SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 15
ประเภท
กรรมฐานในทาง
พระพุทธศาสนา
สมถกรรมฐาน ฝึกจิตให้
สงบ มั่นคง พร้อมใช้งาน
วิปัสสนากรรมฐาน ฝึกจิต
ให้เกิดปัญญา รู้เห็นตาม
ความเป็นจริง ละ ปล่อยวาง
กรรมฐานในพระพุทธศาสนา
•จุดมุ่งหมาย
•อารมณ์กรรมฐาน
•วิธีการปฏิบัติ
•ผลการปฏิบัติ
สมถกรรมฐาน
• จุดมุ่งหมาย มีจุดมุ่งหมายเพื่อฝึกจิตให้เกิดความ
สงบ ไม่ฟุ้งซ่าน แน่วแน่ ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว พร้อม
ใช้งาน ซึ่งจะเป็นพื้นฐานที่ดีในการเจริญวิปัสสนา
อารมณ์ ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ท่านรวบรวมอารมณ์
สมถกรรมฐานไว้เป็นหมวดหมู่ ๔๐ อย่าง ได้แก่
- กสิณ ๑๐ - อสุภะ ๑๐ - อนุสสติ ๑๐
- พรหมวิหาร ๔ - อรูป ๔
- อาหาเรปฏิกูลสัญญา ๑ - จตุธาตุววัตถาน ๑
• วิธีการปฏิบัติ ประคองจิตให้แนบแน่นอยู่กับอารมณ์
อย่างใดอย่างหนึ่งในบรรดาอารมณ์ ๔๐ อย่าง จนจิต
แนบสนิทอยู่กับอารมณ์ ไม่ฟุ้งซ่าน ซัดส่าย คิดเรื่องอื่น
• ผลของการปฏิบัติ เมื่อจิตตั้งมั่นแน่วแน่เป็นสมาธิแล้ว
จะเกิดสภาวะที่เรียกว่า ฌาน แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท
คือ รูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ รวมเรียกว่า สมาบัติ ๘
• และเกิดผลพลอยได้พิเศษ เรียกว่า อภิญญา ๕ ได้แก่
- แสดงฤทธิ์ต่าง ๆ ได้ - หูทิพย์ - ตาทิพย์
- รู้วาระจิตของผู้อื่น - ระลึกชาติได้
วิปัสสนากรรมฐาน
• จุดมุ่งหมาย เพื่อให้เกิดปัญญาทรู้เห็นตามความเป็น
จริง (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา)
• อารมณ์ มีรูปนาม ขันธ์ ๕ (วิปัสสนาภูมิ ๖) เป็น
อารมณ์
• วิธีการปฏิบัติ ใช้สติปัญญากาหนดรู้เท่าทันอารมณ์
ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันตามเป็นจริงแล้ว ปล่อย ละ วาง
• ผลของการปฏิบัติ ญาณ วิชชา มรรค ผล นิพพาน
• วิปัสสนากรรมฐาน เป็นวิธีการฝึกจิตให้เข้าไปเกี่ยวข้องกับสิ่ง
ต่าง ๆ อย่างมีสติสัมปชัญญะ เพื่อป้องกันกาจัดกิเลสไม่ให้เกิดขึ้น
ในขันธสันดานและเพื่อกาจัดอนุสัยกิเลสที่มีอยู่ในจิตใจให้หมด
ไป
• ผู้เจริญวิปัสสนากรรมฐานเต็มที่แล้วจะเกิดผลคือยถาภูตญาทัส
สนะ กล่าวคือปัญญาที่รู้เห็นสภาวธรรมตามความเป็นจริงว่า
“สรรพสิ่งล้วนตกอยู่ในลักษณะ ๓ ประการ คือ ไม่เที่ยง เป็น
ทุกข์ เป็นอนัตตา”
• เมื่อพิจารณาเห็นดังนี้แล้วจิตก็จะปล่อยวางไม่เข้าไปยึดมั่นถือมั่น
ด้วยอานาจอุปาทานในสิ่งที่เข้าไปเกี่ยวข้อง สามารถกาจัดกิเลส
ได้อย่างถาวร บรรลุมรรค ผล นิพพาน จิตเข้าถึงสภาวะที่บริสุทธิ์
อารมณ์กรรมฐาน
• อารมณ์ หมายถึง สิ่งที่จิตยึดเหนี่ยวในขณะเจริญกรรมฐาน
หรือ สิ่งที่เป็นอุปกรณ์ใช้สาหรับทากรรมฐาน
• อารมณ์ของสมถกรรมฐาน ท่านรวบรวมไว้ ๔๐ อย่าง คือ
• หมวดกสิณ ๑๐ วัตถุอันจูงใจ หรือกัมมัฏฐานที่ใช้วัตถุสาหรับ
เพ่งเพื่อจูงจิตให้เป็นสมาธิ เช่น ปฐวีกสิณ อาโปกสิณ เป็นต้น
• หมวดอสุภะ ๑๐ พิจารณาซากศพที่อยู่ในสภาพต่าง ๆ โดย
ความไม่งามเป็นอารมณ์ เช่น อุทธุมาตกะ พิจารณาซากศพที่
เน่าพองขึ้นอืด เป็นต้น
• หมวดอนุสสติ ๑๐ อารมณ์ที่ควรระลึกถึงเนือง ๆ เช่น พุทธานุสสติ
ระลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ้า เป็นต้น
• หมวดอัปปมัญญา หรือ พรหมวิหาร ๔ ธรรมที่พึงแผ่ไปยังสรรพ
สัตว์ไม่มีประมาณไม่จากัดขอบเขต เช่น เมตตา แผ่ความปรารถนาดี
ไปยังสรรพสัตว์
• หมวดอาหาเรปฏิกูลสัญญา ๑ ความสาคัญในอาหารว่าเป็นของปฏิกูล
• หมวดจตุธาตุววัตถาน ๑ การกาหนดร่างกายโดยความเป็นธาตุ ๔
• หมวดอรูป ๔ กรรมฐานที่กาหนดเอาสิ่งที่ไม่มีรูปเป็นอารมณ์ เช่น
อากาสานัญจายตนะ กาหนดที่ว่างหาที่สุดมิได้เป็นอารมณ์ เป็นต้น
อารมณ์ของวิปัสสนากรรมฐาน
• ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคท่านรวบรวมไว้เป็น ๖ หมวด คือ
• หมวดขันธ์ ๕ ได้แก่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
• หมวดอายตนะ ๑๒ ได้แก่ ภายใน ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
ภายนอก รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธัมมารมณ์
• หมวดธาตุ ๑๘ เช่น จักขุธาตุ รูปธาตุ จักขุวิญญาณธาตุ เป็นต้น
• หมวดอินทรีย์ ๒๒ เช่น จักขุนทรีย์ โสตินทรีย์ เป็นต้น
• หมวดอริยสัจ ๔ ได้แก่ ทุกข์ สมทัย นิโรธ มรรค
• หมวดปฏิจจสมุปบาท ๑๒ เช่น อวิชชา สังขาร วิญญาณ เป็นต้น
จุดมุ่งหมายของกรรมฐาน
ก. จุดมุ่งหมายของสมถกรรมฐาน
• ปฏิบัติเพื่อให้จิตเกิดสมาธิสงบ แน่วแน่ ตั้งมั่น ไม่ฟุ้งซ่าน
จนสามารถระงับนิวรณ์ ๕ คือ
• ๑ กามฉันทะ ความพอใจในกาม
• ๒ พยาบาท ความคิดร้ายขัดเคืองใจ
• ๓ ถีนมิทธะ ความท้อแท้หดหู่
• ๔ อุทธัจจกุกกุจจะ ความฟุ้งซ่านราคาญใจ
• ๕ วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย
• สมาธิที่ระงับนิวรณ์ ๕ ได้จนเข้าถึงความสงบระดับฌานนั้นจะมี
ระดับที่ต่าง กันโดยถือเอาความละเอียดของจิตเป็นข้อแบ่งแยกดังนี้
• สมาธิที่เกิดจากการกาหนดสิ่งที่มีรูปร่างเป็นอารมณ์ เรียกว่า รูปฌาน
๔ มีระดับความละเอียดของจิต ดังนี้
๑. ปฐมฌาน มีธรรมที่เป็นองค์ประกอบ ๕ อย่างคือ วิตก วิจาร ปีติ สุข
เอกัคคตา
๒. ทุติยฌาน มีธรรมที่เป็นองค์ประกอบ ๓ อย่างคือ ปีติ สุข
เอกัคคตา
๓. ตติยฌาน มีธรรมที่เป็นองค์ประกอบ ๒ อย่าง คือ สุข เอกัคคตา
๔. จตุตถฌาน มีธรรมที่เป็นองค์ประกอบ ๒ อย่าง คือ อุเบกขา
เอกัคคตา
• สมาธิที่เกิดจากการกาหนดสิ่งที่ไม่มีรูปร่างเป็นอารมณ์
เรียกว่า อรูปฌาน ๔ มีระดับความละเอียดของจิต ดังนี้
๑ อากาสานัญจายตนะ ฌานอันกาหนดอากาศคือช่องว่างหา
ที่สุดมิได้เป็นอารมณ์
๒ วิญญานัญจายตนะ ฌานอันกาหนดวิญญาณหาที่สุดมิได้เป็น
อารมณ์
๓ อากิญจัญญายตนะ ฌานอันกาหนดภาวะที่ไม่มีอะไร ๆ เป็น
อารมณ์
๔ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฌานที่เข้าถึงภาวะมีสัญญาก็ไม่ใช่
ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่
อภิญญา ความรู้ความสามารถพิเศษเหนือธรรมดา
• นอกจากนี้ผู้เจริญสมถกรรมฐานจนสามารถทาฌานให้เกิดขึ้น
แล้วยังจะได้รับผลพลอยได้คือความสามารถพิเศษซึ่งเรียกว่า
อภิญญา ๕ อย่าง ได้แก่
• (๑) แสดงฤทธิ์ต่าง ๆ ได้
• (๒) มีหูทิพย์
• (๓) กาหนดรู้ใจคนอื่นได้
• (๔) ระลึกชาติได้
• (๕) มีตาทิพย์
ข. จุดมุ่งหมายของวิปัสสนากรรมฐาน
• วิปัสสนากรรมฐาน เป็นวิธีการฝึกจิตให้เข้าไปเกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ
อย่างมีสติสัมปชัญญะ เพื่อป้องกันกาจัดกิเลสไม่ให้เกิดขึ้นในขันธ
สันดานและเพื่อกาจัดอนุสัยกิเลสที่มีอยู่ในจิตใจให้หมดไป
• ผู้เจริญวิปัสสนากรรมฐานเต็มที่แล้วจะเกิดผลคือยถาภูตญาทัสสนะ
กล่าวคือปัญญาที่รู้เห็นสภาวธรรมตามความเป็นจริงว่าสรรพสิ่งล้วน
ตกอยู่ในลักษณะ ๓ ประการ คือ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
• เมื่อพิจารณาเห็นดังนี้แล้วจิตก็จะปล่อยวางไม่เข้าไปยึดมั่นถือมั่น
ด้วยอานาจอุปาทานในสิ่งที่เข้าไปเกี่ยวข้อง สามารถกาจัดกิเลสได้
อย่างถาวร บรรลุมรรค ผล นิพพาน จิตเข้าถึงสภาวะที่บริสุทธิ์

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
Onpa Akaradech
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
Padvee Academy
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
Padvee Academy
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 

Was ist angesagt? (20)

พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 

Andere mochten auch

!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
bmcweb072
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
Padvee Academy
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Andere mochten auch (20)

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
หลักวิปัสสนากรรมฐาน เกษม-160556
หลักวิปัสสนากรรมฐาน เกษม-160556หลักวิปัสสนากรรมฐาน เกษม-160556
หลักวิปัสสนากรรมฐาน เกษม-160556
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
พุทธในออสเตรเลีย2
พุทธในออสเตรเลีย2พุทธในออสเตรเลีย2
พุทธในออสเตรเลีย2
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
Elizabeth paniccia
Elizabeth panicciaElizabeth paniccia
Elizabeth paniccia
 
Minicurso iniciando com Android no Androidos Day
Minicurso iniciando com Android no Androidos DayMinicurso iniciando com Android no Androidos Day
Minicurso iniciando com Android no Androidos Day
 
open data en overheidscommunicatie
open data en overheidscommunicatieopen data en overheidscommunicatie
open data en overheidscommunicatie
 
Open onderzoeksdata
Open onderzoeksdataOpen onderzoeksdata
Open onderzoeksdata
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
 
Data journalisme
Data journalismeData journalisme
Data journalisme
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
 
My Biography
My BiographyMy Biography
My Biography
 

Ähnlich wie กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
primpatcha
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
Anchalee BuddhaBucha
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
พัน พัน
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
magicgirl123
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
Tongsamut vorasan
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
New Nan
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
olivemu
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
chamriang
 
สรุปกิจกรรม Maditation (j)
สรุปกิจกรรม Maditation (j)สรุปกิจกรรม Maditation (j)
สรุปกิจกรรม Maditation (j)
monthsut
 

Ähnlich wie กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒ (20)

ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
 
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
 
1 06-10
1 06-101 06-10
1 06-10
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
Carita 6 จริต 6 intrinsic nature of a person
Carita 6 จริต 6   intrinsic nature of a personCarita 6 จริต 6   intrinsic nature of a person
Carita 6 จริต 6 intrinsic nature of a person
 
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Loangpoo budda
Loangpoo buddaLoangpoo budda
Loangpoo budda
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา
 
อภิธรรมศึกษา ๓ 01-2566.pdf
อภิธรรมศึกษา ๓ 01-2566.pdfอภิธรรมศึกษา ๓ 01-2566.pdf
อภิธรรมศึกษา ๓ 01-2566.pdf
 
สรุปกิจกรรม Maditation (j)
สรุปกิจกรรม Maditation (j)สรุปกิจกรรม Maditation (j)
สรุปกิจกรรม Maditation (j)
 

Mehr von วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Mehr von วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (18)

กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
 
แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)
แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)
แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)
 
จิตปรมัตถ์
จิตปรมัตถ์จิตปรมัตถ์
จิตปรมัตถ์
 
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
 
ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิตบาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
 
ถาม ตอบอภิธรรมปิฎก
ถาม ตอบอภิธรรมปิฎกถาม ตอบอภิธรรมปิฎก
ถาม ตอบอภิธรรมปิฎก
 

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒

  • 1. ประเภท กรรมฐานในทาง พระพุทธศาสนา สมถกรรมฐาน ฝึกจิตให้ สงบ มั่นคง พร้อมใช้งาน วิปัสสนากรรมฐาน ฝึกจิต ให้เกิดปัญญา รู้เห็นตาม ความเป็นจริง ละ ปล่อยวาง
  • 3. สมถกรรมฐาน • จุดมุ่งหมาย มีจุดมุ่งหมายเพื่อฝึกจิตให้เกิดความ สงบ ไม่ฟุ้งซ่าน แน่วแน่ ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว พร้อม ใช้งาน ซึ่งจะเป็นพื้นฐานที่ดีในการเจริญวิปัสสนา อารมณ์ ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ท่านรวบรวมอารมณ์ สมถกรรมฐานไว้เป็นหมวดหมู่ ๔๐ อย่าง ได้แก่ - กสิณ ๑๐ - อสุภะ ๑๐ - อนุสสติ ๑๐ - พรหมวิหาร ๔ - อรูป ๔ - อาหาเรปฏิกูลสัญญา ๑ - จตุธาตุววัตถาน ๑
  • 4. • วิธีการปฏิบัติ ประคองจิตให้แนบแน่นอยู่กับอารมณ์ อย่างใดอย่างหนึ่งในบรรดาอารมณ์ ๔๐ อย่าง จนจิต แนบสนิทอยู่กับอารมณ์ ไม่ฟุ้งซ่าน ซัดส่าย คิดเรื่องอื่น • ผลของการปฏิบัติ เมื่อจิตตั้งมั่นแน่วแน่เป็นสมาธิแล้ว จะเกิดสภาวะที่เรียกว่า ฌาน แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ รูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ รวมเรียกว่า สมาบัติ ๘ • และเกิดผลพลอยได้พิเศษ เรียกว่า อภิญญา ๕ ได้แก่ - แสดงฤทธิ์ต่าง ๆ ได้ - หูทิพย์ - ตาทิพย์ - รู้วาระจิตของผู้อื่น - ระลึกชาติได้
  • 5. วิปัสสนากรรมฐาน • จุดมุ่งหมาย เพื่อให้เกิดปัญญาทรู้เห็นตามความเป็น จริง (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) • อารมณ์ มีรูปนาม ขันธ์ ๕ (วิปัสสนาภูมิ ๖) เป็น อารมณ์ • วิธีการปฏิบัติ ใช้สติปัญญากาหนดรู้เท่าทันอารมณ์ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันตามเป็นจริงแล้ว ปล่อย ละ วาง • ผลของการปฏิบัติ ญาณ วิชชา มรรค ผล นิพพาน
  • 6. • วิปัสสนากรรมฐาน เป็นวิธีการฝึกจิตให้เข้าไปเกี่ยวข้องกับสิ่ง ต่าง ๆ อย่างมีสติสัมปชัญญะ เพื่อป้องกันกาจัดกิเลสไม่ให้เกิดขึ้น ในขันธสันดานและเพื่อกาจัดอนุสัยกิเลสที่มีอยู่ในจิตใจให้หมด ไป • ผู้เจริญวิปัสสนากรรมฐานเต็มที่แล้วจะเกิดผลคือยถาภูตญาทัส สนะ กล่าวคือปัญญาที่รู้เห็นสภาวธรรมตามความเป็นจริงว่า “สรรพสิ่งล้วนตกอยู่ในลักษณะ ๓ ประการ คือ ไม่เที่ยง เป็น ทุกข์ เป็นอนัตตา” • เมื่อพิจารณาเห็นดังนี้แล้วจิตก็จะปล่อยวางไม่เข้าไปยึดมั่นถือมั่น ด้วยอานาจอุปาทานในสิ่งที่เข้าไปเกี่ยวข้อง สามารถกาจัดกิเลส ได้อย่างถาวร บรรลุมรรค ผล นิพพาน จิตเข้าถึงสภาวะที่บริสุทธิ์
  • 7.
  • 8. อารมณ์กรรมฐาน • อารมณ์ หมายถึง สิ่งที่จิตยึดเหนี่ยวในขณะเจริญกรรมฐาน หรือ สิ่งที่เป็นอุปกรณ์ใช้สาหรับทากรรมฐาน • อารมณ์ของสมถกรรมฐาน ท่านรวบรวมไว้ ๔๐ อย่าง คือ • หมวดกสิณ ๑๐ วัตถุอันจูงใจ หรือกัมมัฏฐานที่ใช้วัตถุสาหรับ เพ่งเพื่อจูงจิตให้เป็นสมาธิ เช่น ปฐวีกสิณ อาโปกสิณ เป็นต้น • หมวดอสุภะ ๑๐ พิจารณาซากศพที่อยู่ในสภาพต่าง ๆ โดย ความไม่งามเป็นอารมณ์ เช่น อุทธุมาตกะ พิจารณาซากศพที่ เน่าพองขึ้นอืด เป็นต้น
  • 9. • หมวดอนุสสติ ๑๐ อารมณ์ที่ควรระลึกถึงเนือง ๆ เช่น พุทธานุสสติ ระลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ้า เป็นต้น • หมวดอัปปมัญญา หรือ พรหมวิหาร ๔ ธรรมที่พึงแผ่ไปยังสรรพ สัตว์ไม่มีประมาณไม่จากัดขอบเขต เช่น เมตตา แผ่ความปรารถนาดี ไปยังสรรพสัตว์ • หมวดอาหาเรปฏิกูลสัญญา ๑ ความสาคัญในอาหารว่าเป็นของปฏิกูล • หมวดจตุธาตุววัตถาน ๑ การกาหนดร่างกายโดยความเป็นธาตุ ๔ • หมวดอรูป ๔ กรรมฐานที่กาหนดเอาสิ่งที่ไม่มีรูปเป็นอารมณ์ เช่น อากาสานัญจายตนะ กาหนดที่ว่างหาที่สุดมิได้เป็นอารมณ์ เป็นต้น
  • 10. อารมณ์ของวิปัสสนากรรมฐาน • ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคท่านรวบรวมไว้เป็น ๖ หมวด คือ • หมวดขันธ์ ๕ ได้แก่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ • หมวดอายตนะ ๑๒ ได้แก่ ภายใน ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ภายนอก รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธัมมารมณ์ • หมวดธาตุ ๑๘ เช่น จักขุธาตุ รูปธาตุ จักขุวิญญาณธาตุ เป็นต้น • หมวดอินทรีย์ ๒๒ เช่น จักขุนทรีย์ โสตินทรีย์ เป็นต้น • หมวดอริยสัจ ๔ ได้แก่ ทุกข์ สมทัย นิโรธ มรรค • หมวดปฏิจจสมุปบาท ๑๒ เช่น อวิชชา สังขาร วิญญาณ เป็นต้น
  • 11. จุดมุ่งหมายของกรรมฐาน ก. จุดมุ่งหมายของสมถกรรมฐาน • ปฏิบัติเพื่อให้จิตเกิดสมาธิสงบ แน่วแน่ ตั้งมั่น ไม่ฟุ้งซ่าน จนสามารถระงับนิวรณ์ ๕ คือ • ๑ กามฉันทะ ความพอใจในกาม • ๒ พยาบาท ความคิดร้ายขัดเคืองใจ • ๓ ถีนมิทธะ ความท้อแท้หดหู่ • ๔ อุทธัจจกุกกุจจะ ความฟุ้งซ่านราคาญใจ • ๕ วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย
  • 12. • สมาธิที่ระงับนิวรณ์ ๕ ได้จนเข้าถึงความสงบระดับฌานนั้นจะมี ระดับที่ต่าง กันโดยถือเอาความละเอียดของจิตเป็นข้อแบ่งแยกดังนี้ • สมาธิที่เกิดจากการกาหนดสิ่งที่มีรูปร่างเป็นอารมณ์ เรียกว่า รูปฌาน ๔ มีระดับความละเอียดของจิต ดังนี้ ๑. ปฐมฌาน มีธรรมที่เป็นองค์ประกอบ ๕ อย่างคือ วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา ๒. ทุติยฌาน มีธรรมที่เป็นองค์ประกอบ ๓ อย่างคือ ปีติ สุข เอกัคคตา ๓. ตติยฌาน มีธรรมที่เป็นองค์ประกอบ ๒ อย่าง คือ สุข เอกัคคตา ๔. จตุตถฌาน มีธรรมที่เป็นองค์ประกอบ ๒ อย่าง คือ อุเบกขา เอกัคคตา
  • 13. • สมาธิที่เกิดจากการกาหนดสิ่งที่ไม่มีรูปร่างเป็นอารมณ์ เรียกว่า อรูปฌาน ๔ มีระดับความละเอียดของจิต ดังนี้ ๑ อากาสานัญจายตนะ ฌานอันกาหนดอากาศคือช่องว่างหา ที่สุดมิได้เป็นอารมณ์ ๒ วิญญานัญจายตนะ ฌานอันกาหนดวิญญาณหาที่สุดมิได้เป็น อารมณ์ ๓ อากิญจัญญายตนะ ฌานอันกาหนดภาวะที่ไม่มีอะไร ๆ เป็น อารมณ์ ๔ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฌานที่เข้าถึงภาวะมีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่
  • 15. ข. จุดมุ่งหมายของวิปัสสนากรรมฐาน • วิปัสสนากรรมฐาน เป็นวิธีการฝึกจิตให้เข้าไปเกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ อย่างมีสติสัมปชัญญะ เพื่อป้องกันกาจัดกิเลสไม่ให้เกิดขึ้นในขันธ สันดานและเพื่อกาจัดอนุสัยกิเลสที่มีอยู่ในจิตใจให้หมดไป • ผู้เจริญวิปัสสนากรรมฐานเต็มที่แล้วจะเกิดผลคือยถาภูตญาทัสสนะ กล่าวคือปัญญาที่รู้เห็นสภาวธรรมตามความเป็นจริงว่าสรรพสิ่งล้วน ตกอยู่ในลักษณะ ๓ ประการ คือ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา • เมื่อพิจารณาเห็นดังนี้แล้วจิตก็จะปล่อยวางไม่เข้าไปยึดมั่นถือมั่น ด้วยอานาจอุปาทานในสิ่งที่เข้าไปเกี่ยวข้อง สามารถกาจัดกิเลสได้ อย่างถาวร บรรลุมรรค ผล นิพพาน จิตเข้าถึงสภาวะที่บริสุทธิ์