไม่ได้
ใช้สอยทรัพย์สิน จนกว่าจะจัดซ่อมเสร็จ ดังนั้น ผู้เสีย
หายย่อมมีสิทธิที่จะเรียกร้องค่าเสียหายในส่วนนี้ได้
นอกเหนือจากการเรียกร้องค่าซ่อมแล้ว
• หากรถคันที่เป็นฝ่ายผิดได้ทำาประกันภัยเอาไว้
ทำาให้ผู้เสียหายสามารถเรียกร้องค่าเสียหายจาก
บริษัทประกันภัยได้โดยตรงตามความเสียหายที่ได้
ตกลงกันเอาไว้ แต่ทั้งนี้บริษัทประกันภัยจะรับผิด
ชอบไม่เกินวงเงินที่จำากัดความรับผิดชอบใน
สัญญาประกันภัย เช่น 600,000 บาท 1,000,000
บาท หรือแล้วแต่ระบุไว้ในกรมธรรม์
• ในการรับผิดชอบต่อทรัพย์สินที่เสียหายนี้
บริษัทประกันภัยจะชดใช้ให้แก่บุคคลภายนอกทุก
กร้องค่าสินไหมทดแทนจากบริษัทประกันภัยยกร้องค่าสินไหมทดแทนจากบริษัทประกันภัย
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ
ความเสียหายต่อทรัพย์สิน
• ทรัพย์สินบางประเภทหรือบางชนิดแม้จะเป็นของ
บุคคลภายนอก แต่สัญญาประกันภัยก็ได้มีข้อยกเว้น
ความรับผิดชอบเอาไว้ คือ
ย์สินที่บริษัทประกันภัยไม่ต้องรับผิดชอบย์สินที่บริษัทประกันภัยไม่ต้องรับผิดชอบ
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ
ความเสียหายต่อทรัพย์สิน
ทรัพย์สินที่เป็นของผู้เอาประกันภัยเอง
องผู้ขับขี่ที่รถทีเป็นฝ่ายผิด หรือเป็นของบิดา
รดา คู่สมรส หรือบุตรของผู้เอาประกันภัย
มเสียหายของเครื่องชั่ง สะพาน ถนน สนาม
งที่อยู่ใต้สิ่งดังกล่าว เช่น ท่อประปา สายไฟ
เป็นต้น ที่เกิดความเสียหายเนื่องจากแรงสั่น
หรือนำ้าหนักบรรทุกของรถคันเอาประกันภัย
3. ทรัพย์สินที่บรรทุก หรืออยู่ในรถคันที่เป็นฝ
4. ทรัพย์สินที่ได้รับความเสียหายเนื่องจากก
ไหลของสารเคมี หรือวัตถุอันตรายจากรถ
เอาประกันภัยโดยรถไม่ได้เกิดอุบัติเหต
หรือไม่ใช่จากพวกระบบเชื้อเพลิง
ตัวอย่าง
1. ทรัพย์สินที่เป็นของผู้เอาประกันภัยเอง
หรือของผู้ขับขี่ที่รถทีเป็นฝ่ายผิดหรือเป็น ของ
บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรของผู้เอาประกันภัย
• นายก้อง เป็นผู้เอาประกันภัยรถยนต์ ก และ
เป็นนายจ้างของนายเก่ง ต่อมา นายเก่งได้ขับรถ
ก ในระหว่างทางการที่จ้างไปชนรถ ข ของนาย
ก้อง กรณีความเสียหายของรถ ข บริษัทประกัน
ภัยไม่ต้องรับผิดชอบความเสียหายใดๆ เพราะ
เป็นข้อยกเว้นตามสัญญาประกันภัย
ตัวอย่าง
2. ความเสียหายของเครื่องชั่ง สะพาน ถนน
สนาม หรือสิ่งที่อยู่ใต้สิ่งดังกล่าว เช่น ท่อประปา
สายไฟ ท่อก๊าซ เป็นต้น ที่เกิดความเสียหาย
เนื่องจากแรงสั่นสะเทือน หรือนำ้าหนักบรรทุกของ
รถคันเอาประกันภัย
รถ ก ทำาประกันภัยเอาไว้ได้วิ่งขึ้นไปบนตาชั่ง
เพื่อชั่งถ่วงนำ้าหนักว่าสิ่งของที่บรรทุกนั้นมีนำ้า
หนักเท่าใดขณะที่อยู่บนตาชั่ง ปรากฎว่าตาชั่งหัก
เนื่องจากของที่บรรทุกมีนำ้าหนักมากกว่าที่ตาชั่ง
จะรับได้ กรณีนี้ บริษัทประกันภัยไม่ต้องรับผิด
ชอบความเสียหายของตาชั่ง เพราะเสียหาย
เนื่องจากนำ้าหนักของที่บรรทุก
ตัวอย่าง
3. ทรัพย์สินที่บรรทุก หรืออยู่ในรถคันที่เป็น
ฝ่ายผิด
• นางสาวสุดสวย ได้นั่งรถโดยสาร ก ระหว่าง
ที่วิ่งอยู่ รถ ก ได้เกิดอุบัติเหตุพลิกควำ่า นางสาวสุด
สวยกระเด็นออกนอกรถ และทำาให้แหวนเพชร
20 กะรัต ที่สวมอยู่ในนิ้วนางกระเด็นสูญหายไป
• กรณีนี้นางสาวสุดสวยจะเป็นบุคคลภายนอก
และเป็นผู้เสียหาย ก็ไม่สามารถเรียกร้องค่าแหวน
เพชรดังกล่าวจากบริษัทประกันภัยที่รับประกันภัย
รถ ก ได้ เพราะเข้าข้อยกเว้น คือ เป็นทรัพย์สินที่
อยู่ในรถคันเกิดเหตุ แต่อย่างไรก็ตามนางสาวสุด
สวย สามารถเรียกร้องตามกฎหมายให้ผู้ขับขี่รถ
ก หรือนายจ้างของผู้ขับขี่ หรือตัวการของผู้ขับขี่
ชดใช้ค่าเสียหายได้
ตัวอย่าง
4. ทรัพย์สินที่ได้รับความเสียหายเนื่องจาก
การรั่วไหลของสารเคมี หรือวัตถุอันตรายจากรถ
คันเอาประกันภัยโดยรถไม่ได้เกิดอุบัติเหตุ หรือ
ไม่ใช่จากพวกระบบเชื้อเพลิง
• รถ ก บรรทุกสารเคมีของนาย ค และจอด
อยู่ปรากฎว่าสารเคมีรั่วไหล ทำาให้นาข้าวของ
นาย ข ได้รับความเสียหาย กรณีเช่นนี้ บริษัท
ประกันภัยไม่ต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายของ
นาข้าวนาย ข แต่นาย ข มีสิทธิเรียกร้องให้นาย
ค ชดใช้ค่าเสียหายได้
ข้อควรจำา ในการเรียกร้องของผู้เสียหาย หรือท
แม้จะใช้สิทธิเรียกร้องจากบริษัทประกันภัยแล้ว ห
พอใจหรืออาจเต็มความคุ้มครองตามสัญญาประ
แล้ว แต่ยังไม่คุ้มครองค่าเสียหายของผู้เสียหาย ห
ที่เข้าข้อยกเว้นตามสัญญาประกันภัยผู้เสียหายหรือ
ย่อมมีสิทธิเรียกร้องจากผู้กระทำาความผิดหรือผู้เกี่ยว
• การเกี่ยวข้องในฐานะผู้ขับขี่นี้ แบ่งออกได้เป็น
2 กรณี คือ
 ในฐานะที่เราเป็นฝ่ายถูก
ในฐานะที่เราเป็นฝ่ายผิด
ผู้ขับขี่ที่เป็นฝ่ายถูก ย่อมมีสิทธิเช่นเดียวกับ
ผู้เสียหายที่เป็นบุคคลภายนอกที่ได้กล่าวมา
แล้ว กล่าวคือ ย่อมมีสิทธิเรียกร้องค่าเสีย
หายทั้งต่อชีวิต ร่างกาย อนามัย และความ
การเกี่ยวข้องในฐานะผู้ขับขี่
ผู้ขับขี่ที่เป็นฝ่ายผิด
1. ความรับผิด
ในทางแพ่ง
2. ความรับผิด
ในทางอาญา
ผู้ขับขี่ที่เป็นฝ่ายผิด
1. ความรับผิด
ในทางแพ่ง
คือ การที่ผู้ขับขี่รถ และผู้
เกี่ยวข้องรวมทั้งบริษัทประกัน
ภัยจะต้องเข้าไปชดใช้ค่า
สินไหมทดแทนให้แก่ฝ่ายถูก
ตามความเสียหายที่เกิดขึ้น
ความรับผิดทางแพ่งจึงเป็นการ
บังคับให้ฝ่ายผิดชดใช้ค่าเสีย
หายจากทรัพย์สินโดยตรง ไม่
ได้มุ่งเน้นความรับผิดที่จะ
ลงโทษตัวบุคคลเป็นหลัก
ในทางแพ่งหากไม่มีการ
ผู้ขับขี่ที่เป็นฝ่ายผิด
1. ความรับผิด
ในทางแพ่ง
(ต่อ)
ความรับผิดทางแพ่ง เช่น การจ่ายค่าซ่อม การจ่าย
ค่าปลงศพ ค่าขาดประโยชน์ หรือ ดอกเบี้ย เป็นต้น ดัง
ที่เขียนไว้ข้างต้นแล้ว
นอกจากนี้ แม้รถคันที่เป็นฝ่ายผิดจะมีการทำา
ประกันภัยเอาไว้ แต่ตัวผู้กระทำาความผิดก็ยังไม่พ้นผิด
เป็นการส่วนตัว หากปรากฎว่าความเสียหายนั้นเกิน
ความคุ้มครองตามสัญญากรมธรรม์ประกันภัย หรือเข้า
ข้อยกเว้นสัญญาประกันภัย ผู้ขับขี่ที่เป็นฝ่ายผิดไม่
สามารถเรียกร้องค่าเสียหายใดๆ
นอกจากผู้ขับขี่เป็นฝ่าย
ผิดจะต้องรับผิดชอบในทาง
แพ่งแล้ว ผู้ขับขี่ที่เป็นฝ่ายผิด
จะต้องรับผิดชอบในทาง
อาญาด้วย
ในความรับผิดชอบทาง
อาญานี้เป็นความรับผิด
เฉพาะตัวผู้กระทำาความผิด
มุ่งลงโทษผู้กระทำาความผิด
โดยตรง ไม่มีบุคคลอื่นเข้ามา
รับโทษแทนได้ แม้จะมี
นายจ้างจะให้นายจ้างมารับ
โทษแทนก็ไม่ได้ หรือจะให้
ผู้ขับขี่ที่เป็นฝ่ายผิด
2. ความรับผิด
ในทางอาญา
• ในการลงโทษทางอาญาที่จะ
ใช้ลงโทษผู้กระทำาความผิดมี
ดังนี้
1. ปรับ
2. จำาคุก
3. ทั้งปรับ และจำาคุก
4. ตัดสิทธิการใช้ใบอนุญาต
ขับขี่รถ เป็นครั้งคราว หรือ
เพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ไป
เลย
ผู้ขับขี่ที่เป็นฝ่ายผิด
2. ความรับผิด
ในทางอาญา
(ต่อ)
• กฎหมายที่ใช้ลงโทษผู้ขับขี่รถที่เป็นฝ่ายผิด
• กฎหมายหลักๆ ที่ใช้ในการลงโทษผู้ขับขี่รถที่
เป็นฝ่าย มีดังนี้
• 1. พ.ร.บ ขนส่งทางบก
• 2. พ.ร.บ รถยนต์
• 3. พ.ร.บ จราจรทางบก
• 4. ประมวลกฎหมายอาญา
• ในที่นี้จะกล่าวเฉพาะความผิดตามพ.ร.บ
จราจรทางบก และตามประมวลกฏหมายอาญา
เท่านั้น
ความรับผิดในทางอาญา
ความรับผิดในทางอาญา
• ความรับผิดตาม พ.ร.บ จราจรทางบก และประมวล
กฎหมายอาญา
เมื่อผู้ขับขี่รถฝ่าฝืนกฎหรือสัญญาณต่างๆที่กำาหนด
เอาไว้ในพ.ร.บ จราจรทางบก และก่อให้เกิดความเสียหาย
ต่อบุคคลอื่นทั้งต่อชีวิต ร่างกาย อนามัย และทรัพย์สิน หรือ
ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายใด เช่น กรณีขับรถฝ่าสัญญาณ
ไฟ ผู้ขับขี่ดังกล่าวย่อมมีความผิดทางกฎหมาย
ในที่นี้จะพูดเฉพาะประเด็นความผิดที่มีผู้เสียหาย ส่วน
ประเด็นที่ผิดอื่น หรือฝ่าฝืนสัญญาณจะไม่พูดถึง
ความรับผิดในทางอาญา
• ความรับผิดตาม พ.ร.บ จราจรทางบก และประมวลกฎหมายอาญา
• ผู้ขับขี่รถที่เป็นฝ่ายผิดจะมีโทษตาม พ.ร.บ จราจรทางบก และตาม
ประมวลกฎหมายอาญา 4 ประการ คือ
1. ขับขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ทรัพย์สินของผู้อื่นเสียหาย1. ขับขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ทรัพย์สินของผู้อื่นเสียหาย
ขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กาย หรือ จิตใจขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กาย หรือ จิตใจ
3. ขับขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส3. ขับขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
4. ขับขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย4. ขับขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
ความรับผิดในทางอาญา
• ความรับผิดตาม พ.ร.บ จราจรทางบก และประมวลกฎหมาย
อาญา
ทั้ง 4 ประการนี้ ผู้ขับขี่จะต้องกระทำาโดยประมาท หากผู้ขับขี่จะ
ต้องกระทำาโดยประมาท หากผู้ขับขี่ทำาโดยเจตนาคือตั้งใจ โทษก็จะ
หนักขึ้น แต่โดยหลักแล้วถือว่าในการขับขี่รถแล้วเกิดความเสียหาย
นั้นเป็นการกระทำาโดยประมาท หากเป็นการกระทำาโดยเจตนา
บริษัทประกันภัยไม่ต้องรับผิดชอบ
กระทำาโดยประมาท คือ การกระทำาที่ไม่ได้เจตนา แต่กระทำา
โดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมี
ความวิสัย และพฤติการณ์ และผู้กระทำาอาจใช้ความระมัดระวังเช่น
ว่านั้นได้ แต่ไม่ใช้ให้เพียงพอ (มาตรา 59 วรรค 4 ปอ.)
ความรับผิดในทางอาญา
• ความรับผิดตาม พ.ร.บ จราจรทางบก และประมวลกฎหมายอาญา
จากคำาที่กฎหมายกำาหนดเอาไว้ แสดงว่าการกระทำาโดยประมาทนั้น
ต้องไม่ใช่เป็นการกระทำาเจตนา แต่ผู้กระทำานั้นขาดความระมัดระวัง ซึ่งระดับ
ของความระมัดระวังนี้ย่อมขึ้นอยู่กับวิสัยของแต่ละคน เช่น อายุน้อย ย่อมขาด
ความระมัดระวังมากกว่าคนที่มีอายุมากกว่า ผู้หญิงย่อมมีความระมัดระวังน้อย
กว่าผู้ชาย เป็นต้น
ตามพฤติการณ์ เช่น เวลากลางวัน กลางคืน สว่าง หรือมืด เป็นต้น โดย
กฎหมายเห็นว่า บุคคลนั้นสามารถใช้ความระมัดระวังได้ แต่ไม่ใช้ให้เพียงพอ
จึงเป็นความประมาท เช้น ฝนตก ถนนลื่น ผู้ขับขี่โดยทั่วไปต้องขับรถให้ช้าลง
เพื่อป้องกันการเกิดเหตุ แต่ถ้าเราขับเร็วมากแล้วเกิดเหตุเช่นนี้ ถือว่าเรา
ประมาท เพราะไม่ใช้ความระมัดระวังทั้งๆที่สามารถใช้ความระมัดระวังได้
ความรับผิดในทางอาญา
• ความรับผิดตาม พ.ร.บ จราจรทางบก และประมวลกฎหมายอาญา
ในการขับขี่รถโดยประมาท หรือฝ่ายผิดนี้ จะต้องรับโทษซึ่งแบ่งการก
ระทำาออกเป็น 4 ขั้น คือ
บขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ทรัพย์สินของผู้อื่นเสียหาย
ตัวอย่าง นายไชยา ขับขี่รถฝ่าไฟแดง ไปชนรถของนายเขียว ได้รับความเสียหาย เช่นนี้นาย
ไชยา จะมีความผิดฐานฝ่าฝืนสัญญาณไฟแดงมีโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท ( ตามพ.ร.บ
จราจร มาตรา22 ประกอบมาตรา 152 ) และมีความผิดฐานขับขี่รถโดยประมาท หรือน่า
หวาดเสียว อันอาจเกิดอันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์นั้น (มาตรา 43 (4) ประกอบมาตรา 157
แห่งพ.ร.บ จราจรทางบก) ซึ่งมีโทษปรับตั้งแต่ 400 – 1,000 บาท
จากความผิดข้อนี้ เป็นความผิดที่ทำาให้เกิด
ความเสียหายแก่ทรัพย์สินของผู้อื่นอย่างเดียว ไม่มี
ผู้ได้รับบาดเจ็บ ดังนั้น จึงมีแต่โทษปรับอย่างเดียว
แต่ถ้ามีความผิดอื่นประกอบ เช่น ขับขี่รถโดยมีการ
เสพยาเสพติด หรือเสพวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิต หรือ
ขับขี่รถขณะเมาสุรา จะมีโทษสูงขึ้น แม้ไม่มีผู้ได้รับ
บาดเจ็บหรือตาย ก็จะมีโทษจำาคุกไม่เกิน 3 เดือน
ปรับตั้งแต่ 2,000 – 10,000 บาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ
ความรับผิดในทางอาญา
รถประมาท เป็นเหตุให้ทรัพย์สินของผู้อื่นเสียหาย
เมื่อผู้ขับขี่เป็นฝ่ายผิดก่อให้เกิดความเสียหาย
แก่ผู้อื่น และมีผู้โดยสารบาดเจ็บ ทำาให้ผู้ขับขี่นั้น
ต้องมีโทษที่หนักขึ้นโดยนอกจากจะมีความผิด
ตามพ.ร.บ จราจร ตามมาตร 43 (3) แล้ว ก็จะมีความ
ผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 390 ซึ่งมี
โทษจำาคุกไม่เกิน 1 เดือน ปรับไม่เกิน 1,000 บาท
หรือทั้งจำาทั้งปรับ
แต่ถ้าผู้ขับขี่รถที่เป็นฝ่ายผิดมีการกระทำาอย่าง
อื่นเพิ่มด้วย โทษก็จะสูงขึ้น เช่น ขับขี่รถขณะเมา
สุราแล้วชนผู้อื่นมีผู้ได้รับบาดเจ็บ ก็จะมีโทษจำาคุก
ตั้งแต่ 1 ปีถึง 5 ปี ปรับตั้งแต่ 20,000 บาท ถึง 100,000
บาท (ตามพ.ร.บ จราจรทางบก มาตรา 43 (2)
ความรับผิดในทางอาญา
ถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กาย หรือ จิตใจ
ถ้าหลบหนีไม่แจ้งเหตุต่อเจ้า
หน้าที่จะมีโทษจำาคุกไม่เกิน 3
เดือน ปรับตั้งแต่ 2,000 – 10,000
บาท หรือ ทั้งจำาทั้งปรับ อีกกระทง
หนึ่งด้วย
ความผิดตามกรณีนี้ จะต้องมีผู้
ได้รับบาดเจ็บแก่กาย หรือ จิตใจ
คือ บาดเจ็บเล็กน้อย โดยแขนขา
ไม่หักและรักษาไม่เกิน 20 วัน แต่
ความรับผิดในทางอาญา
ถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กาย หรือ จิตใจ
• ความผิดกรณีนี้ ผู้ขับขี่
จะต้องรับโทษหนักขึ้น
โดย เนื่องจากทำาให้ผู้
อื่นได้รับบาดเจ็บสาหัส
คำาว่า สาหัส หมายถึง
ความรับผิดในทางอาญา
ขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัสขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
อด หูหนวก ลิ้นขาด หรือเสียฆานประสาท
อวัยวะสืบพันธ์ หรทอความสามารถสืบพันธ์
ยแขน ขา มือ เท้า นิ้ว หรืออวัยวะอื่นใด
4. หน้าเสียโฉมอย่างติดตัว
5. แท้งลูก
6. จิตพิการอย่างติดตัว
7. ทุพพลภาพ หรือป่วย เจ็บ เรื้อรัง
ซึ่งอาจถึงตลอดชีวิต
8. ทุพพลภาพ หรือป่วย เจ็บ ด้วยอาการ
ทุกขเวทนา เกินกว่า 20 วัน หรือจนประ
กอบกรณีกิจตามปกติไม่เกินกว่า 20 วัน
• หากเข้ากรณีนี้ผู้ขับขี่ที่เป็นฝ่ายผิดจะมีโทษทาง
กฎหมาย ดังนี้
• 1. ความผิดตาม พ.ร.บ จราจรทางบก
• 1.1 ผิดฐานขับขี่รถโดยประมาท หรือ น่า
หวาดเสียวอันอาจเกิดอันตรายแก่บุคคลหรือ
ทรัพย์สิน (ซึ่งมีโทษตามมาตรา 43 (4) ประกอบ
มาตรา 157)
• 1.2 หากเมาสุราจะมีโทษสูงขึ้น ตามมาตรา 43 (2)
ประกอบมาตรา 160 ตรี คือ จำาคุกตั้งแต่ 2 ปีถึง 6 ปี
ปรับตั้งแต่ 40,000 บาท ถึง 120,000 บาท
(หมายความทั้งจำาคุกและปรับ) ซึ่งแตกต่างกับคำาว่า
ความรับผิดในทางอาญา
ขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
ความรับผิดในทางอาญา
• หากเข้ากรณีนี้ผู้ขับขี่ที่เป็นฝ่ายผิดจะมีโทษทางกฎหมาย ดังนี้ (ต่อ)
• 2. ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
• ได้มีการกำาหนดโทษเอาไว้ในมาตรา 300 แห่งประมวลกฎหมาย
อาญา โดยมีโทษจำาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือ
ทั้งจำาทั้งปรับ
ขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
ความรับผิดในทางอาญา
ขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
• กรณีเป็นเรื่องที่ขับขี่รถแล้วเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความ
ตาย ซึ่งจะมีโทษตามกฎหมาย 2 ส่วน คือ
• 1. ความผิดตามพ.ร.บ จราจรทางบก จะมีโทษ ดังนี้
• 1.1 ขับขี่รถโดยประมาท หรือหวาดเสียวมีโทษปรับตั้งแต่
400 – 1,000 บาท (มาตรา 43 (4) ประกอบมาตรา 157)
• 1.2 หากขณะเกิดเหตุผู้ขับขี่เมาสุราจะมีโทษจำาคุกตั้งแต่ 3
ปีถึง 10 ปี ปรับตั้งแต่ 60,000 บาทถึง 200,000 บาท (ข้อนี้ศาล
ต้องจำาคุกและปรับด้วยไม่เลือกว่าอย่างใดอย่างหนึ่ง)
• 1.3 หากู้ขับขี่หลบหนีไม่แจ้งเหตุก็จะมีความผิดจำาคุกไม่
เกิน 6 เดือน หรือปรับตั้งแต่ 5,000 – 20,000 บาท
ความรับผิดในทางอาญา
ขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
• 2. ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
• ซึ่งตามมาตรา 291 ได้กำาหนดโทษไว้ คือ จำาคุกไม่เกิน 10 ปี และปรับไม่
เกิน 20,000 บาท
• ดังนั้น ในความรับผิดทางอาญานี้ ผู้ขับขี่รถที่เป็นฝ่ายผิดจะต้องรับโทษ
ตามแต่ว่าผู้เสียหายได้รับความเสียหายขนาดไหน
• อย่างไรก็ตาม ในเรื่องความรับผิดทางอาญาของผู้ขับขี่รถนี้ อาจจะมี
กรณที่ผู้ขับขี่รถคู่กรณีเป็นฝ่ายประมาทด้วย แต่กฎหมายถือว่าผู้ขับขี่รถ
แต่ละคันจะต้องรับผิดชอบตามความผิดของตนเองไม่ใช่เป็นการร่วมกัน
กระทำา ดังนั้นที่เรามักใช้คำาว่า ประมาทร่วมกัน ในทางกฎหมายไม่มี ดัง
นั้นตามตัวอย่าง กรณีมีโทษจำาคุก 10 ปี สำาหรับการกระทำาโดยประมาท
เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย หากปรากฏตามข้อเท็จจริงว่าเกิดจาก
การกระทำาความผิดของผู้ขับขี่รถทั้ง 2 ฝ่าย เช่น การลงโษผู้กระทำาความ
ผิดจะมีโทษคนละไม่เกิน 10 ปี ไม่ใช่นำาหาร 10 ปีมาหาร 2 ซึ่งแตกต่างจาก
ความรับผิดทางแพ่ง หากประมาทร่วมกันหรือผิดร่วมกัน ความเสียหายก็
ต้องหาร 2 เป็นต้น
• 1. หากมีโทษจำาคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน
1,000 บาท พนักงานสอบสวนสามารถเปรียบเทียบปรับ
ได้เลย หากผู้เสียหายยินยอมหรือหากมีโทษปรับอย่าง
เดียว หากพนักงานสอบสวนปรับอัตราสูง คดีอาญาเป็น
อันยุติ
• 2. หากมีผู้บาดเจ็บตั้งแต่สาหัสขึ้นไปจนตาย พนักงาน
สอบสวนไม่มีอำานาจเปรียบเทียบปรับ จะต้องรับเป็นคดี
และต้องส่งฟ้องต่อศาลโดยขณะที่ยังไม่ส่งฟ้องศาล
พนักงานสอบสวนมีอำานาจควบคุมตัวผู้ขับขี่รถได้ไม่เกิน
24 ชั่วโมง หากเกิน 24 ชั่วโมง พนักงานสอบสวนจะต้อง
ผลัดฟ้องต่อศาลและฝากขังผู้ขับขี่ต่อไปตามประมวล
ความรับผิดในทางอาญา
ผู้ขับขี่มีความผิดทางอาญา ก็จะมีขั้นตอนการดำาเนินคดี คือผู้ขับขี่มีความผิดทางอาญา ก็จะมีขั้นตอนการดำาเนินคดี คือ
ทำอย่างไร
ทำอย่างไร
ทำอย่างไร
ทำอย่างไร

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

Sistema de información 1
Sistema de información 1Sistema de información 1
Sistema de información 1Josias Reyes
 
Pranata Sosial IPS kelompok IV (SKK-1 Jakarta Pusat)
Pranata Sosial IPS kelompok IV (SKK-1 Jakarta Pusat)Pranata Sosial IPS kelompok IV (SKK-1 Jakarta Pusat)
Pranata Sosial IPS kelompok IV (SKK-1 Jakarta Pusat)Ceriscan
 
Τα είδη των αντωνυμιών και ο συντακτικός τους ρόλος
Τα είδη των αντωνυμιών  και ο συντακτικός τους ρόλοςΤα είδη των αντωνυμιών  και ο συντακτικός τους ρόλος
Τα είδη των αντωνυμιών και ο συντακτικός τους ρόλοςGeorgia Dimitropoulou
 
Controlling der digitalen Transformation: Denkimpulse
Controlling der digitalen Transformation: DenkimpulseControlling der digitalen Transformation: Denkimpulse
Controlling der digitalen Transformation: DenkimpulseUlrich Egle
 

Andere mochten auch (7)

2 lesiones deportivas
2 lesiones deportivas2 lesiones deportivas
2 lesiones deportivas
 
Untitled Presentation
Untitled PresentationUntitled Presentation
Untitled Presentation
 
Sistema de información 1
Sistema de información 1Sistema de información 1
Sistema de información 1
 
Minyak kayu putih
Minyak kayu putihMinyak kayu putih
Minyak kayu putih
 
Pranata Sosial IPS kelompok IV (SKK-1 Jakarta Pusat)
Pranata Sosial IPS kelompok IV (SKK-1 Jakarta Pusat)Pranata Sosial IPS kelompok IV (SKK-1 Jakarta Pusat)
Pranata Sosial IPS kelompok IV (SKK-1 Jakarta Pusat)
 
Τα είδη των αντωνυμιών και ο συντακτικός τους ρόλος
Τα είδη των αντωνυμιών  και ο συντακτικός τους ρόλοςΤα είδη των αντωνυμιών  και ο συντακτικός τους ρόλος
Τα είδη των αντωνυμιών και ο συντακτικός τους ρόλος
 
Controlling der digitalen Transformation: Denkimpulse
Controlling der digitalen Transformation: DenkimpulseControlling der digitalen Transformation: Denkimpulse
Controlling der digitalen Transformation: Denkimpulse
 

Ähnlich wie ทำอย่างไร

การประกันภัยรถยนต์
การประกันภัยรถยนต์การประกันภัยรถยนต์
การประกันภัยรถยนต์KruPor Sirirat Namthai
 
งานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยงานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยDiZz Tang Art Zii
 
งานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยงานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยDiZz Tang Art Zii
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ KruPor Sirirat Namthai
 
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัยความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัยคิง เกอร์
 
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์chakaew4524
 
คปภ นายพชรพล เพ็ชรสินธพ นายพีระพล แจ่มศิริพรหม
คปภ นายพชรพล เพ็ชรสินธพ นายพีระพล แจ่มศิริพรหมคปภ นายพชรพล เพ็ชรสินธพ นายพีระพล แจ่มศิริพรหม
คปภ นายพชรพล เพ็ชรสินธพ นายพีระพล แจ่มศิริพรหมจ๊อบ พชร
 
บทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยบทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยchakaew4524
 
คปภ ประกันภัย
คปภ ประกันภัยคปภ ประกันภัย
คปภ ประกันภัยChanakan Sukha
 
Fire Powerpoint Presentation
Fire  Powerpoint PresentationFire  Powerpoint Presentation
Fire Powerpoint Presentationtiffany14021975
 
Fire Powerpoint Presentation
Fire  Powerpoint PresentationFire  Powerpoint Presentation
Fire Powerpoint Presentationtiffany14021975
 

Ähnlich wie ทำอย่างไร (14)

การประกันภัยรถยนต์
การประกันภัยรถยนต์การประกันภัยรถยนต์
การประกันภัยรถยนต์
 
งานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยงานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ย
 
งานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยงานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ย
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
 
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัยความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
 
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
 
คปภ นายพชรพล เพ็ชรสินธพ นายพีระพล แจ่มศิริพรหม
คปภ นายพชรพล เพ็ชรสินธพ นายพีระพล แจ่มศิริพรหมคปภ นายพชรพล เพ็ชรสินธพ นายพีระพล แจ่มศิริพรหม
คปภ นายพชรพล เพ็ชรสินธพ นายพีระพล แจ่มศิริพรหม
 
บทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยบทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัย
 
คปภ ประกันภัย
คปภ ประกันภัยคปภ ประกันภัย
คปภ ประกันภัย
 
คปภ
คปภคปภ
คปภ
 
Doc2
Doc2Doc2
Doc2
 
Iar Powerpoint Print
Iar Powerpoint PrintIar Powerpoint Print
Iar Powerpoint Print
 
Fire Powerpoint Presentation
Fire  Powerpoint PresentationFire  Powerpoint Presentation
Fire Powerpoint Presentation
 
Fire Powerpoint Presentation
Fire  Powerpoint PresentationFire  Powerpoint Presentation
Fire Powerpoint Presentation
 

ทำอย่างไร

  • 2. เมื่อตัวเรำหรือบุคคลอื่น เกิดอุบัติเหตุขึ้น เนื่องจำกกำรขับขี่รถยนต์ บุคคลผู้ได้รับควำมเสีย หำยหรือทำยำทของบุคคลนั้นย่อมมีสิทธิ และ หน้ำที่ตำมกฎหมำยที่กำำหนด แล้วแต่ว่ำเรำอยู่ใน ฐำนะอะไร เช่น เป็นผู้สียหำยหรือเป็นผู้กระทำำ ควำมผิด หรือเป็นบริษัทประกันภัยที่จะต้องชดใช้ ค่ำเสียหำยแทนผู้เอำประกันภัย แต่อย่ำงไรก็ตำม ก่อนที่จะถึงขั้นตอนกำรใช้ สิทธิตำมกฎหมำย ผู้ที่เห็นเหตุกำรณ์ขณะเกิดเหตุ หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกับรถที่เกิดเหตุควรปฎิบัติ ตนอย่ำงไร เพื่อให้เกิดประโยชน์และควำม ปลอดภัยของทุกฝ่ำย จึงเห็นว่ำควรปฎิบัติหรือ
  • 3. 1. ตั้งสติให้ดี อย่ำตื่นตระหนกเกินไป เพรำะสติเป็นสิ่งสำำคัญ จำกรถคันที่เกิดเหตุให้เร็วที่สุด เพรำะอำจเกิดไฟลุกไหม้หรือระเบิด 3. อย่ำยืนอยู่กลำงถนน ให้ไปอยู่ที่ไหล่ทำง นย้ำยรถออกจำกที่เกิดเหตุ เพรำะท่ำนอำจเป็นฝ่ำยผิดเองได้ อนย้ำยให้ทำำร่องรอยหรือเขียนแผนที่ให้อีกฝ่ำยลงลำยมือชื่อกำำกับ รำเกิดเหตุฝ่ำยเดียว ื่องหมำยท้ำย/หน้ำรถ เพื่อรถคันอื่นเห็นแต่ไกลเพื่อป้องกันอุบัติเหตุซ
  • 4. 6. แจ้งเจ้ำหน้ำที่ตำำรวจ และบริษัทประกันภัย หำกรถมีประกันภัย 7. อย่ำตกลงเจรจำใดๆ กับอีกฝ่ำย ช่วยเหลือผู้บำดเจ็บตำมสมควร อีกทั้งต้องระมัดระวังรถอื่นที่ตำมมำด น ตัวท่ำนอำจถูกรถอื่นเฉี่ยวชนได้ บหนี จำกที่เกิดเหตุโดยไม่จำำเป็น หำกท่ำนเป็นผู้ขับขี่รถยนต์แล้วเก เพรำะกำรหลบหนีกฎหมำยให้สันนิษฐำนไว้ก่อนว่ำท่ำนเป็นฝ่ำยผิด ำคุกแม้ภำยหลังจะพิสูจน์ได้ว่ำท่ำนไม่เป็นฝ่ำยผิด 10. ถ่ำยรูปต่ำงๆ ตำมจำำเป็น เพื่อใช้เป็นพยำนหลักฐำน * จำกนั้นจึงเข้ำสู่ขั้นตอนกำรเรียกร้องค่ำเสียหำยหรือควำมรับผิดทั้งทำง
  • 5. ในฐำนะ ผู้โดยสำร หรือ บุคคลภำยนอก  สิทธิที่จะเรียกร้องค่ำเสียหำยจำกฝ่ำยผิดในทำงเพ่ง  สิทธิที่จะดำำเนินคดีในทำงอำญำ  บุคคลที่ต้องรับผิดชอบค่ำเสียหำย  อำยุควำมเรียกร้องค่ำเสียหำย  กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนจำกบริษัทประกัน  . .กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์พ ร บ  กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์สมัครใจ  กำรเรียกร้องค่ำทรัพย์สินที่เสียหำย ในฐำนะ ผู้ขับขี่  ผู้ขับขี่เป็นฝ่ำยผิด ควำมรับผิดในทำงเพ่ง ควำมรับผิดในทำงอำญำ  ควำมรับผิดตำม พ.ร.บ จรำจรทำง บกและประมวลกฎหมำยอำญำ  ขั้นตอนดำำเนินคดีเมื่อผู้ขับขี่มี ควำมผิดทำงอำญำ  ควรทำำ..เมื่อถูกแจ้งข้อหำ ขับขี่รถ โดยประมำทและก่อให้เกิดควำม เสียหำยแก่ผู้อื่น * * * ท่ำนสำมำรถคลิกดูรำยละเอียดที่หัว
  • 6. สิทธิที่จะเรียกร้องค่ำเสียหำยจำกฝ่ำยผิดในทำงแพ่ง กรณีบำดเจ็บ กรณีตำย กรณีทรัพย์สินเสียหำย ำรักษำพยำบำลที่จ่ำยไปจริง ำรักษำพยำบำลในอนำคต ำทำำศัลยกรรมที่จำำเป็น ำขำดประโยชน์จำกกำรทำำ หำได้ระหว่ำงบำดเจ็บ ำเสียควำมสำมำรถในกำร ะกอบอำชีพในอนำคต ำอนำมัย อกเบี้ย 1.ค่ำรักษำพยำบำลก่อนตำย 2.ค่ำรำยได้ก่อนตำย 3.ค่ำปลงศพ 4.ค่ำใช้จ่ำยอันจำำเป็นในกำรจัด กำรศพ 5.ค่ำขำดไร้อุปกำระ 6.ดอกเบี้ย 1.จ่ำยค่ำซ่อม หรือค่ำเสียหำย ทรัพย์สินสูญหำย หรือถูกทำำ 2.ค่ำขำดประโยชน์จำกกำรใ 3.ค่ำเสื่อม เสื่อมรำคำ 4.ดอกเบี้ย
  • 7. • หำกผู้โดยสำร หรือบุคคล ภำยนอกได้รับควำมเสียหำยต้องบำด เจ็บ สูญเสียอวัยวะ หรือ เสียชีวิต สำมำรถร้องทุกข์กล่ำวโทษ หรือฟ้อง คดีอำญำผู้กระทำำผิดต่อพนักงำน สอบสวน หรือศำลได้ แต่หำกมีแต่ ทรัพย์สินเสียหำยอย่ำงเดียว ผู้เสียหำย ฟ้องคดีอำญำเองไม่ได้ เพรำะมีควำม ผิดเฉพำะ พ.ร.บ จรำจรทำงบกเท่ำนั้น • หำกผู้โดยสำร หรือบุคคล ภำยนอกได้รับควำมเสียหำยต้องบำด เจ็บ สูญเสียอวัยวะ หรือ เสียชีวิต สำมำรถร้องทุกข์กล่ำวโทษ หรือฟ้อง คดีอำญำผู้กระทำำผิดต่อพนักงำน สอบสวน หรือศำลได้ แต่หำกมีแต่ ทรัพย์สินเสียหำยอย่ำงเดียว ผู้เสียหำย ฟ้องคดีอำญำเองไม่ได้ เพรำะมีควำม ผิดเฉพำะ พ.ร.บ จรำจรทำงบกเท่ำนั้น สิทธิที่จะดำำเนินคดีในทำงอำญำ
  • 8. บุคคลที่ต้องรับผิดชอบค่ำเสียหำย ผู้ที่เป็นฝ่ำยผิด ซึ่งอำจมีมำกกว่ำ 1 ฝ่ำยก็ได้ผู้ที่เป็นฝ่ำยผิด ซึ่งอำจมีมำกกว่ำ 1 ฝ่ำยก็ได้ . นำยจ้ำงของผู้เป็นฝ่ำยผิดและ...เกิดเหตุ ในเวลำที่เรียกว่ำทำงกำรที่จ้ำง . นำยจ้ำงของผู้เป็นฝ่ำยผิดและ...เกิดเหตุ ในเวลำที่เรียกว่ำทำงกำรที่จ้ำง 3. บิดำ มำรดำ ของผู้กระทำำที่เป็นผู้เยำว์3. บิดำ มำรดำ ของผู้กระทำำที่เป็นผู้เยำว์ 4. ตัวกำร เช่น บขส. ขสมก. เป็นต้น4. ตัวกำร เช่น บขส. ขสมก. เป็นต้น 5. ครูอำจำรย์ หรือผู้ดูแล ผู้ไร้ควำมสำมำร5. ครูอำจำรย์ หรือผู้ดูแล ผู้ไร้ควำมสำมำร 6. บริษัทประกันภัย ที่เป็นผู้รับประกันภัยร ที่เป็นฝ่ำยผิด 6. บริษัทประกันภัย ที่เป็นผู้รับประกันภัยร ที่เป็นฝ่ำยผิด
  • 9.  1. กรณีเรียกร้องจำกผู้กระทำำควำมผิด นำยจ้ำงตัวกำร ฯลฯ จะต้องเรียกร้อง ดังนี้ 1.1 ภำยใน 1 ปี นับแต่วันเกิดเหตุ หำกรู้กำรกระทำำผิด และรู้ตัวผู้กระทำำผิด 1.2 ภำยใน 10 ปี นับแต่วันเกิดเหตุ หำกเพิ่งรู้กำรกระทำำ ผิด หรือเพิ่งรู้ตัว กระทำำผิด หรือต้อง ฟ้องคดีภำยใน 2 ปีนับแต่วันเกิดเหตุ  2. กรณีเรียกร้องจำก บริษัทประกันภัย โดยตรงต้องเรียก ร้องภำยใน 2 ปี นับแต่วันเกิดเหตุหรือต้อง ฟ้องคดีภำยใน 2 ปีนับแต่วันเกิดเหตุ  3. หำกมีกำรฟ้องคดีอำญำและศำลลงโทษฝ่ำยผิด ผู้เสีย อำยุควำมเรียกร้องค่ำเสียหำย
  • 10. • เมื่อรถคันที่ก่อให้เกิดควำมเสียหำย ได้ทำำประกันภัย เอำไว้ ผู้เสียหำยหรือทำยำทย่อมมีสิทธิที่จะเรียกร้องให้ บริษัทประกันชดใช้ค่ำเสียหำยได้โดยตรง หรือโดย ทั่วไปเจ้ำของรถฝ่ำยผิดมักจะให้ผู้เสียหำยไปเรียกร้อง จำกบริษัทประกันภัย • ในกำรเรียกร้องจำกบริษัทประกันภัยนั้น มีข้อยุ่งยำก และขั้นตอนหลำยอย่ำง เรำจึงจำำเป็นที่จะต้องเรียนรู้ สำำหรับกรมธรรม์ที่ให้ควำมคุ้มครองในกรณีนี้ที่เกี่ยวกับ เรื่องรถยนต์จะมีด้วยกัน 2 กรมธรรม์ คือ 1. กรมธรรม์ประกันภัยคุ้มครองผู้ประสบภัยจำกรถ หรือที่จะเรียกกันว่ำ กรมธรรม์ พ.ร.บ 2. กรมธรรม์ภำคสมัครใจ เช่น ประเภทหนี่ง ประเภท กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนจำกบริษัทประกัน
  • 11. กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์ พ.ร.บ • กรมธรรม์นี้จะให้กำรคุ้มครองหรือชดใช้ค่ำเสียหำยให้ แก่ผู้เสียหำยในส่วนที่เกี่ยวกับชีวิต ร่ำงกำย และอนำมัย เท่ำนั้น ในส่วนควำมเสียหำยของทรัพย์สินกรมธรรม์ พ.ร.บ ไม่คุ้มครอง ควำมเสียหำยของชีวิตควำมเสียหำยของร่ำงกำย ค่ำอนำมัย กรณีเสียชีวิต กรณีได้รับบำดเจ็บ หรือสูญเสียอวัยวะ กรณีที่ได้รับบำดเจ็บแล้ว ทำำให้ผู้อื่นได้รับบำดเจ็บ ไม่สำมำรถใช้อวัยวะ ต่ำงๆได้ดีเช่นเดิม • ทั้งนี้ในกำรเรียกร้องค่ำเสียหำยในส่วนนี้ สำมำรถเรียกร้องได้ตำมที่กล่ำวใน หัวข้อกำรเรียกร้องในฐำนะผู้โดยสำร
  • 13. กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์ พ.ร.บ จำำนวนเงินค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์ พ.ร.บ 1. กรณีตำย 2. กรณีสูญเสียอวัยวะ หรือทุพพลภำพถำวร 3. กรณีได้รับบำด เจ็บมีค่ำรักษำ พยำบำลและค่ำ อนำมัย4.ได้รับบำดเจ็บ ต้อง นอนรักษำตัวในร.พ. บริษัทประกันภัยต้องจ่ำยเต็มจำำนวนเงิน ตำมกรมธรรม์คือ 200,000 บำท บริษัทประกันภัยต้องจ่ำยเป็นเงิน 200,000 บริษัทประกันภัยจะรับผิดชอบไม่เกิน 50,000 บริษัทประกันภัยจ่ำยชดเชยรำยได้วันละ 20 รวมแล้วไม่เกิน 20 วัน รวมเป็นเงิน 4,000 บ
  • 14. จำำนวนเงินค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์ พ.ร.บ อย่ำงไรก็ตำม หำกได้รับบำดเจ็บต้องนอนโรง พยำบำล ต้องตัดมือ ตัดขำ แล้วต่อมำเสียชีวิต บริษัท ประกันภัยจะรับผิดชอบรวมทั้งหมดไม่เกิน 204,000 บำท เท่ำนั้น กำรเรีกยร้องค่ำสินไหมทดแทนนี้จะต้องเรียกร้อง จำกฝ่ำยที่กระทำำควำมผิด หำกยังไม่สำมำรถพิสูจน์ ควำมผิดถูกได้ ผู้เสียหำยจะต้องเรียกร้องจำกบริษัท ประกันที่รับประกันภัยรถยนต์ที่เรำนั่งเท่ำนั้น ตัวอย่ำง นำยเคนนั่งโดยสำรในรถของนำยณัฐ วุฒิ และได้ขับรถไปชนกับรถของนำยจตุพร นำยเคน ได้รับบำดเจ็บ แต่พนักงำนสอบสวนยังไม่สำมำรถชี้ได้ ว่ำเหตุครั้งนี้เป็นควำมผิดของนำยณัฐวุฒิ หรือ นำยจตุ กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์ พ.ร.บ
  • 15. จำำนวนเงินค่ำเสียหำยเบื้องต้น มี 2 กรณี คือ 15,000 บำท 35,000 บำท สำำหรับกรณีที่ผู้ประสบภัยได้รับ บำดเจ็บ เข้ำรักษำพยำบำล บริษัทประกันภัยจะจ่ำย ค่ำรักษำพยำบำลให้ตำมจริง แต่ไม่เกิน 15,000 บำท สำำหรับกรณีที่ผู้ประสบภัยได้รับ บำดเจ็บ เข้ำรักษำพยำบำล บริษัทประกันภัยจะจ่ำย ค่ำรักษำพยำบำลให้ตำมจริง แต่ไม่เกิน 15,000 บำท ถึงแก่ควำมตำยถึงแก่ควำมตำย สูญเสียอวัยวะ หรือ ตำบอด หูหนวก ทุพลภำพถำวร ฯลฯ สูญเสียอวัยวะ หรือ ตำบอด หูหนวก ทุพลภำพถำวร ฯลฯ กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์ พ.ร.บ
  • 16. • ทั้งนี้หำกผู้ประสบภัยได้รับบำดเจ็บแล้วต่อ มำเสียชีวิต บริษัทประกันภัยจะจ่ำยค่ำเสีย หำยเป็นค่ำรักษำพยำบำลตำมจริง แต่ไม่เกิน 15,000 บำท และค่ำปลงศพอีก 35,000 บำท รวมแล้ว บริษัทประกันภัยจ่ำยค่ำเสียหำย เบื้องต้น ไม่เกิน 50,000 บำท • หรือ กรณีได้รับบำดเจ็บ ต่อมำต้องตัดนิ้ว ตัดขำ ถือว่ำสูญเสียอวัยวะ บริษัทประกันภัยก็ จะจ่ำยค่ำรักษำพยำบำลตำมที่จ่ำยจริง แต่ไม่ จำำนวนเงินค่ำเสียหำยเบื้องต้น กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์ พ.ร.บ
  • 17.  ระยะเวลำในกำรเรียกร้องค่ำเสียหำย • ตำมเงื่อนไขกรมธรรม์คุ้มครองผู้ประสบภัยจำกรถข้อ 5 ได้กำำหนดระยะเวลำในกำรใช้สิทธิเรียกร้องค่ำเสีย หำยเบื้องต้นเอำไว้ว่ำจะต้องเรียกร้องภำยใน 180 วัน นับแต่เกิดควำมเสียหำย • หมำยควำมว่ำ เมื่อเกิดควำมเสียหำย ผู้ประสบภัยจะ ต้องเรียกร้องค่ำเสียหำยเบื้องต้นกับบริษัทประกันภัย ภำยใน 180 วัน เพรำะเห็นว่ำค่ำเสียหำยเบื้องต้นเป็น กรณีอันจำำเป็นจึงไม่ต้องพิสูจน์ผิดถูกเพื่อให้ผู้เสียหำย ได้รับเงินชดใช้อันจำำเป็น หำกรอพิสูจน์ผิดถูกอำจไม่มี เงินค่ำรักษำ พยำบำล หรือไม่มีเงินค่ำทำำศพ จำำนวนเงินค่ำเสียหำยเบื้องต้น กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์ พ.ร.บ
  • 18. เช่น รถสองคันชนกัน แล้วกระเด็นชนคนเดิน ถนน โดยยังไม่ได้ข้อสรุปว่ำใครผิดใครถูก คนเดินถนน ย่อมสำมำรถเรียกร้องค่ำเสียหำย เบื้องต้นจำกรถทั้ง 2 คัน โดยบริษัทประกันภัยรถแต่ละ คันจะรับผิดชอบคนละครึ่ง • ตัวอย่ำง นำยเก่ง ขับขี่รถยนต์ชนกับรถของก้อง แล้วรถ เสียหลักไปชนนำยไก่ ซึ่งเดินอยู่บนฟุตบำท ทำำให้ นำยไก่ได้รับบำดเจ็บมีค่ำรักษำพยำบำล 15,000 บำท และเหตุครั้งนี้ ยังไม่ได้ข้อสรุปว่ำใครเป็นฝ่ำยผิด กรณี กรณีผู้ประสบภัยเป็นบุคคลภำยนอก ทั้งจำกรถประกันและรถคู่กรณี กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์ พ.ร.บ
  • 19. • หำกผู้ประสบภัยมีค่ำเสียหำยเพิ่มขึ้น จำกค่ำเสีย หำยเบื้องต้น และ มีควำมประสงค์ที่จะเรียกร้องค่ำ สินไหมทดแทนในส่วนที่เกินนั้นจะต้องรอผลพิสูจน์ผิด ถูก โดยในส่วนของกรมธรรม์ พ.ร.บ ได้มีข้อตกลงกัน ในระหว่ำงบริษัทประกันภัยว่ำให้ยึดถือควำมเห็นของ พนักงำนสอบสวนเป็นข้อยุติ กล่ำวคือ หำกพนักงำน สอบสวนชี้ว่ำใครเป็นฝ่ำยผิด ให้บริษัทประกันภัยฝ่ำย ผิดนั้นรับผิดชอบโดยไม่โต้แย้งใดๆ • ดังนั้น เมื่อข้อพิสูจน์ว่ำใครผิดถูก ให้ผู้เสียหำยใช้ สิทธิ ดังนี้ 1. เรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนส่วนเกิน ค่ำเสีย กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์พ.ร.บ ส่วนเกินค่ำเสียหำยเบื้องต้น กำรเรียกร้องค่ำสินไหมทดแทนตำมกรมธรรม์ พ.ร.บ
  • 20. • 1. เรียกร้องค่าสินไหมทดแทนส่วนเกิน ค่าเสียหาย เบื้องต้นจากบริษัทประกันภัยที่เป็นฝ่ายผิด โดยกรณีนี้ ผู้เสียหายจะเรียกร้องเงินค่าสินไหม ส่วนเกินที่เรียกร้องจากบริษัทประกันภัยของตนเอง หรือเรียกร้องส่วนเกินที่ได้รับจากบริษัทประกันภัยฝ่าย ตนแล้ว แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินวงเงินคุ้มครองตามสัญญา ประกันภัย การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์พ.ร.บ ส่วนเกินค่าเสียหายเบื้องต้น การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์ พ.ร.บ
  • 21. • นายไก่ นั่งอยู่ในรถของนายเก่ง รถของนายเก่ง ชนกับรถของนายกวางนายไก่ ถึงแก่ความตาย บริษัทประกันภัยรถของนายเก่ง ได้จ่ายค่าเสียหาย เบื้องต้นให้ทายาทนายไก่ไป 35,000 บาท • ดังนั้น ต่อมาเมื่อพิสูจน์ได้ว่ารถของนายกวาง เป็นฝ่ายผิด กรณีนี้ทายาทของ นายไก่สามารถไป ใช้สิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากบริษัท ประกันภัยรถของนายเก่ง เป็นเงินที่ได้มีการทดรอง จ่ายไปก่อน และบริษัทประกันภัยรถของนายเก่ง สามารถสวมสิทธิไปเรียกร้องเงินที่จ่ายไปจำานวน 35,000 บาท คืนจากบริษัทประกันภัยของรถนายก วาง และเมื่อรวม 2 กรณี ทายาทนายไก่ ได้รับเงิน ครบตามความคุ้มครองกรมธรรม์แล้วคือ 200,000 บาท ดังนั้นบริษัทประกันภัยที่รับประกันภัยฝ่าย นายกวางจึงต้องจ่ายค่าเสียหายให้ทายาทนายไก่ เพียง 165,000 บาท และต้องจ่ายคืนให้บริษัทประกัน ภัยที่รับประกันรถของนายเก่งอีก 35,000 บาท ตัวอย่าง
  • 22. • 2. เรียกร้องจากบริษัทประกันภัยฝ่ายที่ตนเองนั่ง โดยสารมาเต็มจำานวนความคุ้มครองตามสัญญา กรมธรรม์ • ดังตัวอย่างข้างต้น ทายาทของนายไก่อาจจะเลือก ใช้สิทธิเรียกร้องจากบริษัทประกันภัยรถนายเก่ง ทั้งหมด คืออีก 165,000 บาท รวมกับเงินค่าเสียหาย เบื้องต้นอีก 35,000 บาท • ดังนั้น ทายาทนายไก่จะได้รับเงินค่าสินไหมทดแทน เป็นเงิน 200,000 บาท เมื่อบริษัทประกันภัยรถนายเก่ง ได้จ่ายเงินค่าสินไหมทดแทนไปแล้ว สามารถสวมสิทธิ การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์พ.ร.บ ส่วนเกินค่าเสียหายเบื้องต้น การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์ พ.ร.บ
  • 23. หากรถสองคันชนกันแล้วเสียหลักไปชนคน เดินถนนหรือตามตัวอย่างข้างต้น หากพิสูจน์แล้ว พบว่าเหตุที่เกิด เป็นความประมาททั้งนายเก่งและ นายกวาง ทายาทของนายไก่สามารถเรียกร้อง ค่าสินไหมทดแทนได้จากบริษัทประกันภัยของรถ ทั้งสองคัน ได้เต็มจำานวนความคุ้มครอง คือ บริษัทละ 200,000 บาท รวมเป็น 400,000 บาท (ไม่ใช่คนละ 100,000 บาท แต่อย่างใด) ซึ่งเป็น ไปตามหลักการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน มาตรา 432 แห่ง ป.พ.พ. ข้อสังเกต
  • 24. • เมื่อผู้เสียหายได้ใช้สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายตาม กรมธรรม์พ.ร.บ แล้วแต่ยังไม่คุ้มกับค่าเสียหายที่สูญ เสียไป ผู้เสียหายมีสิทธิที่จะเรียกร้องจากบริษัท ประกันภัยตามกรมธรรม์ภาคสมัครใจ หากรถคันนั้น ได้ทำาประกันภัยภาคสมัครใจไว้ด้วย แต่หากไม่มีการ ทำาประกันภาคสมัครใจไว้ ผู้เสียหายมีสิทธิเรียกร้อง จากผู้กระทำาละเมิดหรือนายจ้าง หรือตัวการของผู้ กระทำาละเมิดก็ได้ • ในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์ ภาคสมัครใจนี้ นอกจากผู้เสียหายจะเรียกร้องค่าเสีย หายต่อชีวิต ร่างกาย และอนามัยแล้ว ยังมีสิทธิเรียก ร้องค่าเสียหายของทรัพย์สินที่ได้รับความเสียหายด้วย การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ
  • 25. การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย และอนามัย  แบ่งออก 2 กรณี  เราไม่ได้โดยสารในรถ ถือเป็นบุคคลนอกรถ  นั่งโดยสารในรถ แบ่งออก เป็น รถที่เรานั่งโดยสารเป็นฝ่ายผิด รถที่เรานั่งโดยสารเป็นฝ่ายถูก รถที่เรานั่งโดยสารกับรถที่ชนกันต่างฝ่ายต่างผิด  จำานวนเงินขั้นตำ่าของกรมธรรม์ภาคสมัครใจ  . . ( )กรณีตามกรมธรรม์พ ร บ เมื่อสูญเสียอวัยวะ ความเสียหายต่อทรัพย์สิน  การเรียกร้องค่าทรัพย์สินที่เสีย หาย  ผู้ที่จะต้องรับผิดชอบชดใช้ค่า ทรัพย์สิน  สิ่งที่สามารถเรียกร้องเกี่ยวกับ ทรัพย์สิน  การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน จากบริษัทประกันภัย  ทรัพย์สินที่บริษัทประกันภัยไม่ ต้องรับผิดชอบ * * * ท่านสามารถคลิกดูรายละเอียดที่หัว
  • 26. • 1. กรณีเราไม่ได้โดยสารในรถ • ถือเป็นบุคคลภายนอก ตามหลักแล้วผู้เสียหาย เป็นฝ่ายถูก 99% เพราะตามพ.ร.บ จราจรทางบก มาตรา 32 ได้ให้ความคุ้มครองคนเดินเท้าว่าห้ามผู้ ขับขี่รถมาชนคน ไม่ว่าคนจะอยู่ตรงไหนของถนน แว้นแต่จะพิสูจน์ว่าคนประมาทเอง เช่น วิ่งตัดหน้า กระทันหัน เป็นต้น • ดังนั้น หากผู้เอาประกันภัย หรือผู้เสียหายเป็น ฝ่ายถูกย่อมมีสิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตาม รายละเอียดที่ได้พูดในบทว่าด้วย กรมธรรม์ พ.ร.บ จึงมาใช้สิทธิตามกรมธรรม์สมัครใจแต่มีข้อยกเว้น การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย และอนามัย
  • 27. ตัวอย่าง • นายก้อง ถูกรถยนต์ของนายเกียรติชน ทำาให้นาย ก้องได้รับบาดเจ็บมีค่ารักาพยาบาล 70,000 บาท กรณี นี้ นายก้องจะเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนเป็นค่ารักษา พยาบาล ดังนี้ • 1. เรียกร้องจากกรมธรรม์ พ.ร.บ ที่รถนายเกียรติ ทำา ประกันไว้เป็นเงินไม่เกิน 50,000 บาท • 2. เรียกร้องจากกรมธรรม์ภาคสมัครใจที่รถของนาย เกียรติทำาประกันภัยในส่วนของค่ารักษาพยาบาลได้ อีก 20,000 บาท • ทั้งนี้ ไม่รวมค่าอนามัยที่จะเรียกร้องจากกรมธรรม์ ภาคสมัครใจได้อีก เพราะตามกรมธรรม์พ.ร.บได้จ่าย เต็มความคุ้มครองแล้ว • แต่ถ้ารถของนายเกียรติ ไม่ได้ทำาประกันภัยพ.ร.บ เอาไว้ คงทำาแต่กรมธรรม์สมัครใจ กรณีนี้ บริษัท
  • 28. • 2. กรณีนั่งโดยสารในรถ • 2.1 กรณีรถที่เรานั่งเป็นฝ่ายผิด • ในกรณีนี้สิทธิของผู้โดยสารเป็นไปเช่นเดียวกับ กรณีเป็นบุคคลภายนอกรถ กล่าวคือ ย่อมเป็นฝ่ายถูก ตลอด (เว้นแต่มีส่วนกระทำา) • ดังนั้น ผู้โดยสารที่เป็นฝ่ายถูกย่อมมีสิทธิเรียกร้อง ค่าสินไหมทดแทนส่วนเกินความรับผิดชอบตามกรมธร รม์พ.ร.บ ในกรมธรรม์สมัครใจ • แต่มีข้อยกเว้น คือ ผู้โดยสารจะต้องไม่ใช่บิดา มารดา บุตร หรือคู่สมรส หรือลูกจ้างในทางการที่จ้าง ของผู้ขับขี่ ทั้งนี้ บิดา มารดา บุตร ให้ยึดตามความจริง ส่วนคู่สมรสให้ยึดถือตามกฎหมาย • หมายความว่า แม้ผู้โดยสารจะเป็นผู้เสียหายแต่ การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย และอนามัย
  • 29. ตัวอย่าง • นายกล้า กับนางก้อย นั่งโดยสารในรถที่นายกล้วย เป็นผู้ขับขี่ ปรากฎว่านายกล้วยขับรถโดยประมาท รถ เสียหลักพลิกควำ่า ทำาให้นายกล้ากับนางก้อยถึงแก่ ความตาย ถ้าข้อเท็จจริงปรากฏว่านายกล้าเป็นบิดาที่ ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกับมารดาของนายกล้วย ส่วน นางก้อยเป็นภรรยาของนายกล้วย แต่ไม่ได้จด ทะเบียนสมรสกัน กรณีนี้กรมธรรม์ประกันภัยภาค สมัครใจ ไม่ต้องรับผิดชอชดใช้ค่าปลงศพของนายก ล้า เพราะถือว่าเป็นบิดาตามจริง แม้ไม่ชอบด้วย กฎหมายก็ตาม เพราะการบิดาที่ชอบด้วยกฎหมายจะ ต้องจดทะเบียนสมรสกับมารดา ส่วนค่าปลงศพนาง ก้อย บริษัทประกันภัยต้องรับผิดชอบชดใช้เพราะไม่ เข้าข้อยกเว้นตามกรมธรรม์แต่อย่างใด เพราะไม่ได้ เป็นภรรยาที่ชอบด้วยกฎหมาย เพราะภรรยาที่จะชอบ
  • 30. • 2. กรณีนั่งโดยสารในรถ (ต่อ) • 2.2 กรณีรถที่เรานั่งเป็นฝ่ายถูก โดยหลักของกรมธรรม์ภาคสมัครใจจะชดใช้ค่า สินไหมทดแทน เมื่อผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดตาม กฎหมาย เนื่องจากการใช้รถคันเอาประกันภัย ดังนั้น หากรถที่เรานั่งไม่ได้เป็นฝ่ายผิด ผู้ขับขี่รถที่เรานั่งจึง ไม่ต้องชดใช้ค่าเสียหายใดๆ ผู้เสียหายหรือทายาท ย่อมไปใช้สิทธิเรียกร้องจากฝ่ายผิด เพราะตาม กรมธรรม์สมัครใจไม่มีหลักสำารองจ่ายเหมือนกรมธร รม์พ.ร.บ • 2.3 กรณีรถที่เรานั่งโดยสารมา ประมาทด้วยกันกับ รถอื่น การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย และอนามัย
  • 31. ตัวอย่าง • หากรถของนายกล้วยชนกับรถของนายก้าน และปรากฎข้อเท็จจริงว่า ทั้งนายกล้วยและนายก้าน เป็นฝ่ายผิดทั้งคู่ • แม้ตามกรมธรรม์ภาคสมัครใจที่คุ้มครองนาย กล้วย จะสามารถปฎิเสธความรับผิดชอบค่าเสียหาย ของนายกล้าได้ แต่กรมธรรม์สมัครใจที่คุ้มครองรถ ของนายก้านไม่สามารถปฎิเสธความรับผิดชอบค่า เสียหายของนายกล้าได้ บริษัทประกันภัยรถของ นายก้านจึงต้องจ่ายค่าสินไหมทดแทนให้แก่นายก ล้า หรือ ทายาท
  • 32.  จำานวนเงินขั้นตำ่าของกรมธรรม์สมัครใจ กรณีจำานวนเงินขั้นตำ่าของกรมธรรม์สมัครใจ กรณี เกี่ยวกับชีวต ร่างกาย อนามัยเกี่ยวกับชีวต ร่างกาย อนามัย • ตามสัญญาประกันภัยภาคสมัครใจ ได้ กำาหนดวงเงินขั้นตำ่า ที่บริษัทประกันภัยจะต้องรับ ผิดชดใช้ต่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้เสียหาย หรือ ทายาทเอาไว้ 2 กรณี คือ การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย และอนามัย กรณีเสียชีวิต กรณีทุพพลภาพถาวร
  • 33. กรณีเสียชีวิต การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย และอนามัย a. 100,000 บาท หากผู้เสียชีวิตไม่มีผู้ขาดไร้อุปการะ คือผู้ตายไม่มีภาระเลี้ยงดูใครตามกฎหมาย a. 100,000 บาท หากผู้เสียชีวิตไม่มีผู้ขาดไร้อุปการะ คือผู้ตายไม่มีภาระเลี้ยงดูใครตามกฎหมาย ข. 300,000 บาท ผู้เสียชีวิตมีผู้ขาดไร้อุปการะข. 300,000 บาท ผู้เสียชีวิตมีผู้ขาดไร้อุปการะ • “คำาว่า ขาดไร้อุปการะ” หมายถึง การที่ทำาให้ ผู้อื่นถึงแก่ความตาย และมีบุคคลที่ต้องอาศัยการ ยังชีพจากบุคคลที่ตาย หรือทำาให้คนที่มีชีวิตอยู่ ขาดคนเลี้ยงดู เนื่องจากตายไปแล้ว ดังนั้น ตามกรมธรรม์จึงกำาหนดให้มีการจ่ายขั้นตำ่าแตก ต่างกัน • บุคคลที่จะสามารถเรียกร้องค่าขาดไร้อุปการะ
  • 34. หมายถึง คนที่ไม่สามารถทำาอาชีพ การงานใดๆได้ เนื่องจากรถยนต์ที่เป็น ฝ่ายทำาให้เกิดขึ้น ดังั้นตามสัญญา กรมธรรม์จึงกำาหนดให้จ่ายค่าสินไหม ทดแทนขั้นตำ่า คือ 300,000 บาท ในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน นี้ตามกรมธรรม์ บังคับให้บริษัทประกัน ภัยจ่ายค่าเสียหายขั้นตำ่า หากกรมธรรม์ นั้นมีความคุ้มครองสูงกว่านี้ เช่น 1,000,000 บาท ผู้เสียหายหรือทายาท ย่อมมีสิทธิเรียกร้องได้อีกตามแต่จะ ตกลงกัน สำาหรับค่าเสียหายที่เป็นกรณีของ ค่ารักษาพยาบาล หรือค่าอนามัย สมา รถเรียกร้องได้เฉพาะส่วนเกินความ กรณีทุพพลภาพถาวร การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย และอนามัย ข้อสังเกต ในการจ่ายค่าเสียหาย เนื่องจากการสูญเสียอวัยวะ ระหว่างกรมธรรม์พ.ร.บ และภาคสมัครใจมีความแตกต่างกัน ซึ่ง
  • 35. • กรณีตามกรมธรรม์พ.ร.บ • แต่กรณีตามกรมธรรม์สมัครใจ การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย และอนามัย หากสูญเสียอวัยวะแม้ 1 ข้อ ของนิ้วใดนิ้วหนึ่ง จะต้องจ่าย เต็มวงเงินคุ้มครองคือ 200,000 บาท ไม่ได้บังคับเอาไว้ แต่กรณี การสูญเสียอวัยวะที่จะต้อง จ่ายคือ หากเป็นกรณีมือ ต้อง ถูกต้องมือตั้งแต่ข้อมือขึ้นไป และต้องมีอวัยวะอื่นอีกด้วยอีก 1 อย่าง เช่น แขนขาด พร้อม ขาขาด หากขาดข้างเดียวจะ
  • 36. ความคุ้มครองเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ....อุบัติเหตุส่วนบุคคล.... การประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล หรือ (PA) เป็นก รมธรรม์ที่ให้ความคุ้มครองต่อชีวิต ร่างกาย เพิ่มเติม ขึ้นมาโดยถือว่า ไม่ว่าผู้บาดเจ็บหรือผู้ตายจะเป็น ใครก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นบุคคลในครอบครัวของผู้ ขับขี่ หรือแม้แต่กับผู้ขับขี่รถประกันภัยเองก็จะได้รับ ความคุ้มครอง และไม่ว่ารถคันที่เกิดเหตุจะเป็นฝ่าย ผิดหรือถูกก็ตาม โดยการประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลนี้แบ่งออก เป็น 2 ประเภท คือ กรณีตาม กรมธรรม์สมัคร ใจ กรณีตาม กรมธรรม์สมัคร ใจ การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย และอนามัย
  • 37. ความคุ้มครองเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ....อุบัติเหตุส่วนบุคคล....กรณีตาม กรมธรรม์สมัคร ใจ กรณีตาม กรมธรรม์สมัคร ใจ การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย และอนามัย โดยการประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลนี้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. กรณีเสียชีวิต ( รย 01 ) บริษัทประกันภัยจะจ่ายค่า สินไหมทดแทนเต็มตามจำานวน เงินที่ระบุเอาไว้ในกรมธรรม์ เช่น 100,000 บาท หรือ 200,000 บาท เป็นต้น ให้แก่ ทายาท ทั้งนี้เมื่อจ่ายแล้วบริษัท
  • 38. ความคุ้มครองเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ....อุบัติเหตุส่วนบุคคล....กรณีตาม กรมธรรม์สมัคร ใจ กรณีตาม กรมธรรม์สมัคร ใจ การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย และอนามัย 2. กรณีบาดเจ็บ ( รย 02 ) บริษัทประกันภัยจะ จ่ายค่ารักษาพยาบาล ตามใบเสร็จ ให้แก่ผู้ บาดเจ็บ หรือทายาท หรือผู้บาดเจ็บสามารถ เรียกร้องบริษัทประกัน ภัยจ่ายได้ทันที โดยไม่ ต้องไปเรียกร้องจาก
  • 39. • นอกจากผู้เสียหาย หรือทายาท จะเรียกร้องค่าเสีย หายที่เกี่ยวกับชีวิต ร่างกาย และอนามัย แล้วหากมีความ เสียหายที่เป็นทรัพย์สินด้วยผู้เสียหาย หรือทายาท สามารถเรียกร้องให้ฝ่ายผิดชดใช้ค่าเสียหายได้ • 1. ผู้กระทำาความผิด • 2. นายจ้างหรือตัวการ หรือผู้ปกครอง ของผู้กระทำา ความผิด • 3. บริษัทประกันภัยที่ได้รับประกันภัยรถคันที่เป็นฝ่าย ผิด การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ ความเสียหายต่อทรัพย์สิน ารเรียกร้องค่าทรัพย์สินที่เสียหาย ที่จะต้องรับผิดชอบชดใช้ทรัพย์สิน
  • 40. • กรณีตามกรมรรม์ประกันภัย ได้กำาหนดวงเงินความรับ ผิดชอบต่อความเสียหายของทรัพย์สินของบุคคล ภายนอกไว้เป็นเงินไม่เกิน 1,000,000 บาท หากปรากฎ ว่ารถที่ทำาประกันไว้เป็นฝ่ายผิดไปชนทรัพย์สินของผู้อื่น เสียหาย 1,200,000 บาท บริษัทประกันภัยฝ่ายผิดก็จะ ชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ฝ่ายถูกเป็นเงิน 1,000,000 บาท ส่วนอีก 200,000 บาท ผู้ขับขี่รถที่เป็นฝ่ายผิดหรือ นายจ้างหรือตัวการจะต้องชดใช้ให้แก่ผู้เสียหาย • นายจ้างที่จะต้องรับผิดร่วมกับลูกจ้างที่เป็นผู้ขับขี่รถ คันที่เป็นฝ่ายผิดนั้น จะต้องเป็นกรณีที่ลูกจ้างกระทำา ละเมิดต่อบุคคลอื่นในเวลาที่จ้าง หรือในทางการที่จ้าง หากนอกเวลาจ้าง เช่น เลิกงานแล้ว หรือเป็นวันหยุด ะต้องรับผิดชอบชดใช้ทรัพย์สิน(ต่อ)ะต้องรับผิดชอบชดใช้ทรัพย์สิน(ต่อ) การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ ความเสียหายต่อทรัพย์สิน ตัวอย่าง
  • 41. • เมื่อทรัพย์สินเสียหาย เจ้าของทรัพย์สินหรือทายาท ย่อมมีสิทธิเรียกร้องให้ฝ่ายผิดชดใช้ค่าเสียหาย ดังนี้ 1. คืนทรัพย์สินหรือจัดซ่อมให้ หรือชดใช้เป็นตัวเงิน 2. ค่าขาดประโยชน์ที่ไม่ได้ใช้สอยทรัพย์สินระหว่าง เสียหายหรือกำาลังซ่อม 3. ดอกเบี้ยตามกฎหมายให้คิดร้อยละ 7.5 ต่อปี (ตาม ป.พ.พ มาตรา 224) การคืนทรัพย์สิน เช่น การซื้อทรัพย์ที่มีสภาพ เดียวกันให้โดยความพอใจทั้ง 2 ฝ่าย การชดใช้เป็นตัวเงิน เป็นวิธีการที่ง่ายที่สุด คือ คู่ กรณีตกลงกันว่าค่าเสียหายของทรัพย์สินเป็นเงินเท่าใด สามารถเรียกร้องเกี่ยวกับทรัพย์สินที่สามารถเรียกร้องเกี่ยวกับทรัพย์สิน การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ ความเสียหายต่อทรัพย์สิน
  • 42. ามารถเรียกร้องเกี่ยวกับทรัพย์สิน(ต่อ)สามารถเรียกร้องเกี่ยวกับทรัพย์สิน(ต่อ) การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ ความเสียหายต่อทรัพย์สิน • ค่าขาดประโยชน์ที่ไม่ได้ใช้สอยทรัพย์ที่เสียหาย คือ กรณีที่เจ้าของทรัพย์สินที่เสียหายต้องมีภาระเพิ่ม เติมเนื่องจากไม่มีทรัพย์ให้ใช้ • เช่น รถเราถูกชน เราไม่มีรถใช้ ทำาให้ต้องไปจ้าง หรือเช่ารถอื่น หรือต้องใช้บริการรถแท็กซี่ ซึ่งทำาให้มี ค่าใช้จ่ายมากขึ้นเหล่านี้ คือ ค่าขาดประโยชน์ที่ไม่ได้ ใช้สอยทรัพย์สิน จนกว่าจะจัดซ่อมเสร็จ ดังนั้น ผู้เสีย หายย่อมมีสิทธิที่จะเรียกร้องค่าเสียหายในส่วนนี้ได้ นอกเหนือจากการเรียกร้องค่าซ่อมแล้ว
  • 43. • หากรถคันที่เป็นฝ่ายผิดได้ทำาประกันภัยเอาไว้ ทำาให้ผู้เสียหายสามารถเรียกร้องค่าเสียหายจาก บริษัทประกันภัยได้โดยตรงตามความเสียหายที่ได้ ตกลงกันเอาไว้ แต่ทั้งนี้บริษัทประกันภัยจะรับผิด ชอบไม่เกินวงเงินที่จำากัดความรับผิดชอบใน สัญญาประกันภัย เช่น 600,000 บาท 1,000,000 บาท หรือแล้วแต่ระบุไว้ในกรมธรรม์ • ในการรับผิดชอบต่อทรัพย์สินที่เสียหายนี้ บริษัทประกันภัยจะชดใช้ให้แก่บุคคลภายนอกทุก กร้องค่าสินไหมทดแทนจากบริษัทประกันภัยยกร้องค่าสินไหมทดแทนจากบริษัทประกันภัย การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ ความเสียหายต่อทรัพย์สิน
  • 44. • ทรัพย์สินบางประเภทหรือบางชนิดแม้จะเป็นของ บุคคลภายนอก แต่สัญญาประกันภัยก็ได้มีข้อยกเว้น ความรับผิดชอบเอาไว้ คือ ย์สินที่บริษัทประกันภัยไม่ต้องรับผิดชอบย์สินที่บริษัทประกันภัยไม่ต้องรับผิดชอบ การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์สมัครใจ ความเสียหายต่อทรัพย์สิน ทรัพย์สินที่เป็นของผู้เอาประกันภัยเอง องผู้ขับขี่ที่รถทีเป็นฝ่ายผิด หรือเป็นของบิดา รดา คู่สมรส หรือบุตรของผู้เอาประกันภัย มเสียหายของเครื่องชั่ง สะพาน ถนน สนาม งที่อยู่ใต้สิ่งดังกล่าว เช่น ท่อประปา สายไฟ เป็นต้น ที่เกิดความเสียหายเนื่องจากแรงสั่น หรือนำ้าหนักบรรทุกของรถคันเอาประกันภัย 3. ทรัพย์สินที่บรรทุก หรืออยู่ในรถคันที่เป็นฝ 4. ทรัพย์สินที่ได้รับความเสียหายเนื่องจากก ไหลของสารเคมี หรือวัตถุอันตรายจากรถ เอาประกันภัยโดยรถไม่ได้เกิดอุบัติเหต หรือไม่ใช่จากพวกระบบเชื้อเพลิง
  • 45. ตัวอย่าง 1. ทรัพย์สินที่เป็นของผู้เอาประกันภัยเอง หรือของผู้ขับขี่ที่รถทีเป็นฝ่ายผิดหรือเป็น ของ บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรของผู้เอาประกันภัย • นายก้อง เป็นผู้เอาประกันภัยรถยนต์ ก และ เป็นนายจ้างของนายเก่ง ต่อมา นายเก่งได้ขับรถ ก ในระหว่างทางการที่จ้างไปชนรถ ข ของนาย ก้อง กรณีความเสียหายของรถ ข บริษัทประกัน ภัยไม่ต้องรับผิดชอบความเสียหายใดๆ เพราะ เป็นข้อยกเว้นตามสัญญาประกันภัย
  • 46. ตัวอย่าง 2. ความเสียหายของเครื่องชั่ง สะพาน ถนน สนาม หรือสิ่งที่อยู่ใต้สิ่งดังกล่าว เช่น ท่อประปา สายไฟ ท่อก๊าซ เป็นต้น ที่เกิดความเสียหาย เนื่องจากแรงสั่นสะเทือน หรือนำ้าหนักบรรทุกของ รถคันเอาประกันภัย รถ ก ทำาประกันภัยเอาไว้ได้วิ่งขึ้นไปบนตาชั่ง เพื่อชั่งถ่วงนำ้าหนักว่าสิ่งของที่บรรทุกนั้นมีนำ้า หนักเท่าใดขณะที่อยู่บนตาชั่ง ปรากฎว่าตาชั่งหัก เนื่องจากของที่บรรทุกมีนำ้าหนักมากกว่าที่ตาชั่ง จะรับได้ กรณีนี้ บริษัทประกันภัยไม่ต้องรับผิด ชอบความเสียหายของตาชั่ง เพราะเสียหาย เนื่องจากนำ้าหนักของที่บรรทุก
  • 47. ตัวอย่าง 3. ทรัพย์สินที่บรรทุก หรืออยู่ในรถคันที่เป็น ฝ่ายผิด • นางสาวสุดสวย ได้นั่งรถโดยสาร ก ระหว่าง ที่วิ่งอยู่ รถ ก ได้เกิดอุบัติเหตุพลิกควำ่า นางสาวสุด สวยกระเด็นออกนอกรถ และทำาให้แหวนเพชร 20 กะรัต ที่สวมอยู่ในนิ้วนางกระเด็นสูญหายไป • กรณีนี้นางสาวสุดสวยจะเป็นบุคคลภายนอก และเป็นผู้เสียหาย ก็ไม่สามารถเรียกร้องค่าแหวน เพชรดังกล่าวจากบริษัทประกันภัยที่รับประกันภัย รถ ก ได้ เพราะเข้าข้อยกเว้น คือ เป็นทรัพย์สินที่ อยู่ในรถคันเกิดเหตุ แต่อย่างไรก็ตามนางสาวสุด สวย สามารถเรียกร้องตามกฎหมายให้ผู้ขับขี่รถ ก หรือนายจ้างของผู้ขับขี่ หรือตัวการของผู้ขับขี่ ชดใช้ค่าเสียหายได้
  • 48. ตัวอย่าง 4. ทรัพย์สินที่ได้รับความเสียหายเนื่องจาก การรั่วไหลของสารเคมี หรือวัตถุอันตรายจากรถ คันเอาประกันภัยโดยรถไม่ได้เกิดอุบัติเหตุ หรือ ไม่ใช่จากพวกระบบเชื้อเพลิง • รถ ก บรรทุกสารเคมีของนาย ค และจอด อยู่ปรากฎว่าสารเคมีรั่วไหล ทำาให้นาข้าวของ นาย ข ได้รับความเสียหาย กรณีเช่นนี้ บริษัท ประกันภัยไม่ต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายของ นาข้าวนาย ข แต่นาย ข มีสิทธิเรียกร้องให้นาย ค ชดใช้ค่าเสียหายได้ ข้อควรจำา ในการเรียกร้องของผู้เสียหาย หรือท แม้จะใช้สิทธิเรียกร้องจากบริษัทประกันภัยแล้ว ห พอใจหรืออาจเต็มความคุ้มครองตามสัญญาประ แล้ว แต่ยังไม่คุ้มครองค่าเสียหายของผู้เสียหาย ห ที่เข้าข้อยกเว้นตามสัญญาประกันภัยผู้เสียหายหรือ ย่อมมีสิทธิเรียกร้องจากผู้กระทำาความผิดหรือผู้เกี่ยว
  • 49. • การเกี่ยวข้องในฐานะผู้ขับขี่นี้ แบ่งออกได้เป็น 2 กรณี คือ  ในฐานะที่เราเป็นฝ่ายถูก ในฐานะที่เราเป็นฝ่ายผิด ผู้ขับขี่ที่เป็นฝ่ายถูก ย่อมมีสิทธิเช่นเดียวกับ ผู้เสียหายที่เป็นบุคคลภายนอกที่ได้กล่าวมา แล้ว กล่าวคือ ย่อมมีสิทธิเรียกร้องค่าเสีย หายทั้งต่อชีวิต ร่างกาย อนามัย และความ การเกี่ยวข้องในฐานะผู้ขับขี่
  • 51. ผู้ขับขี่ที่เป็นฝ่ายผิด 1. ความรับผิด ในทางแพ่ง คือ การที่ผู้ขับขี่รถ และผู้ เกี่ยวข้องรวมทั้งบริษัทประกัน ภัยจะต้องเข้าไปชดใช้ค่า สินไหมทดแทนให้แก่ฝ่ายถูก ตามความเสียหายที่เกิดขึ้น ความรับผิดทางแพ่งจึงเป็นการ บังคับให้ฝ่ายผิดชดใช้ค่าเสีย หายจากทรัพย์สินโดยตรง ไม่ ได้มุ่งเน้นความรับผิดที่จะ ลงโทษตัวบุคคลเป็นหลัก ในทางแพ่งหากไม่มีการ
  • 52. ผู้ขับขี่ที่เป็นฝ่ายผิด 1. ความรับผิด ในทางแพ่ง (ต่อ) ความรับผิดทางแพ่ง เช่น การจ่ายค่าซ่อม การจ่าย ค่าปลงศพ ค่าขาดประโยชน์ หรือ ดอกเบี้ย เป็นต้น ดัง ที่เขียนไว้ข้างต้นแล้ว นอกจากนี้ แม้รถคันที่เป็นฝ่ายผิดจะมีการทำา ประกันภัยเอาไว้ แต่ตัวผู้กระทำาความผิดก็ยังไม่พ้นผิด เป็นการส่วนตัว หากปรากฎว่าความเสียหายนั้นเกิน ความคุ้มครองตามสัญญากรมธรรม์ประกันภัย หรือเข้า ข้อยกเว้นสัญญาประกันภัย ผู้ขับขี่ที่เป็นฝ่ายผิดไม่ สามารถเรียกร้องค่าเสียหายใดๆ
  • 53. นอกจากผู้ขับขี่เป็นฝ่าย ผิดจะต้องรับผิดชอบในทาง แพ่งแล้ว ผู้ขับขี่ที่เป็นฝ่ายผิด จะต้องรับผิดชอบในทาง อาญาด้วย ในความรับผิดชอบทาง อาญานี้เป็นความรับผิด เฉพาะตัวผู้กระทำาความผิด มุ่งลงโทษผู้กระทำาความผิด โดยตรง ไม่มีบุคคลอื่นเข้ามา รับโทษแทนได้ แม้จะมี นายจ้างจะให้นายจ้างมารับ โทษแทนก็ไม่ได้ หรือจะให้ ผู้ขับขี่ที่เป็นฝ่ายผิด 2. ความรับผิด ในทางอาญา
  • 54. • ในการลงโทษทางอาญาที่จะ ใช้ลงโทษผู้กระทำาความผิดมี ดังนี้ 1. ปรับ 2. จำาคุก 3. ทั้งปรับ และจำาคุก 4. ตัดสิทธิการใช้ใบอนุญาต ขับขี่รถ เป็นครั้งคราว หรือ เพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ไป เลย ผู้ขับขี่ที่เป็นฝ่ายผิด 2. ความรับผิด ในทางอาญา (ต่อ)
  • 55. • กฎหมายที่ใช้ลงโทษผู้ขับขี่รถที่เป็นฝ่ายผิด • กฎหมายหลักๆ ที่ใช้ในการลงโทษผู้ขับขี่รถที่ เป็นฝ่าย มีดังนี้ • 1. พ.ร.บ ขนส่งทางบก • 2. พ.ร.บ รถยนต์ • 3. พ.ร.บ จราจรทางบก • 4. ประมวลกฎหมายอาญา • ในที่นี้จะกล่าวเฉพาะความผิดตามพ.ร.บ จราจรทางบก และตามประมวลกฏหมายอาญา เท่านั้น ความรับผิดในทางอาญา
  • 56. ความรับผิดในทางอาญา • ความรับผิดตาม พ.ร.บ จราจรทางบก และประมวล กฎหมายอาญา เมื่อผู้ขับขี่รถฝ่าฝืนกฎหรือสัญญาณต่างๆที่กำาหนด เอาไว้ในพ.ร.บ จราจรทางบก และก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบุคคลอื่นทั้งต่อชีวิต ร่างกาย อนามัย และทรัพย์สิน หรือ ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายใด เช่น กรณีขับรถฝ่าสัญญาณ ไฟ ผู้ขับขี่ดังกล่าวย่อมมีความผิดทางกฎหมาย ในที่นี้จะพูดเฉพาะประเด็นความผิดที่มีผู้เสียหาย ส่วน ประเด็นที่ผิดอื่น หรือฝ่าฝืนสัญญาณจะไม่พูดถึง
  • 57. ความรับผิดในทางอาญา • ความรับผิดตาม พ.ร.บ จราจรทางบก และประมวลกฎหมายอาญา • ผู้ขับขี่รถที่เป็นฝ่ายผิดจะมีโทษตาม พ.ร.บ จราจรทางบก และตาม ประมวลกฎหมายอาญา 4 ประการ คือ 1. ขับขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ทรัพย์สินของผู้อื่นเสียหาย1. ขับขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ทรัพย์สินของผู้อื่นเสียหาย ขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กาย หรือ จิตใจขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กาย หรือ จิตใจ 3. ขับขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส3. ขับขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส 4. ขับขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย4. ขับขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
  • 58. ความรับผิดในทางอาญา • ความรับผิดตาม พ.ร.บ จราจรทางบก และประมวลกฎหมาย อาญา ทั้ง 4 ประการนี้ ผู้ขับขี่จะต้องกระทำาโดยประมาท หากผู้ขับขี่จะ ต้องกระทำาโดยประมาท หากผู้ขับขี่ทำาโดยเจตนาคือตั้งใจ โทษก็จะ หนักขึ้น แต่โดยหลักแล้วถือว่าในการขับขี่รถแล้วเกิดความเสียหาย นั้นเป็นการกระทำาโดยประมาท หากเป็นการกระทำาโดยเจตนา บริษัทประกันภัยไม่ต้องรับผิดชอบ กระทำาโดยประมาท คือ การกระทำาที่ไม่ได้เจตนา แต่กระทำา โดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมี ความวิสัย และพฤติการณ์ และผู้กระทำาอาจใช้ความระมัดระวังเช่น ว่านั้นได้ แต่ไม่ใช้ให้เพียงพอ (มาตรา 59 วรรค 4 ปอ.)
  • 59. ความรับผิดในทางอาญา • ความรับผิดตาม พ.ร.บ จราจรทางบก และประมวลกฎหมายอาญา จากคำาที่กฎหมายกำาหนดเอาไว้ แสดงว่าการกระทำาโดยประมาทนั้น ต้องไม่ใช่เป็นการกระทำาเจตนา แต่ผู้กระทำานั้นขาดความระมัดระวัง ซึ่งระดับ ของความระมัดระวังนี้ย่อมขึ้นอยู่กับวิสัยของแต่ละคน เช่น อายุน้อย ย่อมขาด ความระมัดระวังมากกว่าคนที่มีอายุมากกว่า ผู้หญิงย่อมมีความระมัดระวังน้อย กว่าผู้ชาย เป็นต้น ตามพฤติการณ์ เช่น เวลากลางวัน กลางคืน สว่าง หรือมืด เป็นต้น โดย กฎหมายเห็นว่า บุคคลนั้นสามารถใช้ความระมัดระวังได้ แต่ไม่ใช้ให้เพียงพอ จึงเป็นความประมาท เช้น ฝนตก ถนนลื่น ผู้ขับขี่โดยทั่วไปต้องขับรถให้ช้าลง เพื่อป้องกันการเกิดเหตุ แต่ถ้าเราขับเร็วมากแล้วเกิดเหตุเช่นนี้ ถือว่าเรา ประมาท เพราะไม่ใช้ความระมัดระวังทั้งๆที่สามารถใช้ความระมัดระวังได้
  • 60. ความรับผิดในทางอาญา • ความรับผิดตาม พ.ร.บ จราจรทางบก และประมวลกฎหมายอาญา ในการขับขี่รถโดยประมาท หรือฝ่ายผิดนี้ จะต้องรับโทษซึ่งแบ่งการก ระทำาออกเป็น 4 ขั้น คือ บขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ทรัพย์สินของผู้อื่นเสียหาย ตัวอย่าง นายไชยา ขับขี่รถฝ่าไฟแดง ไปชนรถของนายเขียว ได้รับความเสียหาย เช่นนี้นาย ไชยา จะมีความผิดฐานฝ่าฝืนสัญญาณไฟแดงมีโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท ( ตามพ.ร.บ จราจร มาตรา22 ประกอบมาตรา 152 ) และมีความผิดฐานขับขี่รถโดยประมาท หรือน่า หวาดเสียว อันอาจเกิดอันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์นั้น (มาตรา 43 (4) ประกอบมาตรา 157 แห่งพ.ร.บ จราจรทางบก) ซึ่งมีโทษปรับตั้งแต่ 400 – 1,000 บาท
  • 61. จากความผิดข้อนี้ เป็นความผิดที่ทำาให้เกิด ความเสียหายแก่ทรัพย์สินของผู้อื่นอย่างเดียว ไม่มี ผู้ได้รับบาดเจ็บ ดังนั้น จึงมีแต่โทษปรับอย่างเดียว แต่ถ้ามีความผิดอื่นประกอบ เช่น ขับขี่รถโดยมีการ เสพยาเสพติด หรือเสพวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิต หรือ ขับขี่รถขณะเมาสุรา จะมีโทษสูงขึ้น แม้ไม่มีผู้ได้รับ บาดเจ็บหรือตาย ก็จะมีโทษจำาคุกไม่เกิน 3 เดือน ปรับตั้งแต่ 2,000 – 10,000 บาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ ความรับผิดในทางอาญา รถประมาท เป็นเหตุให้ทรัพย์สินของผู้อื่นเสียหาย
  • 62. เมื่อผู้ขับขี่เป็นฝ่ายผิดก่อให้เกิดความเสียหาย แก่ผู้อื่น และมีผู้โดยสารบาดเจ็บ ทำาให้ผู้ขับขี่นั้น ต้องมีโทษที่หนักขึ้นโดยนอกจากจะมีความผิด ตามพ.ร.บ จราจร ตามมาตร 43 (3) แล้ว ก็จะมีความ ผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 390 ซึ่งมี โทษจำาคุกไม่เกิน 1 เดือน ปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ แต่ถ้าผู้ขับขี่รถที่เป็นฝ่ายผิดมีการกระทำาอย่าง อื่นเพิ่มด้วย โทษก็จะสูงขึ้น เช่น ขับขี่รถขณะเมา สุราแล้วชนผู้อื่นมีผู้ได้รับบาดเจ็บ ก็จะมีโทษจำาคุก ตั้งแต่ 1 ปีถึง 5 ปี ปรับตั้งแต่ 20,000 บาท ถึง 100,000 บาท (ตามพ.ร.บ จราจรทางบก มาตรา 43 (2) ความรับผิดในทางอาญา ถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กาย หรือ จิตใจ
  • 63. ถ้าหลบหนีไม่แจ้งเหตุต่อเจ้า หน้าที่จะมีโทษจำาคุกไม่เกิน 3 เดือน ปรับตั้งแต่ 2,000 – 10,000 บาท หรือ ทั้งจำาทั้งปรับ อีกกระทง หนึ่งด้วย ความผิดตามกรณีนี้ จะต้องมีผู้ ได้รับบาดเจ็บแก่กาย หรือ จิตใจ คือ บาดเจ็บเล็กน้อย โดยแขนขา ไม่หักและรักษาไม่เกิน 20 วัน แต่ ความรับผิดในทางอาญา ถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กาย หรือ จิตใจ
  • 64. • ความผิดกรณีนี้ ผู้ขับขี่ จะต้องรับโทษหนักขึ้น โดย เนื่องจากทำาให้ผู้ อื่นได้รับบาดเจ็บสาหัส คำาว่า สาหัส หมายถึง ความรับผิดในทางอาญา ขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัสขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส อด หูหนวก ลิ้นขาด หรือเสียฆานประสาท อวัยวะสืบพันธ์ หรทอความสามารถสืบพันธ์ ยแขน ขา มือ เท้า นิ้ว หรืออวัยวะอื่นใด 4. หน้าเสียโฉมอย่างติดตัว 5. แท้งลูก 6. จิตพิการอย่างติดตัว 7. ทุพพลภาพ หรือป่วย เจ็บ เรื้อรัง ซึ่งอาจถึงตลอดชีวิต 8. ทุพพลภาพ หรือป่วย เจ็บ ด้วยอาการ ทุกขเวทนา เกินกว่า 20 วัน หรือจนประ กอบกรณีกิจตามปกติไม่เกินกว่า 20 วัน
  • 65. • หากเข้ากรณีนี้ผู้ขับขี่ที่เป็นฝ่ายผิดจะมีโทษทาง กฎหมาย ดังนี้ • 1. ความผิดตาม พ.ร.บ จราจรทางบก • 1.1 ผิดฐานขับขี่รถโดยประมาท หรือ น่า หวาดเสียวอันอาจเกิดอันตรายแก่บุคคลหรือ ทรัพย์สิน (ซึ่งมีโทษตามมาตรา 43 (4) ประกอบ มาตรา 157) • 1.2 หากเมาสุราจะมีโทษสูงขึ้น ตามมาตรา 43 (2) ประกอบมาตรา 160 ตรี คือ จำาคุกตั้งแต่ 2 ปีถึง 6 ปี ปรับตั้งแต่ 40,000 บาท ถึง 120,000 บาท (หมายความทั้งจำาคุกและปรับ) ซึ่งแตกต่างกับคำาว่า ความรับผิดในทางอาญา ขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
  • 66. ความรับผิดในทางอาญา • หากเข้ากรณีนี้ผู้ขับขี่ที่เป็นฝ่ายผิดจะมีโทษทางกฎหมาย ดังนี้ (ต่อ) • 2. ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา • ได้มีการกำาหนดโทษเอาไว้ในมาตรา 300 แห่งประมวลกฎหมาย อาญา โดยมีโทษจำาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือ ทั้งจำาทั้งปรับ ขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
  • 67. ความรับผิดในทางอาญา ขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย • กรณีเป็นเรื่องที่ขับขี่รถแล้วเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความ ตาย ซึ่งจะมีโทษตามกฎหมาย 2 ส่วน คือ • 1. ความผิดตามพ.ร.บ จราจรทางบก จะมีโทษ ดังนี้ • 1.1 ขับขี่รถโดยประมาท หรือหวาดเสียวมีโทษปรับตั้งแต่ 400 – 1,000 บาท (มาตรา 43 (4) ประกอบมาตรา 157) • 1.2 หากขณะเกิดเหตุผู้ขับขี่เมาสุราจะมีโทษจำาคุกตั้งแต่ 3 ปีถึง 10 ปี ปรับตั้งแต่ 60,000 บาทถึง 200,000 บาท (ข้อนี้ศาล ต้องจำาคุกและปรับด้วยไม่เลือกว่าอย่างใดอย่างหนึ่ง) • 1.3 หากู้ขับขี่หลบหนีไม่แจ้งเหตุก็จะมีความผิดจำาคุกไม่ เกิน 6 เดือน หรือปรับตั้งแต่ 5,000 – 20,000 บาท
  • 68. ความรับผิดในทางอาญา ขี่รถประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย • 2. ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา • ซึ่งตามมาตรา 291 ได้กำาหนดโทษไว้ คือ จำาคุกไม่เกิน 10 ปี และปรับไม่ เกิน 20,000 บาท • ดังนั้น ในความรับผิดทางอาญานี้ ผู้ขับขี่รถที่เป็นฝ่ายผิดจะต้องรับโทษ ตามแต่ว่าผู้เสียหายได้รับความเสียหายขนาดไหน • อย่างไรก็ตาม ในเรื่องความรับผิดทางอาญาของผู้ขับขี่รถนี้ อาจจะมี กรณที่ผู้ขับขี่รถคู่กรณีเป็นฝ่ายประมาทด้วย แต่กฎหมายถือว่าผู้ขับขี่รถ แต่ละคันจะต้องรับผิดชอบตามความผิดของตนเองไม่ใช่เป็นการร่วมกัน กระทำา ดังนั้นที่เรามักใช้คำาว่า ประมาทร่วมกัน ในทางกฎหมายไม่มี ดัง นั้นตามตัวอย่าง กรณีมีโทษจำาคุก 10 ปี สำาหรับการกระทำาโดยประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย หากปรากฏตามข้อเท็จจริงว่าเกิดจาก การกระทำาความผิดของผู้ขับขี่รถทั้ง 2 ฝ่าย เช่น การลงโษผู้กระทำาความ ผิดจะมีโทษคนละไม่เกิน 10 ปี ไม่ใช่นำาหาร 10 ปีมาหาร 2 ซึ่งแตกต่างจาก ความรับผิดทางแพ่ง หากประมาทร่วมกันหรือผิดร่วมกัน ความเสียหายก็ ต้องหาร 2 เป็นต้น
  • 69. • 1. หากมีโทษจำาคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 1,000 บาท พนักงานสอบสวนสามารถเปรียบเทียบปรับ ได้เลย หากผู้เสียหายยินยอมหรือหากมีโทษปรับอย่าง เดียว หากพนักงานสอบสวนปรับอัตราสูง คดีอาญาเป็น อันยุติ • 2. หากมีผู้บาดเจ็บตั้งแต่สาหัสขึ้นไปจนตาย พนักงาน สอบสวนไม่มีอำานาจเปรียบเทียบปรับ จะต้องรับเป็นคดี และต้องส่งฟ้องต่อศาลโดยขณะที่ยังไม่ส่งฟ้องศาล พนักงานสอบสวนมีอำานาจควบคุมตัวผู้ขับขี่รถได้ไม่เกิน 24 ชั่วโมง หากเกิน 24 ชั่วโมง พนักงานสอบสวนจะต้อง ผลัดฟ้องต่อศาลและฝากขังผู้ขับขี่ต่อไปตามประมวล ความรับผิดในทางอาญา ผู้ขับขี่มีความผิดทางอาญา ก็จะมีขั้นตอนการดำาเนินคดี คือผู้ขับขี่มีความผิดทางอาญา ก็จะมีขั้นตอนการดำาเนินคดี คือ