SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 40
Downloaden Sie, um offline zu lesen
๑
บทที่ ๑
ความนา
ผู้ที่ศึกษาวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ ต้องทราบความหมายแห่งคาว่า “วิเคราะห์” ก่อน
คาว่า “วิเคราะห์” ในวิชานี้ คือ การแยกแยะข้อธรรมแต่ละเรื่องที่กาหนดให้ศึกษานามาพิจารณาเป็น
ส่วนย่อยที่มีความสัมพันธ์กัน เพื่อทาความเข้าใจข้อธรรมแต่ละเรื่องให้แจ่มแจ้ง รวมทั้งการสืบค้น
ความสัมพันธ์ของหลักธรรมต่างๆ เพื่อดูว่าหลักธรรมนั้นๆ สัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกันอย่างไร ซึ่งจะช่วย
ให้เกิดความเข้าใจหลักธรรมนั้นๆ อย่างแท้จริง การวิเคราะห์ถือเป็นทักษะที่มนุษย์ฝึกได้
การวิเคราะห์นั้น มีใช้ในหลักภาษาบาลี เป็นการแยกแยะให้เห็นส่วนต่างๆ และเห็น
ความหมายแห่งศัพท์แต่ละศัพท์ เช่น คาว่า โพธิ พระอาจารย์ผู้อธิบายได้วิเคราะห์แยกแยะให้เห็น
ความหมาย ๕ ความหมาย ดังข้อความว่า โพธีติ หิ รุกฺโขปิ มคฺโคปิ สพฺพญฺญุตญาณมฺปิ
นิพฺพานมฺปิ๑
เอวปณฺณตฺติโก ปุคฺคโลปิ วุจฺจติ.๒
แปลว่า โพธิ หมายถึง ต้นไม้ มรรค
พระสัพพัญญุตญาณ พระนิพพาน และบุคคลที่มีการตั้งชื่อไว้อย่างนั้น ซึ่งท่านได้วิเคราะห์แยกแยะ
อธิบายให้เห็นความหมาย ดังนี้
๑. พุชฺฌติ จตฺตาริ อริยสจฺจานิ เอตฺถาติ โพธิ, โพธิรุกฺโข. โพธิ หมายถึงต้นไม้ที่
พระพุทธเจ้าประทับนั่งตรัสรู้อริยสัจ คือ ต้นโพธิ์ ดังข้อความว่า พุทฺโธ ภควา วิหรติ โพธิรุกฺขมูเล
ปฐมาภิสมฺพุทฺโธ.๓
แปลว่า ชวงแรกตรัสรู้ พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับที่ควงไม้โพธิ์และ
ข้อความว่า อทฺทสา โข อุปโก อาชีวโก ภควนฺต อนฺตรา จ คย อนฺตรา จ โพธึ อทฺธาน-
มคฺคปฏิปนฺน ทิสฺวาน ภควนฺต.๔
แปลว่า อาชีวกชื่ออุปกะได้พบพระผู้มีพระภาคเสด็จดาเนิน
ทางไกล ณ ระหว่างแม่น้าคยากับต้นโพธิ
๒. พุชฺฌติ จตฺตาริ สจฺจานีติ โพธิ, มคฺโค. โพธิ หมายถึงสัจจะ ๔ ที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ คือ
มรรค ดังข้อความที่พระสารีบุตรอธิบายปรากฏในคัมภีร์นิทเทสว่า โพธีติ วุจฺจติ จตูสุ มคฺเคสุ
ญาณ.๕
แปลว่า ญาณในมรรค ๔ ท่านเรียกว่า โพธิ
๑
นม.ฏีกา (บาลี) ๔๓.
๒
นีติ.ธาตุ. (ไทย) ๒/๕๙๘.
๓
วิ.ม. (บาลี) ๔/๑๑/๑๑.
๔
วิ.ม. (บาลี) ๔/๑๑/๑๑.
๕
ขุ.ม. (บาลี) ๒๙/๒๗/๗๖, ขุ.จู. (บาลี) ๓๐/๑๒๑๒๔๑.
๒
๓. พุชฺฌติ สพฺพเญยฺยธมฺมนฺติ โพธิ.๖
โพธิ หมายถึงธรรมที่พึงรู้ทั้งปวงที่พระพุทธเจ้า
ตรัสรู้ ดังข้อความว่า ปปฺโปติ โพธึ วรภูริเมธโส.๗
แปลว่า บรรลุพระโพธิญาณ มีพระปัญญา
ประเสริฐกว้างขวางดังแผ่นดิน
๔. ปตฺวา โพธึ อมต อสงฺขตนฺติ อาคตฏฺฐาเน นิพฺพาน โพธีติ วุจฺจติ.๘
โพธิ หมายถึงพระ
นิพพาน ดังข้อความว่า ทรงบรรลุโพธิอันเป็นอมตะที่ปัจจัยปรุงแต่งไม่ได้
๕. โพธิ ภนฺเต ราชกุมาโร ภควโต ปาเท สิรสา วนฺทติ.๙
แปลว่า “พระองค์ผู้เจริญ โพธิ
ราชกุมาร ฝากมาถวายบังคมพระบาทพระผู้มีพระภาค” ข้อความนี้ท่านอ้างมารองรับโพธิที่หมายถึง
นามบัญญัติอย่างนั้น คือ ที่ตั้งเป็นชื่อบุคคลอย่างนั้น
ข้อความภาษาบาลีนี้ เรียกว่ารูปวิเคราะห์ คือแยกแยะให้เห็นว่า โพธิ มีกระบวนการทาง
ภาษาที่แสดงความหมาย คาว่า โพธิ เป็นบทสาเร็จ ท่านแยกแยะให้เห็นความหมาย ๕ ความหมาย
๑.๑ ความเป็นมาแห่งพระไตรปิฎก
ในการศึกษาวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ มิใช่จะมุ่งวิเคราะห์เนื้อหาแห่งพระไตรปิฎก
เท่านั้น ผู้ศึกษาจาเป็นต้องทราบความเป็นมาแห่งพระไตรปิฎก เพื่อเป็นการปูพื้นฐานความรู้ด้าน
ต่างๆ ในพระไตรปิฎก เป็นการปลูกศรัทธาและเสริมปัญญาในพระไตรปิฎก เป็นเบื้องต้น เมื่อมี
ศรัทธาพอดีกับปัญญา การศึกษาพระไตรปิฎก ซึ่งรวมไปถึงอรรถกถาและฎีกา จึงจะเป็นไปในทาง
ที่เหมาะสม ความเป็นมาแห่งพระไตรปิฎก มีรายละเอียดพอสรุปได้ดังต่อไปนี้
ความเป็นมาแห่งพระไตรปิฎก เมื่อกาหนดตามที่ปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนา ก็ถือ
ว่า เริ่มต้นที่สุเมธดาบสตั้งความปรารถนาขอตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า โดยนับย้อนหลังจากนี้ไป ๔
อสงไขย ๑ แสนกัป ครั้งที่พระพุทธเจ้าโคดมเสวยพระชาติเป็นสุเมธพราหมณ์ มีทรัพย์สินมหาศาล
ท่านพิจารณาเห็นว่าการเกิดการตายเป็นทุกข์ คิดที่จะแสวงหาความดับทุกข์ จึงสละทรัพย์สินจานวน
มหาศาลออกบวชเป็นดาบส ช่วงแรกท่านใช้ผ้าสาฎกที่เคยใช้มาในสมัยที่ยังเป็นผู้ครองเรือน
ภายหลังท่านสละผ้าสาฎกซึ่งท่านเห็นว่า มีโทษ ๙ ประการ คือ
๑. มีราคามาก ๒. ต้องเกี่ยวข้องในการที่ต้องขอรับจากผู้อื่น
๓. ใช้สอยแล้วสกปรกง่าย ๔. ต้องซักต้องย้อม
๕. ใช้เก่าแล้วก็ต้องปะหรือชุนจะแสวงหาได้ยาก
๖
นม.ฏีกา (บาลี) ๔๓-๔๔.
๗
ที.ปา. (บาลี) ๑๑/๒๑๗/๑๓๗.
๘
นม.ฏีกา (บาลี) ๔๔, นีติ.ธาตุ. (ไทย) ๒/๕๙๙.
๙
ม.ม. (บาลี) ๑๓/๓๒๔/๓๐๕.
๓
๖. ผ้าสาฎกไม่เหมาะสาหรับผู้บวชเป็นดาบส
๗. ผ้าสาฎกใช้กันทั่วไปทาให้มีผู้ต้องการเอาไปใช้
๘. จะต้องดูแลรักษาไม่ให้พวกที่ต้องการหยิบไปได้ เป็นเหตุให้ผู้บาเพ็ญเพียรจัดว่า
ประดับตกแต่ง
๙. ดาบสนุ่งห่มไปไหนมาไหนถือว่ามักมาก๑๐
เมื่อท่านเลิกใช้ผ้านุ่งผ้าห่มของชาวบ้านแล้วท่านได้ใช้ผ้าเปลือกไม้ ซึ่งมีคุณประโยชน์
๑๒ ประการ คือ
๑. มีราคาน้อย ๒. ไม่ต้องเกี่ยวข้องกับผู้อื่น
๓. สามารถทาเองได้ ๔. ใช้สอยเก่าแล้วก็ไม่ต้องเย็บ
๕. ไม่ต้องกลัวว่าขโมยจะลักไป ๖. แสวงหามาทาได้ง่าย
๗. เหมาะสาหรับผู้บวชเป็นดาบส ๘. เมื่อใช้สอยไม่ถือว่าประดับตกแต่ง
๙. มีความมักน้อยในผ้านุ่งผ้าห่ม ๑๐. นุ่งห่มสะดวก
๑๑. หาเปลือกไม้มาทาได้ง่าย ๑๒. แม้เมื่อผ้าเปลือกไม้หายไปก็ไม่เสียดาย๑๑
เนื่องจากในระยะแรกที่ออกบวชท่านพักอาศัยในบรรณศาลาอยู่ในป่าหิมพานต์ ท่าน
เห็นว่าบรรณศาลามีโทษ ๘ ประการ คือ
๑. ต้องใช้อุปกรณ์มากกว่าจะสร้างเสร็จ
๒. ต้องใช้หญ้าใบไม้ดินเหนียวซ่อมแซมเป็นประจา
๓. จิตไม่มีเอกัคคตาเมื่อถูกให้ย้ายออกเนื่องจากที่นั่งที่นอนถึงคราวที่ต้องให้คนแก่พัก
อาศัย ก็ต้องย้ายออก
๔. ร่างกายของผู้อยู่ในที่มุงบังบอบบางเมื่อออกไปกระทบหนาวร้อน
๕. ต้องป้ องกันข้อครหาว่า คนที่เข้าที่มุงบังอาจจะทาชั่ว
๖. มักมีความหวงแหนสถานที่เป็นของตน
๗. การมีที่พักก็ย่อมมีเพื่อน
๘. บรรณศาลาเป็นสถานที่สาธารณะแก่สัตว์จานวนมาก เช่น ตัวเล็นตัวเลือดและจิ้งจก๑๒
ท่านจึงละทิ้งบรรณศาลาออกไปอาศัยอยู่บริเวณโคนต้นไม้ ท่านบาเพ็ญเพียรที่บริเวณ
โคนต้นไม้เพียง ๗ วันก็สาเร็จอภิญญา๑๓
ต่อมา สุเมธดาบสได้พบพระพุทธเจ้าทีปังกร ซึ่งถ้าท่านขอ
๑๐
ขุ.พุทฺธ.อ. (บาลี) ๑๑๘, ขุ.พุทฺธ.อ. (ไทย) ๙/๒/๑๘๒.
๑๑
ขุ.พุทฺธ.อ. (บาลี) ๑๑๙, ขุ.พุทฺธ.อ. (ไทย) ๙/๒/๑๘๓.
๑๒
ขุ.พุทฺธ.อ. (บาลี) ๑๑๙, ขุ.พุทฺธ.อ. (ไทย) ๙/๒/๑๘๓-๑๘๔.
๑๓
ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๑-๓๓/๔๔๗–๔๕๐, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๑-๓๓/๕๖๗- ๕๗๑.
๔
บวชเป็นสาวกของพระพุทธเจ้าทีปังกรบาเพ็ญเพียร ท่านจักได้สาเร็จอรหัตผล ดับทุกข์ทั้งมวล
ท่านมิได้บวชเป็นสาวก เพราะท่านปรารถนาที่จะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต ซึ่งพระพุทธเจ้า
ทีปังกร ก็ได้ทรงพยากรณ์ว่าท่านจะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าพระนามว่าโคดมในอนาคต๑๔
การที่บุคคลตั้งความปรารถนาที่จะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า แล้วความปรารถนาจะสาเร็จ
ได้นั้น ผู้ปรารถนาต้องมีธรรมที่รวมอยู่ในตน ๘ ประการ ซึ่งสุเมธดาบส ก็มีคุณธรรมที่รวมอยู่ใน
ตัวท่าน ๘ ประการ อันทาให้ความปรารถนาสาเร็จได้คือ
๑. ท่านเกิดเป็นมนุษย์ ๒. เป็นบุรุษ
๓. มีอุปนิสัยที่สามารถบรรลุธรรม ๔. ได้พบพระพุทธเจ้า
๕. เป็นนักบวช ๖. ได้สมาบัติ ๘ และอภิญญา ๕
๗. สละชีวิตเพื่อพระพุทธเจ้า ๘. มีฉันทะ พอใจจะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า๑๕
เฉพาะฉันทะท่านมีอย่างแรงกล้าที่จะบาเพ็ญบารมีเพื่อตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ถึงขนาด
ว่า ถ้าท่านต้องตกนรกเป็นเวลาถึง ๔ อสงไขย ๑๐๐,๐๐๐ กัป หรือต่อให้ท่านต้องเดินลุยถ่านเพลิงที่มี
เปลวไฟลุกโชติช่วงเต็มทั้งจักรวาล หรือต่อให้ท่านเดินลุยหอกหลาวที่ปักไว้เต็มจักรวาล หรือต่อให้
ท่านต้องเดินเหยียบหนามไผ่ที่ขึ้นเต็มทั้งจักรวาล จึงจะสาเร็จเป็นพระพุทธเจ้า ท่านก็ยินดีที่จะทา
อย่างนั้น ขอให้ได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า๑๖
เมื่อสุเมธดาบส ได้รับการพยากรณ์ว่า จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคตจาก
พระพุทธเจ้าทีปังกร ท่านก็เป็นพระโพธิสัตว์ คือ บุคคลผู้ที่จะได้ตรัสรู้๑๗
ก่อนที่จะได้ตรัสรู้นั้น
ท่านได้เวียนตายเวียนเกิดบาเพ็ญบารมีหลายภพชาติ หลังจากชาติที่ท่านได้พบพระพุทธเจ้าทีปังกร
แล้ว ท่านยังได้เกิดในสมัยของพระพุทธเจ้าอีก ๒๓ องค์ ซึ่งได้รับการพยากรณ์ว่า จะได้ตรัสรู้
เป็นพระพุทธเจ้า คือ
๑. พระพุทธเจ้าโกณฑัญญะ ๒. พระพุทธเจ้ามังคละ
๓. พระพุทธเจ้าสุมนะ ๔. พระพุทธเจ้าเรวตะ
๑๔
ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๓๔-๖๙/๔๕๐–๔๕๔, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๓๔-๖๙/๕๗๑- ๕๗๖.
๑๕
ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๕๙/๔๕๔, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๕๙/๕๗๔-๕๗๕.
๑๖
ขุ.ชา. (บาลี) ๑/๒๒-๒๓, ขุ.อป.อ. (บาลี) ๑/๑๙-๒๐, ขุ.พุทฺธ.อ. (บาลี) ๑๓๙-๑๔๐.
๑๗
โพธิสตฺโต ประกอบขึ้นจากคาว่า โพธิ+สตฺโต วิเคราะห์ว่า พุชฺฌตีติ โพธิ บุคคลใดจะตรัสรู้ เหตุนั้น
บุคคลนั้น ชื่อโพธิ ผู้จะตรัสรู้, โพธิ สตฺโต โพธิสตฺโต สัตว์ผู้จะตรัสรู้ ชื่อว่า โพธิสัตว์, ผู้ที่ปรารถนาจะตรัสรู้เป็น
พระพุทธเจ้า ถ้ายังไม่เคยพบพระพุทธเจ้าและยังไม่ได้รับการพยากรณ์ว่า จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า เรียกว่า
อนิยตโพธิสัตว์ คือ ยังเป็นพระโพธิสัตว์ที่ไม่แน่นอน จิตอาจเปลี่ยนไม่อยากตรัสรู้ก็ได้ ส่วนผู้ที่ปรารถนาแล้ว
ได้รับการพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าว่า จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ชื่อว่านิยตโพธิสัตว์ คือเป็นพระโพธิสัตว์ที่
จะได้ตรัสรู้แน่นอน (เขียนจากความจารอการอ้างอิง).
๕
๕. พระพุทธเจ้าโสภิตะ ๖. พระพุทธเจ้าอโนมทัสสี
๗. พระพุทธเจ้าปทุมะ ๘. พระพุทธเจ้านารทะ
๙. พระพุทธเจ้าปทุมุตตระ ๑๐. พระพุทธเจ้าสุเมธะ
๑๑. พระพุทธเจ้าสุชาตะ ๑๒. พระพุทธเจ้าปิยทัสสี
๑๓. พระพุทธเจ้าอัตถทัสสี ๑๔. พระพุทธเจ้าธัมมทัสสี
๑๕. พระพุทธเจ้าสิทธัตถะ ๑๖. พระพุทธเจ้าติสสะ
๑๗. พระพุทธเจ้าปุสสะ ๑๘. พระพุทธเจ้าวิปัสสี
๑๙. พระพุทธเจ้าสิขี ๒๐. พระพุทธเจ้าเวสสภู
๒๑. พระพุทธเจ้ากกุสันธะ ๒๒. พระพุทธเจ้าโกนาคมน์
๒๓. พระพุทธเจ้ากัสสปะ๑๘
ผู้ที่ปรารถนาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ตามคุณธรรม ๘ ที่กล่าวข้างต้น มีข้อหนึ่ง ต้องเป็น
นักบวช และอีกข้อหนึ่งต้องได้สมาบัติและอภิญญา ปรากฏว่า ในสมัยของพระพุทธเจ้า ๒๓ องค์
นั้น๑๙
พระโพธิสัตว์ออกบวชในพระศาสนาของพระพุทธเจ้า ๑๒ องค์คือ
๑. ในสมัยของพระพุทธเจ้าโกณฑัญญะ พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าจักร
พรรดิวิชิตาวี ได้ถวายทานแด่พระภิกษุสงฆ์ มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ได้รับการพยากรณ์จาก
พระพุทธเจ้าว่า จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ท่านฟังแล้วได้สละราชสมบัติออกผนวชเป็นสาวก
เรียนพระไตรปิฎก สาเร็จสมาบัติ ๘ และอภิญญา ๕ สิ้นพระชนม์แล้วไปบังเกิดในพรหมโลก๒๐
๒.ในสมัยของพระพุทธเจ้ามังคละ พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นสุรุจิพราหมณ์ใน
กรุงพาราณสีได้สละสมบัติออกบวชเป็นพระสาวก๒๑
๑๘
ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๑๑-๑๒/๔๗๑, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๑๑-๑๒/๕๙๗-๕๙๘, ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๑๖-
๒๑/๕๖๙-๕๗๐, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๑๖-๒๑/๗๑๓-๗๑๔.
๑๙
ความจริง พระโพธิสัตว์เกิดในสมัยของพระพุทธเจ้าอีก ๓ องค์ คือ พระพุทธเจ้าตัณหังกร
พระพุทธเจ้าเมธังกร พระพุทธเจ้าสรณังกร แต่ทั้ง ๓ องค์มิได้ทรงพยากรณ์ว่าท่านจะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า จึงไม่
มีการแสดงรายละเอียดของพระพุทธเจ้าทั้ง ๓ องค์นั้น ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๑/๕๗๖, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๑/๗๒๑,
ขุ.พุทฺธ.อ. (บาลี) ๑๙๒.
๒๐
ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๒๒/๔๗๒, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๒๒/๕๙๙, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๑/๔๘,
ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๑/๕๐.
๒๑
ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๑๕/๔๗๗, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๑๕/๖๐๕.
๖
๓. ในสมัยของพระพุทธเจ้านารทะ พระโพธิสัตว์บวชเป็นฤๅษี บาเพ็ญสมณธรรม
จนสาเร็จอภิญญา ๕ สมาบัติ ๘ ถวายมหาทานแก่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขได้
กระทาการบูชาด้วยจันทน์แดง๒๒
๔. ในสมัยของพระพุทธเจ้าสุเมธะ พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นอุตตรมาณพได้สละ
สมบัติ ๘๐ โกฏิที่ฝั่งเก็บไว้ทั้งหมด ถวายมหาทานแต่พระสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ฟังธรรม
แล้วรับสรณะออกบวชเป็นสาวกของพระพุทธเจ้าสุเมธะ๒๓
๕. ในสมัยของพระพุทธเจ้าสุชาตะ พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ
ทรงทราบว่า พระพุทธเจ้าเกิดขึ้นแล้วจึงเสด็จเข้าไปเฝ้าฟังธรรมแล้วถวายราชสมบัติในทวีปทั้ง ๔
พร้อมรัตนะ ๗ ประการแก่สงฆ์ มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขแล้วทรงผนวชเป็นสาวกของ
พระพุทธเจ้า๒๔
๖. ในสมัยของพระพุทธเจ้าอัตถทัสสี พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นสุสิมพราหมณ์
สละบ้านเรือนออกบวชเป็นชฎิล๒๕
๗. ในสมัยของพระพุทธเจ้าสิทธัตถะ พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นมังคลพราหมณ์
สละบ้านเรือนออกบวชเป็นดาบส๒๖
๘. ในสมัยของพระพุทธเจ้าติสสะ พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าสุชาตะได้
สละราชสมบัติออกผนวชเป็นฤๅษี๒๗
๙. ในสมัยของพระพุทธเจ้าปุสสะ พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าวิชิตะได้สละ
ราชสมบัติออกผนวชเป็นพระสาวก๒๘
๑๐. ในสมัยของพระพุทธเจ้าเวสสภู พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าสุทัสสนะ
ได้สละราชสมบัติออกผนวชเป็นพระสาวก๒๙
๒๒
ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๑/๕๘, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๑/๖๑-๖๒.
๒๓
ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๑๑-๑๒/๕๑๓, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๑๑-๑๒/๖๔๖, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๑/๕๙,
ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๑/๖๓.
๒๔
ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๑๑-๑๓/๕๑๗-๕๑๘, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๑๑-๑๓/๖๕๑, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี)
๑/๖๐, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๑/๖๔.
๒๕
ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๙/๕๒๗, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๙/๖๖๑.
๒๖
ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๘/๕๓๕, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๘/๖๗๑.
๒๗
ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๙/๕๓๙, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๙/๖๗๖.
๒๘
ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๘/๕๔๓, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๙/๖๘๑.
๒๙
ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๑๐-๑๒/๕๕๖, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๑๐-๑๒/๖๙๖-๖๙๗.
๗
๑๑. ในสมัยของพระพุทธเจ้าโกนาคมน์ พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าปัพพตะ
ได้สละราชสมบัติออกผนวชเป็นพระสาวก๓๐
๑๒. ในสมัยของพระพุทธเจ้ากัสสปะ พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นโชติปาลมาณพ
ศึกษาจบไตรเพท ได้เข้าไปเฝ้าพระศาสดาฟังธรรมกถาแล้วได้สละสมบัติบวชเป็นสาวก เรียน
พระไตรปิฎก ถึงพร้อมด้วยวัตรปฏิบัติ๓๑
ใน ๑๒ ชาติรวมชาติที่เกิดเป็นสุเมธดาบสในสมัยพระพุทธเจ้าทีปังกรเป็น ๑๓ ชาติ
พระโพธิสัตว์ออกบวชเป็นสาวกของพระพุทธเจ้า ๙ ชาติ ออกบวชเป็นฤๅษีเป็นดาบส ๔ ชาติ
จากการศึกษาค้นคว้าการบาเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์ในชาดก ได้พบว่า พระโพธิ
สัตว์สละชีวิตฆราวาสออกบวชบาเพ็ญเนกขัมมบารมีจานวน ๑๑๑ ชาดก คือ
๑. ในมฆเทวชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้ามฆเทพ ครองราชย์สมบัติใน
กรุงมิถิลาวิเทหรัฐ เมื่อพระองค์มีพระเกสาหงอกได้ทรงสละราชสมบัติเสด็จออกผนวช๓๒
๒. ในสุขวิหาริชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์มีทรัพย์มาก ท่านเห็น
โทษในกามและอานิสงส์ในการออกบวช จึงละกามเข้าป่าหิมพานต์บวชเป็นฤๅษี สาเร็จสมาบัติ ๘
ท่านมีดาบสบริวารจานวน ๕๐๐ ท่าน มีหัวหน้าศิษย์ดาบส เป็นราชาที่สละราชสมบัติมากออกบวช
เจริญกสิณได้สมาบัติ ๘ ชอบเปล่งอุทานว่า “สุขหนอ สุขหนอ” เนื่องจากในสมัยที่เป็นคฤหัสถ์
เสวยสิริราชสมบัติ มีทหารถืออาวุธถวายอารักขาอยู่ ก็ไม่มีความสุขเหมือนความสุขในการบวช
และความสุขในฌาน๓๓
๓. ในมาลุตชาดก พระโพธิสัตว์บวชเป็นฤๅษี อาศัยอยู่ที่เชิงเขา ซึ่งมีราชสีห์กับเสือโคร่ง
เป็นเพื่อนกันอยู่ในถ้าเดียวกัน วันหนึ่งเกิดทะเลาะกันเรื่องอากาศหนาวมีในเวลาข้างแรมเวลาข้างขึ้น
ตกลงกันไม่ได้จึงถามพระโพธิสัตว์๓๔
๔. ในเวฬุกชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นบุตรของผู้มีสมบัติมาก พอเจริญวัยรู้
เดียงสา ออกบวชเป็นฤๅษีบาเพ็ญกสิณ สาเร็จอภิญญา ๕ และสมาบัติ ๘ สอนหมู่ดาบสให้เจริญ
๓๐
ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๑๔-๑๕/๕๖๖, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๑๔-๑๕/๗๐๙.
๓๑
ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๑๓-๑๔/๕๖๙, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๑๓-๑๔/๗๑๓, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๑/๖๗,
ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๑/๗๒-๗๓.
๓๒
ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๙/๓, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๙/๔, ขุ.ชา.อ. (บาลี) ๑/๑๙๕-๑๙๘, ขุ.ชา.อ.
(ไทย) ๓/๑/๒๒๐-๒๒๑.
๓๓
ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๑๐/๓, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๑๐/๔, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๑/๑๙๙-๒๐๐,
ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๑/๒๒๕-๒๒๖.
๓๔
ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๑๗/๕, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๑๗/๗, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๑/๒๓๑-๒๓๒,
ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๑/๒๖๖.
๘
พรหมวิหาร ๔ เมื่อสิ้นอายุ ก็ไปเกิดในพรหมโลก๓๕
๕. ในอสาตมันตชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ศึกษาจบไตรเพท เป็น
อาจารย์ทิศาปาโมกข์ ได้สละชีวิตฆราวาสออกบวชเป็นฤๅษี สอนศิษย์ให้รู้โทษแห่งกามคุณ๓๖
๖. ในตักกบัณฑิตชาดก พระโพธิสัตว์บวชเป็นฤๅษี บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญา ๕ และสมาบัติ ๘
ในเวลาสิ้นชีวิต ก็ได้ไปเกิดในพรหมโลก๓๗
๗. ในมุทุลักขณชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ออกบวชเป็นฤๅษี
บาเพ็ญกสิณจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ เจริญพรหมวิหาร มรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๓๘
๘. ในกุททาลชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นคนปลูกผักขาย ออกบวชเป็นฤๅษี
ท่านบวชๆ สึกๆ ถึง ๖ ครั้ง ในครั้งที่ ๗ เข้าไปยังป่าหิมพานต์บวชบริกรรมกสิณเจริญพรหมวิหาร
สาเร็จสมาบัติมรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๓๙
๙. ในสัจจังกิรชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ เจริญวัยแล้ว บวชเป็น
ฤๅษี สร้างศาลาอาศัยอยู่ที่คุ้งน้าตอนหนึ่ง ท่านได้ช่วยเหลือพระราชกุมาร งู หนู นกแขกเต้า
ซึ่งเกาะขอนไม้ลอยน้ามาให้พ้นอันตราย๔๐
๑๐. ในอสังกิยชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์เจริญวัยแล้ว ออกบวช
เป็นฤๅษีอยู่ในป่าหิมพานต์๔๑
๓๕
ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๔๓/๑๑, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๔๓/๑๘, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๒/๑๔-๑๕,
ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๒๓-๒๔.
๓๖
ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๖๑/๑๕, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๖๑/๒๖, ขุ.ชา.อ. (บาลี) ๒/๖๕-๗๐,
ขุ.ชา.อ. (ไทย) ๓/๒/๑๑๑-๑๑๖.
๓๗
ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๖๓/๑๖, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๖๓/๒๖-๒๗, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๒/๗๗-
๘๑, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๑๓๑-๑๓๕.
๓๘
ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๖๖/๑๖, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๖๖/๒๗-๒๘, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๒/๘๗–
๙๑, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๑๔๘-๑๕๓.
๓๙
ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๗๐/๑๗, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๗๐/๒๙, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๒/๙๘-๑๐๒,
ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๑๖๘-๑๗๓.
๔๐
ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๗๓/๑๘, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๗๓/๓๐, ขุ.ชา. เอกก.อ. (บาลี) ๒/๑๑๓-
๑๑๔, ขุ.ชา. เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๑๙๑-๑๙๒.
๔๑
ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๗๖/๑๙, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๗๖/๓๑, ขุ.ชา. เอกก.อ. (บาลี) ๒/๑๒๖-
๑๒๗, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๒๑๒-๒๑๔.
๙
๑๑. ในมหาสุบินชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ตระกูลสูง เจริญวัยแล้ว
บวชเป็นฤๅษี บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ๔๒
๑๒. ในสุราปานชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ตระกูลสูง เจริญวัยแล้ว
บวชเป็นฤๅษี พักอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ มีดาบสบริวารประมาณ
๕๐๐ ท่าน๔๓
๑๓. ในสีลวิมังสนชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นปุโรหิตของพระเจ้าพรหมทัต
ในกรุงพาราณสี เป็นคนให้ทาน ถือศีล ๕ ไม่ขาด ได้รับการยกย่องจากพระราชา ภายหลังได้บวช
เป็นฤๅษี ไปอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญา ๕ สมาบัติ ๘ มรณภาพแล้วไป
เกิดในพรหมโลก๔๔
๑๔. ในมังคลชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ตระกูลสูง พอรู้เดียงสา
ก็บวชเป็นฤๅษี พักอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ๔๕
๑๕. ในโลมหังสชาดก นับจากนี้ไป ๙๑ กัป พระโพธิสัตว์ต้องการจะทดลองบาเพ็ญตบะ
แบบนอกลู่นอกทาง จึงบวชเป็นอาชีวก ไม่นุ่งผ้า เอาฝุ่นทาตัว อยู่โดดเดี่ยวคนเดียว เห็นพวกมนุษย์
แล้วก็วิ่งหนี มีมหาวิกัติเป็นอาหาร๔๖
เช่นกินโคมัยแห่งลูกโค อยู่ในไพรสณฑ์เปลี่ยว เวลากลางคืน
หิมะตก ก็ออกจากไพรสณฑ์ไปอยู่กลางแจ้ง ตัวชุ่มโชกด้วยน้าหิมะ เวลากลางวัน ก็เข้าอยู่ในไพร
สณฑ์ ตัวชุ่มโชกด้วยหยาดน้าที่ไหลจากไพรสณฑ์ ทนทุกข์จากความหนาวทั้งกลางวันกลางคืน ท้าย
เดือนฤดูร้อน เวลากลางวันก็อยู่กลางแจ้งรุ่มร้อนด้วยแสงแดด เวลากลางคืนก็อยู่ในไพรสณฑ์ที่
ปราศจากลม กายรุ่มร้อน จนหยาดเหงื่อไหลจากสรีระ เร่าร้อนด้วยความแผดเผาจากดวงอาทิตย์
หนาวเหน็บชุ่มโชกด้วยน้าหิมะ อยู่ผู้เดียว ไม่มีเพื่อน ในป่าน่ากลัว ซึ่งผู้ที่เข้าไปแล้วต้องขนลุก
๔๒
ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๗๗/๑๙, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๗๗/๓๒, ขุ.ชา. เอกก.อ. (บาลี) ๒/๑๔๐-
๑๔๓, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๒๓๖-๒๔๑.
๔๓
ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๘๑/๒๐, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๘๑/๓๔, ขุ.ชา. เอกก.อ. (บาลี) ๒/๑๖๔-
๑๖๖, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๒๗๖-๒๗๙.
๔๔
ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๘๖/๒๑, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๘๖/๓๖, ขุ.ชา. เอกก.อ. (บาลี) ๒/๑๗๖-
๑๗๘, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๓๐๐-๓๐๒.
๔๕
ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๘๗/๒๒, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๘๗/๓๖, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๒/๑๘๐-๑-
๘๑, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๓๐๖-๓๐๘.
๔๖
คือ กิน มูตร คูถ เถ้า ดิน เป็นอาหาร วิ.ม. (บาลี) ๕/๒๖๘/๓๖, วิ.ม. (ไทย) ๕/๒๖๘/๖๐.
๑๐
ขนพอง เป็นคนเปลือย ทั้งไม่ได้ผิงไฟ แม้จะถูกลมหนาวเบียดเบียนก็ไม่นุ่งผ้าห่มผ้า ไม่ได้ผิงไฟ
เข้าใจสิ่งที่มิใช่พรหมจรรย์เป็นพรหมจรรย์ ขวนขวายพากเพียร เข้าใจว่า การปฏิบัตินี้เป็น
พรหมจรรย์๔๗
๑๖. ในปโรสหัสสชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ตระกูลสูง เจริญวัย
เรียนสรรพศิลปวิทยา ละกามบวชเป็นฤๅษี อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญา ๕
สมาบัติ ๘ มีดาบสบริวาร ๕๐๐ ท่าน ท่านมรณภาพแล้วไปเกิดบนอาภัสสรพรหม๔๘
๑๗. ในติตติรชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ตระกูลสูงเจริญวัยเรียน
ศิลปะทุกอย่าง ละกามออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญา ๕
สมาบัติ ๘ ท่านเป็นอาจารย์สอนฤๅษี ๕๐๐ ท่าน มรณภาพแล้วไปเกิดในพรหมโลก๔๙
๑๘. ในพันธนโมกขชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นปุโรหิตของพระเจ้าพรหมทัต
แห่งกรุงพาราณสี ถูกพระมเหสีของพระเจ้าพรหมทัตใส่ร้ายว่า ข่มขืนพระนาง พระราชารับสั่งให้
จองจาท่านแต่ท่านได้ทาให้พระราชาทรงทราบความจริงแล้วกราบทูลขออนุญาตออกบวช ท่าน
กราบทูลว่า ที่เกิดเรื่องนี้ขึ้น เพราะท่านอยู่ครองเรือน ท่านไม่ต้องการอยู่ครองเรือน ต้องการออก
บวช แล้วลาญาติ สละสมบัติจานวนมาก บวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจน
สาเร็จฌานสมาบัติ มรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๕๐
๑๙. ในอัมพชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ตระกูลสูงเจริญวัยแล้วบวช
เป็นฤๅษี มีบริวาร ๕๐๐ ท่าน อาศัยอยู่ที่เชิงเขา คราวหนึ่ง ป่าหิมพานต์แห้งแล้งอย่างหนัก น้าดื่มในที่
ต่างๆ เหือดแห้ง พวกสัตว์ดิรัจฉานไม่ได้น้ากินต่างลาบาก ดาบสบริวารท่านหนึ่ง เห็นพวก
ดิรัจฉานอดน้า จึงตัดต้นไม้ต้นหนึ่งทารางโพงน้าใส่ให้พวกดิรัจฉานกิน เมื่อพวกสัตว์ดิรัจฉาน
จานวนมากพากันมากินน้า พระดาบสเลยไม่มีโอกาสที่จะไปหาผลไม้ฉัน ท่านยอมอดอาหาร
๔๗
ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๙๔/๒๓, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๙๔/๓๙, ขุ.ชา. เอกก.อ. (บาลี) ๒/๒๐๓-
๒๐๔, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๓๔๕-๓๔๗.
๔๘
ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๙๙/๒๔, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๙๙/๔๑, ขุ.ชา. เอกก.อ. (บาลี) ๒/๒๒๓-
๒๒๕, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๓๘๐.
๔๙
ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๑๑๗/๒๙, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๑๑๗/๔๘, ขุ.ชา. เอกก.อ. (บาลี) ๒/๒๕๖-
๒๕๗, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๔๔๒-๔๔๓.
๕๐
ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๑๒๐/๓๐, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๑๒๐/๔๙, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๒/๒๖๔-
๒๖๘, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๔๕๔-๔๖๑.
๑๑
โพงน้าให้พวกสัตว์ดิรัจฉานกิน ฝูงเนื้อแต่ละตัวพากันคาบผลไม้มาให้ รวมแล้วประมาณ ๒ เล่ม
เกวียนครึ่ง พระดาบสทั้ง ๕๐๐ พลอยฉันผลไม้ทั่วกัน๕๑
๒๐. ในเอกปัณณชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ตระกูลสูง เรียนจบ
ไตรเพทและสรรพศิลปวิทยา อยู่ครองเรือนระยะเวลาเล็กน้อย พอมารดาบิดาล่วงลับไป ท่านก็บวช
เป็นฤๅษี พักอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ๕๒
๒๑. ในอินทสมานโคตตชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้
ละการครองเรือนออกบวชเป็นฤๅษี อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ เป็นครูสอนฤๅษี ๕๐๐ ท่าน ท่าน
แนะนาอินทสมานโคตตดาบส ซึ่งเลี้ยงลูกช้างไว้ไม่ให้เลี้ยง เพราะมันเมื่อเติบโตมักฆ่าคนเลี้ยง ก็ไม่
เชื่อฟัง ต่อมาเมื่อมันโตก็ได้เอางวงจับอินทสมานโคตตดาบสฟาดลงกับพื้น เอาเท้าเหยียบศีรษะขยี้
จนมรณภาพ๕๓
๒๒. ในอุปสาฬหกชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ เรียนจบศิลปวิทยา
แล้ว ได้ออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ ได้สอน
พราหมณ์กับบุตรว่า สถานที่ที่ไม่ถูกเผาก็ดี สถานที่ที่ไม่ใช่ป่าช้าก็ดี สถานที่ที่ศีรษะไม่ทอดลงก็ดี
ไม่อาจหาได้ในแผ่นดิน๕๔
๒๕. ในสมิทธิชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ เจริญวัยเรียนจบ
ศิลปวิทยาทุกชนิดแล้วออกบวชเป็นฤๅษี บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ ท่านบาเพ็ญเพียร
ตลอดคืน เวลาอรุณขึ้นท่านอาบน้าแล้วนุ่งผ้าเปลือกไม้ผืนหนึ่ง ถือไว้ผืนหนึ่ง ยืนผึ่งตัวให้แห้ง ท่าน
บวชบาเพ็ญสมณธรรมแต่ยังหนุ่ม๕๕
๒๖. ในอรกชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ เจริญวัยแล้วละกามสุขบวช
เป็นฤๅษี อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรต สาเร็จพรหมวิหาร ๙ ท่านมีบริวารมาก ท่านสอน
๕๑
ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๑๒๔/๓๑, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๑๒๔/๕๑, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๒/๒๘๐-
๒๘๑, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๔๘๑-๔๘๒.
๕๒
ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๑๔๙/๓๖, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๑๔๙/๖๐, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๒/๓๕๐-
๓๕๓, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๖๐๑-๖๐๖.
๕๓
ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๑๖๑/๔๒, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๑๖๑/๖๙, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๓๙-๔๑,
ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๗-๗๘.
๕๔
ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๑๖๖/๔๔, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๑๖๖/๗๑, ขุ.ชา. ทุก.อ. (บาลี) ๓/๕๓-๕๔,
ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๑๐๕.
๕๕
ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๑๖๗/๔๔, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๑๖๗/๗๒, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๕๕-๕๖,
ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๑๐๙-๑๑๒.
๑๒
อานิสงส์การเจริญเมตตาบริวารเสมอ ท่านมรณภาพไปเกิดในพรหมโลก ไม่มาเกิดในโลกนี้เป็น
เวลา ๗ สังวัฏฏกัปและวิวัฏฏกัป๕๖
๒๗. ในกัลยาณธรรมชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นเศรษฐี มีหน้าที่ช่วยราช
กรณียกิจ ได้ขอพระราชทานอนุญาตบวช เข้าไปยังป่าหิมพานต์ บวชเป็นฤๅษี บาเพ็ญพรตจนสาเร็จ
อภิญญาสมาบัติ มรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๕๗
๒๘. ในมักกฏชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ เรียนจบศิลปวิทยา
อยู่ครองเรือน มีบุตรคนหนึ่ง พอบุตรวิ่งเที่ยวไปมาได้ นางพราหมณีก็ถึงแก่กรรม พระโพธิสัตว์
พาบุตรเข้าป่าหิมพานต์ บวชเป็นฤๅษีทั้ง ๒ คนพ่อลูก ฉันรากไม้และผลไม้ในป่าเป็นอาหารเจริญ
พรหมวิหาร ๔ มรณภาพแล้วไปเกิดในพรหมโลก๕๘
๒๙. ในอาทิจจุปัฏฐานชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ศึกษาจบศิลปะ
ออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาและสมาบัติ เป็นครูสอน
บริวารจานวนมาก ท่านกับบริวารบาเพ็ญพรตจนสาเร็จฌาน มรณภาพแล้วไปเกิดในพรหมโลก๕๙
๓๐. ในทุทททชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ เรียนจบศิลปวิทยา
ทุกอย่าง ออกบวชเป็นฤๅษี เป็นครูสอนดาบส อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จฌาน
มรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๖๐
๓๑. ในอสทิสชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นอสทิสราชกุมาร โอรสพระเจ้า
กรุงพาราณสี ทรงมีพรหมทัตกุมารเป็นพระกนิษฐภาดา เมื่อพระราชบิดาเสด็จสวรรคต ทรงมอบ
ราชสมบัติให้พรหมทัตราชกุมารแล้วเสด็จออกผนวชเป็นฤๅษี บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ
สิ้นพระชนม์ไปเกิดในพรหมโลก๖๑
๕๖
ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๑๖๙/๔๔, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๑๖๙/๗๓, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๕๙-๖๑, ขุ.ชา.
ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๑๑๘-๑๑๙.
๕๗
ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๑๗๑/๔๕, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๑๗๑/๗๔, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๖๓-๖๔,
ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๑๒๗-๑๒๙.
๕๘
ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๑๗๓/๔๖, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๑๗๓/๗๕, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๖๗-๖๘,
ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๑๓๕-๑๓๗.
๕๙
ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๑๗๕/๔๗, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๑๗๕/๗๖, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๗๑-๗๒,
ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๑๔๓-๑๔๕.
๖๐
ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๑๘๐/๔๘, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๑๘๐/๗๙, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๘๔-๘๕, ขุ.
ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๑๖๘-๑๗๐.
๖๑
ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๑๘๑/๔๙, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๑๘๑/๘๐, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๘๖-๙๐, ขุ.ชา.
ทุก.อ (ไทย) ๓/๓/๑๗๒-๑๗๗.
๑๓
๓๒. ในมิตตามิตตชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ออก
บวชเป็นฤๅษี อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ เป็นครูสอนประจาคณะ
ท่านได้สอนเหตุแห่งความเป็นมิตรและความเป็นศัตรู ท่านเจริญพรหมวิหาร มรณภาพแล้วไปเกิด
ในพรหมโลก๖๒
๓๓. ในพันธนาคารชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นคหบดียากจน ท่านทิ้งบุตร
ภรรยา เข้าป่าหิมพานต์ บวชเป็นฤๅษี บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ มรณภาพแล้วไปเกิดใน
พรหมโลก๖๓
๓๔. ในขันธชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ละการครองเรือน ออก
บวชเป็นฤๅษีสร้างอาศรมอยู่ที่คุ้งแม่น้าแห่งหนึ่งในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญา
สมาบัติ เป็นครูประจาคณะ มีฤๅษีเป็นบริวาร ท่านสอนให้ดาบสทั้งหลายเจริญเมตตาในตระกูล
พญางูทั้ง ๔ คือพญางูวิรูปักขะ พญางูเอราปถะ พญางูฉัพยาปุตตะ พญางูกัณหาโคตมกะ ท่านเจริญ
พรหมวิหาร มรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๖๔
๓๕. ในภรุชาดก พระโพธิสัตว์บวชเป็นดาบส อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจน
สาเร็จอภิญญาสมาบัติ เป็นครูสอนดาบสจานวน ๕๐๐ ท่าน๖๕
๓๖. ในอสิตาภุชาดก พระโพธิสัตว์บวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรต
จนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ ได้สอนให้พระนางอสิตาภูมเหสีของพรหมทัตกุมารโอรสพระเจ้า
กรุงพาราณสีเจริญกสิณจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ สามารถลอยขึ้นไปยืนในอากาศได้๖๖
๓๗. ในวัจฉนขชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ เจริญวัยแล้วออกบวช
เป็นฤๅษีอยู่ในป่าหิมพานต์ ท่านเข้าไปในกรุงพาราณสี ได้สอนเศรษฐีให้รู้โทษของการครองเรือนว่า
ผู้ครองเรือนถ้าไม่ขยันทางานเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ อย่างสม่าเสมอ การครองเรือนก็จะไม่มั่นคง ผู้
ครองเรือนที่จะไม่พูดเท็จเพื่อให้ได้สิ่งของ เช่นที่นาและเงินทอง ไม่ถือท่อนไม้ใช้อานาจลงโทษ
๖๒
ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๑๙๗/๕๔, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๑๙๗/๘๙, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๑๓๑-๑๓๒,
ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๒๕๙-๒๖๑.
๖๓
ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๒๐๑/๕๕, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๒๐๑/๙๑, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๑๓๙-๑๔๑,
ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๒๗๖-๒๘๐.
๖๔
ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๒๐๓/๕๖, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๒๐๓/๙๒, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๑๔๕-๑๔๘,
ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๒๘๘-๒๙๐.
๖๕
ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๒๑๓/๕๙, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๒๑๓/๙๘, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๑๗๒, ขุ.ชา.
ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๓๓๔.
๖๖
ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๒๓๔/๖๗, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๒๓๔/๑๑๐, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๒๓๐-
๒๓๒, ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๔๔๔-๔๔๖.
๑๔
ผู้อื่นไม่รังแกผู้อื่น ก็ครองเรือนไม่ได้ ผู้ลงโทษผู้อื่น เช่น ฆ่า จองจา ตัดอวัยวะ และเฆี่ยนตี จึงจะ
ครองเรือนได้มั่นคง เมื่อไม่ทาผิดเช่นพูดเท็จ จะอยู่ครองเรือนไม่ได้๖๗
๓๘. ในวิคติจฉชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ เมื่อเจริญวัยแล้วสละ
ทรัพย์สมบัติและครอบครัว๖๘
ออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ ต่อมาท่านลงจากภูเขาไป
พักอยู่ที่บรรณศาลาใกล้แม่น้าวน๖๙
ได้สนทนากับปริพาชกท่านหนึ่ง ซึ่งหาผู้ที่สนทนาโต้ตอบกับ
ตนไม่ได้มาสนทนาโต้ตอบด้วยจนปริพาชกสิ้นปฏิภาณลุกหนีไป๗๐
๓๙. ในพาโลวาทชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ออกบวชเป็นฤๅษี
บาเพ็ญสมณธรรมอยู่ในป่าหิมพานต์ ท่านออกจากป่าไปแสวงหารสเค็มและรสเปรี้ยวถูกกุฎุมพีคน
หนึ่งกลั่นแกล้ง๗๑
๔๐. ในกปิชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ เจริญวัยมีครอบครัวมีบุตร
คนหนึ่ง พอบุตรโตวิ่งเล่นได้ นางพราหมณีผู้เป็นภรรยาได้ถึงแก่กรรม ท่านอุ้มบุตรเข้าป่าหิมพานต์
บวชเป็นดาบส ให้บุตรบวชเป็นดาบสกุมาร บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติได้สอนดาบส
กุมารให้บริกรรมกสิณจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ ดาบสทั้ง ๒ มรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๗๒
๔๑. ในสังกัปปชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์มีทรัพย์มาก ท่านออก
บวชเป็นฤๅษี อยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตไม่นานก็ได้สาเร็จอภิญญาสมาบัติ ท่านได้เข้าไปพัก
อาศัยในราชอุทยาน ๑๒ ปี หลงรักพระมเหสีของพระเจ้ากรุงพาราณสีจนฌานเสื่อม แต่ในที่สุดท่าน
ก็สามารถทาฌานให้เกิดขึ้นมาอีก แล้วกลับไปอยู่ในป่าหิมพานต์จนมรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๗๓
๖๗
ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๒๓๕/๖๘, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๒๓๕/๑๑๐, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๒๓๓-
๒๓๕, ขุ.ชา. ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๔๔๙-๔๕๓.
๖๘
บาลีใช้คาว่า กาเม ปหาย (ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๒๕๗-๒๕๙) ละกามทั้งหลาย กาม คือสิ่งที่น่าใคร่
ซึ่งหมายถึงทรัพย์สมบัติและครอบครัวรวมทั้งความรู้สึกที่ใคร่ในสิ่งเหล่านั้น.
๖๙
บาลีใช้คาว่า คงฺคานิวตฺตเน อาจแปลว่า ตรงที่แม่น้าไหลกลับ ก็ได้.
๗๐
ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๒๔๔/๗๑, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๒๔๔/๑๑๖, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๒๕๗-
๒๕๙, ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๔๙๙ – ๕๐๑.
๗๑
ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๒๔๖/๗๑, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๒๔๖/๑๑๗, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๒๖๒-
๒๖๓, ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๕๐๘-๕๐๙.
๗๒
ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๒๕๐/๗๒, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๒๕๐/๑๑๙, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๒๖๙-
๒๗๑, ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๕๒๓-๕๒๕.
๗๓
ขุ.ชา.ติก. (บาลี) ๒๗/๒๕๑/๗๔, ขุ.ชา.ติก. (ไทย) ๒๗/๒๕๑/๑๒๐, ขุ.ชา.ติก.อ. (บาลี) ๔/๒-๗, ขุ.ชา.
ติก.อ. (ไทย) ๓/๔/๓-๑๑.
๑๕
๔๒. ในมณิกัณฐชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์มีทรัพย์สมบัติมากมี
น้องชาย ๑ คน เมื่อเจริญวัยมารดาบิดาถึงแก่กรรม ท่านจึงพากันบวชเป็นฤๅษีสร้างบรรณศาลาอยู่ที่
ฝั่งแม่น้าคงคา พระโพธิสัตว์อยู่เหนือแม่น้าคงคา ฤๅษีน้องชายอยู่ใต้แม่น้าคงคา ดาบสสองพี่น้อง
บาเพ็ญพรตจนสาเร็จฌานสมาบัติ มรณภาพไปเกิดในพรหมโลก ดาบสน้องชายได้มาเสวยพระชาติ
เป็นพระอานนท์ ดาบสผู้พี่ชายได้มาเกิดเป็นพระพุทธเจ้า๗๔
๔๓. ในติรีฏวัจฉชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไป
ศึกษาที่ตักศิลาจบศิลปะแล้วกลับมายังภูมิลาเนามีครอบครัว เมื่อมารดาบิดาล่วงลับไป ได้ออกบวช
เป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่า บาเพ็ญพรตสาเร็จอภิญญาและสมาบัติมรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๗๕
๔๔. ในจูฬปโลภนชาดก พระโพธิสัตว์จุติจากพรหมโลกลงมาเสวยพระชาติเป็นโอรส
ของพระเจ้าพรหมทัต ไม่ยอมให้สตรีถูกต้อง เมื่อทรงเจริญพระชันษาพระองค์ถูกสตรีสาวนักฟ้อน
รายั่วยวนจนลุ่มหลงหึงหวง ถึงกับทรงใช้ดาบไล่ฆ่าบุรุษกลัวจะมาแย่งนางไป จึงถูกพระบิดาทรงขับ
ออกจากเมือง ทรงพาสตรีนางนั้นไปอาศัยอยู่ในป่า ภายหลังพระองค์เห็นโทษแห่งกามจึงออกบวช
เป็นฤๅษีบาเพ็ญกสิณสาเร็จอภิญญาสมาบัติ มรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๗๖
๔๕. ในอุทปานทูสกชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นบุตรผู้มีตระกูล พอเจริญวัย
ได้บวชเป็นฤๅษีอยู่กับฤๅษีบริวารที่ป่าอิสิปตนะ๗๗
๔๖. ในกัจฉปชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ในแคว้นกาสี เมื่อเจริญวัย
ได้ไปศึกษาศิลปวิทยาที่กรุงตักศิลา ต่อมาได้ออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ริมฝั่งแม่น้าคงคา บาเพ็ญพรต
จนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ๗๘
๔๗. ในอัพภันตรชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไป
ศึกษาศิลปวิทยาที่กรุงตักศิลาจนจบศิลปะทุกอย่างแล้วกลับมามีครอบครัว เมื่อมารดาบิดาถึงแก่
๗๔
ขุ.ชา.ติก. (บาลี) ๒๗/๒๕๓/๗๕, ขุ.ชา.ติก. (ไทย) ๒๗/๒๕๓/๑๒๑, ขุ.ชา.ติก.อ. (บาลี) ๔/๑๔-๑๖,
ขุ.ชา.ติก.อ. (ไทย) ๓/๔/๒๓-๒๙.
๗๕
ขุ.ชา.ติก. (บาลี) ๒๗/๒๕๙/๗๗, ขุ.ชา.ติก. (ไทย) ๒๗/๒๕๙/๑๒๕, ขุ.ชา.ติก.อ. (บาลี) ๔/๔๖-๕๐, ขุ.
ชา.ติก.อ. (ไทย) ๓/๔/๘๑-๘๗.
๗๖
ขุ.ชา.ติก. (บาลี) ๒๗/๒๖๓/๗๙, ขุ.ชา.ติก. (ไทย) ๒๗/๒๖๓/๑๒๘, ขุ.ชา.ติก.อ. (บาลี) ๔/๖๐-๖๓,
ขุ.ชา.ติก.อ. (ไทย) ๓/๔/๑๐๙-๑๑๔.
๗๗
ขุ.ชา.ติก. (บาลี) ๒๗/๒๗๑/๘๓, ขุ.ชา.ติก. (ไทย) ๒๗/๒๗๑/๑๓๔, ขุ.ชา.ติก.อ. (บาลี) ๔/๘๙,
ขุ.ชา.ติก.อ. (ไทย) ๓/๔/๑๖๓-๑๖๔.
๗๘
ขุ.ชา.ติก. (บาลี) ๒๗/๒๗๓/๘๓, ขุ.ชา.ติก. (ไทย) ๒๗/๒๗๓/๑๓๕, ขุ.ชา.ติก.อ. (บาลี) ๔/๙๔,
ขุ.ชา.ติก.อ. (ไทย) ๓/๔/๑๗๕.
๑๖
กรรม ท่านได้ออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ
เป็นอาจารย์สอนหมู่ฤๅษี๗๙
๔๘. ในสิริชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไปศึกษา
ศิลปวิทยาที่กรุงตักศิลาแล้วกลับมามีครอบครัวเมื่อมารดาบิดาถึงแก่กรรม ท่านเกิดความสังเวชจึง
ออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ๘๐
๔๙. ในมณิสูกรชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้บวชเป็น
ดาบส บาเพ็ญพรตจนสาเร็จฌาน มรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๘๑
๕๐. ในโกมารบุตรชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ออกบวชเป็นฤๅษี
อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บริกรรมกสิณจนสาเร็จสมาบัติ มีพวกดาบสอื่นชอบสนุกอาศัยอยู่ใกล้ๆ
ดาบสเหล่านั้นไม่มีการบริกรรมกสิณเลย๘๒
๕๑. ในจูฬกาลิงคชาดก พระโพธิสัตว์บวชเป็นฤๅษี อาศัยอยู่ระหว่างเขตแดนของ
พระเจ้ากาลิงคะกับพระเจ้าอัสสกะ ซึ่งทาสงครามกัน๘๓
๕๒. ในกัสสปมันทิยชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ เมื่อมารดาถึงแก่
กรรม ท่านได้พาบิดากับน้องชายไปบวชเป็นดาบสอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์๘๔
๕๓. ในขันติวาทีชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ เมื่อมารดาบิดาถึงแก่
กรรม ได้ออกบวชเป็นดาบส เป็นผู้กล่าวสอนขันติความอดทน ถูกพระเจ้ากลาพุเบียดเบียนจนถึง
มรณภาพ๘๕
๗๙
ขุ.ชา.ติก. (บาลี) ๒๗/๒๘๑/๘๗, ขุ.ชา.ติก. (ไทย) ๒๗/๒๘๑/๑๔๑, ขุ.ชา.ติก.อ. (บาลี) ๔/๑๓๐,
ขุ.ชา.ติก.อ. (ไทย) ๓/๔/๒๔๒.
๘๐
ขุ.ชา.ติก. (บาลี) ๒๗/๒๘๔/๘๘, ขุ.ชา.ติก. (ไทย) ๒๗/๒๘๔/๑๔๓, ขุ.ชา.ติก.อ. (บาลี) ๔/๑๔๙, ขุ.ชา.
ติก.อ. (ไทย) ๓/๔/๒๗๖.
๘๑
ขุ.ชา.ติก. (บาลี) ๒๗/๒๘๕/๘๙, ขุ.ชา.ติก. (ไทย) ๒๗/๒๘๕/๑๔๓, ขุ.ชา.ติก.อ. (บาลี) ๔/๑๕๗-
๑๕๘, ขุ.ชา.ติก.อ. (ไทย) ๓/๔/๒๘๙-๒๙๑.
๘๒
ขุ.ชา.ติก. (บาลี) ๒๗/๒๙๙/๙๔, ขุ.ชา.ติก. (ไทย) ๒๗/๒๙๙/๑๕๓, ขุ.ชา.ติก.อ. (บาลี) ๔/๑๙๑-๑๙๓,
ขุ.ชา.ติก.อ. (ไทย) ๓/๔/๓๖๐-๓๖๒.
๘๓
ขุ.ชา.จตุกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๐๑/๙๖, ขุ.ชา.จตุกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๐๑/๑๕๖, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (บาลี)
๔/๒๐๐, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (ไทย) ๓/๔/๓๗๖.
๘๔
ขุ.ชา.จตุกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๑๒/๑๐๒, ขุ.ชา.จตุกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๑๒/๑๖๖, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (บาลี)
๔/๒๓๘, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (ไทย) ๓/๔/๔๕๒-๔๕๓.
๘๕
ขุ.ชา.จตุกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๑๓/๑๐๒, ขุ.ชา.จตุกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๑๓/๑๖๖, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (บาลี)
๔/๒๔๑-๒๔๔, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (ไทย) ๓/๔/๔๕๘-๔๖๓.
๑๗
๕๔. ในโลหกุมภิชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยเห็นโทษ
ในกามจึงละกามออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ๘๖
๕๕. ในติตติรชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไปศึกษาที่
กรุงตักศิลาจนจบศิลปะทุกอย่างแล้วออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จ
อภิญญาสมาบัติ๘๗
๕๖. ในพรัหมทัตตชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไป
ศึกษาที่กรุงตักศิลาจนจบศิลปะทุกอย่าง ต่อมาออกบวชเป็นดาบสอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญ
พรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ๘๘
๕๗. ในอนนุโสจิยชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไป
ศึกษาที่กรุงตักศิลาจนจบศิลปะทุกอย่าง ท่านเป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์ตั้งแต่ยังเป็นเด็ก มารดาบิดา
ได้จัดการให้ท่านแต่งงานกับหญิงสาวที่ถือพรหมจรรย์ตั้งแต่เป็นเด็ก ท่านอยู่ด้วยเหมือนภิกษุ ๒ รูป
และเหมือนพรหม ๒ ท่าน เมื่อมารดาบิดาถึงแก่กรรม ท่านได้พากันออกบวชเป็นดาบสและดาบสินี
ต่อมานางดาบสินีมรณภาพจากไป ดาบสได้ไปอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จฌาน
อภิญญามรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๘๙
๕๘. ในราโชวาทชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ศึกษา
จบศิลปะทุกอย่างแล้วออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญา
สมาบัติ๙๐
๘๖
ขุ.ชา.จตุกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๑๔/๑๐๓, ขุ.ชา.จตุกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๑๔/๑๖๗, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (บาลี)
๔/๒๔๗, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (ไทย) ๓/๔/๔๖๙.
๘๗
ขุ.ชา.จตุกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๑๙/๑๐๕, ขุ.ชา.จตุกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๑๙/๑๗๑, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (บาลี)
๔/๒๖๗-๒๖๘, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (ไทย) ๓/๔/๕๐๗.
๘๘
ขุ.ชา.จตุกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๒๓/๑๐๗, ขุ.ชา.จตุกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๒๓/๑๗๕, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (บาลี)
๔/๒๘๔-๒๘๗, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (ไทย) ๓/๔/๕๓๙-๕๔๔.
๘๙
ขุ.ชา.จตุกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๒๘/๑๑๐, ขุ.ชา.จตุกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๒๘/๑๗๙, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (บาลี)
๔/๓๐๐-๓๐๓, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (ไทย) ๓/๔/๕๗๐-๕๗๖.
๙๐
ขุ.ชา.จตุกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๓๔/๑๑๓, ขุ.ชา.จตุกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๓๔/๑๘๔, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (บาลี)
๔/๓๑๗, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (ไทย) ๓/๔/๖๐๗.
๑๘
๕๙. ในปีฐชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไปศึกษาที่
กรุงตักศิลาจนจบศิลปะทุกอย่าง ต่อมา ได้ออกบวชเป็นดาบส อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรต
จนสาเร็จฌานและอภิญญามรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๙๑
๖๐. ในเกสวชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไปศึกษาที่
กรุงตักศิลาจนจบศิลปะทุกอย่าง ต่อมา ท่านออกบวชเป็นฤๅษี เป็นอันเตวาสิกของเกสวดาบสซึ่งเป็น
ครูสอนดาบสจานวน ๕๐๐ ท่าน คุ้นเคยกับเกสวดาบสอย่างยิ่ง๙๒
๖๑. ในอรัญญชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไปศึกษา
จนจบศิลปวิทยาที่กรุงตักศิลาแล้วมีครอบครัว เมื่อภรรยาถึงแก่กรรม ท่านพาบุตรไปบวชเป็นฤๅษี
อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ ทั้ง ๒ เจริญกสิณจนสาเร็จฌานมรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๙๓
๖๒. ในสีลวีมังสชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไป
ศึกษาที่กรุงตักศิลาจนจบศิลปะทุกอย่างแล้วได้เป็นปุโรหิตของพระเจ้ากรุงพาราณสี ต่อมา ได้ขอ
พระราชานุญาตออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาและสมาบัติ
มรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๙๔
๖๓. ในอวาริยชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไปศึกษาที่
กรุงตักศิลาจนจบศิลปะทุกอย่างแล้วออกบวชเป็นฤๅษี อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ระยะหนึ่งแล้วไป
อาศัยอยู่ในพระราชอุทยานของพระเจ้ากรุงพาราณสี ให้โอวาทพระราชาทุกวัน พระราชาทรง
เลื่อมใสได้พระราชทานหมู่บ้านเรียกเก็บภาษีตาบลหนึ่งซึ่งเรียกเก็บภาษีได้ ๑ แสน ท่านไม่รับ ท่าน
พักอาศัยพระราชอุทยานเป็นเวลา ๑๒ ปีจึงออกจาริกไปที่อื่น๙๕
๙๑
ขุ.ชา.จตุกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๓๗/๑๑๕, ขุ.ชา.จตุกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๓๗/๑๘๖, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (บาลี)
๔/๓๒๘-๓๓๐, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (ไทย) ๓/๔/๖๒๘-๖๓๑.
๙๒
ขุ.ชา.จตุกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๔๖/๑๒๐, ขุ.ชา.จตุกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๔๖/๑๙๓-๑๙๔, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (บาลี)
๔/๓๕๔, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (ไทย) ๓/๔/๖๘๒.
๙๓
ขุ.ชา.จตุกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๔๘/๑๒๑, ขุ.ชา.จตุกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๔๘/๑๙๕, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (บาลี)
๔/๓๖๐-๓๖๑, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (ไทย) ๓/๔/๖๙๔-๖๙๗.
๙๔
ขุ.ชา.ปญฺจก. (บาลี) ๒๗/๓๖๒/๑๓๒, ขุ.ชา.ปญฺจก. (ไทย) ๒๗/๓๖๒/๒๑๑, ขุ.ชา.ปญฺจก.อ. (บาลี)
๔/๔๑๑-๔๑๕, ขุ.ชา.ปญฺจก.อ. (ไทย) ๓/๔/๘๐๒-๘๐๕.
๙๕
ขุ.ชา.ฉกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๗๖/๑๔๓, ขุ.ชา.ฉกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๗๖/๒๒๗, ขุ.ชา.ฉกฺก.อ. (บาลี) ๕/๒-
๓, ขุ.ชา.ฉกฺก.อ. (ไทย) ๓/๕/๕-๗.
๑๙
๖๔. ในอาสังกชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไปศึกษา
ศิลปะที่กรุงตักศิลา แล้วออกบวชเป็นฤๅษี อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญา
สมาบัติ๙๖
๖๕. ในมัยหกชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นบุตรเศรษฐีมีทรัพย์มาก พอเจริญวัย
มารดาบิดาถึงแก่กรรม ท่านอยู่ครองเรือนเลี้ยงดูน้องชาย สร้างโรงทานให้ทาน ท่านมีบุตรคนหนึ่ง
พอบุตรโตเดินได้ ท่านได้มอบทรัพย์สมบัติบุตรภรรยาให้น้องชายแล้วออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ใน
ป่าหิมพานต์บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาและสมาบัติ๙๗
๖๖. ในอุปสิงฆปุปผชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไป
ศึกษาศิลปะที่กรุงตักศิลา ภายหลังได้ออกบวชเป็นฤๅษี พักอยู่ใกล้สระบัว ท่านลงไปสูดดมกลิ่น
ดอกบัวในสระถูกนางเทพธิดากล่าวตาหนิ ท่านบาเพ็ญพรตสาเร็จฌาน มรณภาพไปเกิดใน
พรหมโลก๙๘
๖๗. ในอัฏฐิเสนชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นอัฏฐิเสนกุมารบุตรของพราหมณ์
พอเจริญวัยได้ไปศึกษาที่กรุงตักศิลาจนจบศิลปะทุกอย่าง ภายหลังได้ออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ใน
ป่าหิมพานต์บาเพ็ญพรตจนสาเร็จฌานอภิญญาและสมาบัติ๙๙
๖๘. ในกุมภการชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นช่างปั้นหม้อขายเลี้ยงครอบครัว
ต่อมาได้ฟังธรรมจากพระปัจเจกพุทธเจ้า ๔ องค์เกิดความเลื่อมใส ออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ใกล้
เมือง บาเพ็ญพรตจนสาเร็จฌานอภิญญามรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๑๐๐
๙๖
ขุ.ชา.ฉกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๘๐/๑๔๗, ขุ.ชา.ฉกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๘๐/๒๓๓, ขุ.ชา.ฉกฺก.อ. (บาลี) ๕/๒๕,
ขุ.ชา.ฉกฺก.อ. (ไทย) ๓/๕/๕๓.
๙๗
ขุ.ชา.ฉกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๙๐/๑๕๗, ขุ.ชา.ฉกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๙๐/๒๔๗, ขุ.ชา.ฉกฺก.อ. (บาลี) ๕/๘๔,
ขุ.ชา.ฉกฺก.อ. (ไทย) ๓/๕/๑๖๕-๑๖๖.
๙๘
ขุ.ชา.ฉกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๙๒/๑๕๘, ขุ.ชา.ฉกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๙๒/๒๔๙, ขุ.ชา.ฉกฺก.อ. (บาลี) ๕/๙๒-
๙๔, ขุ.ชา.ฉกฺก.อ. (ไทย) ๓/๕/๑๖๕-๑๖๖.
๙๙
ขุ.ชา.สตฺตก. (บาลี) ๒๗/๔๐๓/๑๖๙, ขุ.ชา.สตฺตก. (ไทย) ๒๗/๔๐๓/๒๖๔, ขุ.ชา.สตฺตก.อ. (บาลี)
๕/๑๔๒, ขุ.ชา.สตฺตก.อ. (ไทย) ๓/๕/๒๘๘.
๑๐๐
ขุ.ชา.สตฺตก. (บาลี) ๒๗/๔๐๘/๑๗๔, ขุ.ชา.สตฺตก. (ไทย) ๒๗/๔๐๘/๒๗๑, ขุ.ชา.สตฺตก.อ. (บาลี)
๕/๑๗๑-๑๘๐, ขุ.ชา.สตฺตก.อ. (ไทย) ๓/๕/๓๔๗-๓๖๐.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
บรรพต แคไธสง
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
Padvee Academy
 
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
Kiat Chaloemkiat
 
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
Resume ประวัติส่วนตัว ครูพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัว ครูพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัว ครูพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัว ครูพลศึกษา
Montree Dangreung
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
Kittisak Chumnumset
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Sirisak Promtip
 

Was ist angesagt? (20)

พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
สหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรมสหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรม
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
 
บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
 
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
 
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
 
Resume ประวัติส่วนตัว ครูพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัว ครูพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัว ครูพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัว ครูพลศึกษา
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 

Andere mochten auch

แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎกแปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
Architecting your app in ext js 4, part 1 learn sencha
Architecting your app in ext js 4, part 1   learn   senchaArchitecting your app in ext js 4, part 1   learn   sencha
Architecting your app in ext js 4, part 1 learn sencha
Rahul Kumar
 
трики разработчика мобильных игр
трики разработчика мобильных игртрики разработчика мобильных игр
трики разработчика мобильных игр
Alexander Degtyarev
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
Hasil Sementara PPDB SMAN 1 Randublatung
Hasil Sementara PPDB SMAN 1 RandublatungHasil Sementara PPDB SMAN 1 Randublatung
Hasil Sementara PPDB SMAN 1 Randublatung
Raden Asmoro
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
Gran excursión a acapulco 3 dias
Gran excursión a acapulco 3 diasGran excursión a acapulco 3 dias
Gran excursión a acapulco 3 dias
Cplaza21
 

Andere mochten auch (19)

Three dangerous sins
Three dangerous sinsThree dangerous sins
Three dangerous sins
 
Let your light shine
Let your light shineLet your light shine
Let your light shine
 
sumunod kay Jesus
sumunod kay Jesussumunod kay Jesus
sumunod kay Jesus
 
Eresloquecomes
EresloquecomesEresloquecomes
Eresloquecomes
 
Christian lifestyle
Christian lifestyleChristian lifestyle
Christian lifestyle
 
Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01
Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01
Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01
 
He was abandon
He was abandonHe was abandon
He was abandon
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎกแปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
 
The stubborn heart
The stubborn heartThe stubborn heart
The stubborn heart
 
Architecting your app in ext js 4, part 1 learn sencha
Architecting your app in ext js 4, part 1   learn   senchaArchitecting your app in ext js 4, part 1   learn   sencha
Architecting your app in ext js 4, part 1 learn sencha
 
E-readness in Latin America
E-readness in Latin AmericaE-readness in Latin America
E-readness in Latin America
 
трики разработчика мобильных игр
трики разработчика мобильных игртрики разработчика мобильных игр
трики разработчика мобильных игр
 
หลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติ
หลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติหลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติ
หลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติ
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔
 
Hasil Sementara PPDB SMAN 1 Randublatung
Hasil Sementara PPDB SMAN 1 RandublatungHasil Sementara PPDB SMAN 1 Randublatung
Hasil Sementara PPDB SMAN 1 Randublatung
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
 
Gran excursión a acapulco 3 dias
Gran excursión a acapulco 3 diasGran excursión a acapulco 3 dias
Gran excursión a acapulco 3 dias
 
บาลีเสริม ๑๑
บาลีเสริม ๑๑ บาลีเสริม ๑๑
บาลีเสริม ๑๑
 
Chapt 5
Chapt 5Chapt 5
Chapt 5
 

Ähnlich wie เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)

บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
maruay songtanin
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Ähnlich wie เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1) (20)

บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดก
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
วิชา ฉันทลักษณ์
วิชา ฉันทลักษณ์วิชา ฉันทลักษณ์
วิชา ฉันทลักษณ์
 

Mehr von วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Mehr von วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 

เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)

  • 1. ๑ บทที่ ๑ ความนา ผู้ที่ศึกษาวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ ต้องทราบความหมายแห่งคาว่า “วิเคราะห์” ก่อน คาว่า “วิเคราะห์” ในวิชานี้ คือ การแยกแยะข้อธรรมแต่ละเรื่องที่กาหนดให้ศึกษานามาพิจารณาเป็น ส่วนย่อยที่มีความสัมพันธ์กัน เพื่อทาความเข้าใจข้อธรรมแต่ละเรื่องให้แจ่มแจ้ง รวมทั้งการสืบค้น ความสัมพันธ์ของหลักธรรมต่างๆ เพื่อดูว่าหลักธรรมนั้นๆ สัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกันอย่างไร ซึ่งจะช่วย ให้เกิดความเข้าใจหลักธรรมนั้นๆ อย่างแท้จริง การวิเคราะห์ถือเป็นทักษะที่มนุษย์ฝึกได้ การวิเคราะห์นั้น มีใช้ในหลักภาษาบาลี เป็นการแยกแยะให้เห็นส่วนต่างๆ และเห็น ความหมายแห่งศัพท์แต่ละศัพท์ เช่น คาว่า โพธิ พระอาจารย์ผู้อธิบายได้วิเคราะห์แยกแยะให้เห็น ความหมาย ๕ ความหมาย ดังข้อความว่า โพธีติ หิ รุกฺโขปิ มคฺโคปิ สพฺพญฺญุตญาณมฺปิ นิพฺพานมฺปิ๑ เอวปณฺณตฺติโก ปุคฺคโลปิ วุจฺจติ.๒ แปลว่า โพธิ หมายถึง ต้นไม้ มรรค พระสัพพัญญุตญาณ พระนิพพาน และบุคคลที่มีการตั้งชื่อไว้อย่างนั้น ซึ่งท่านได้วิเคราะห์แยกแยะ อธิบายให้เห็นความหมาย ดังนี้ ๑. พุชฺฌติ จตฺตาริ อริยสจฺจานิ เอตฺถาติ โพธิ, โพธิรุกฺโข. โพธิ หมายถึงต้นไม้ที่ พระพุทธเจ้าประทับนั่งตรัสรู้อริยสัจ คือ ต้นโพธิ์ ดังข้อความว่า พุทฺโธ ภควา วิหรติ โพธิรุกฺขมูเล ปฐมาภิสมฺพุทฺโธ.๓ แปลว่า ชวงแรกตรัสรู้ พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับที่ควงไม้โพธิ์และ ข้อความว่า อทฺทสา โข อุปโก อาชีวโก ภควนฺต อนฺตรา จ คย อนฺตรา จ โพธึ อทฺธาน- มคฺคปฏิปนฺน ทิสฺวาน ภควนฺต.๔ แปลว่า อาชีวกชื่ออุปกะได้พบพระผู้มีพระภาคเสด็จดาเนิน ทางไกล ณ ระหว่างแม่น้าคยากับต้นโพธิ ๒. พุชฺฌติ จตฺตาริ สจฺจานีติ โพธิ, มคฺโค. โพธิ หมายถึงสัจจะ ๔ ที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ คือ มรรค ดังข้อความที่พระสารีบุตรอธิบายปรากฏในคัมภีร์นิทเทสว่า โพธีติ วุจฺจติ จตูสุ มคฺเคสุ ญาณ.๕ แปลว่า ญาณในมรรค ๔ ท่านเรียกว่า โพธิ ๑ นม.ฏีกา (บาลี) ๔๓. ๒ นีติ.ธาตุ. (ไทย) ๒/๕๙๘. ๓ วิ.ม. (บาลี) ๔/๑๑/๑๑. ๔ วิ.ม. (บาลี) ๔/๑๑/๑๑. ๕ ขุ.ม. (บาลี) ๒๙/๒๗/๗๖, ขุ.จู. (บาลี) ๓๐/๑๒๑๒๔๑.
  • 2. ๒ ๓. พุชฺฌติ สพฺพเญยฺยธมฺมนฺติ โพธิ.๖ โพธิ หมายถึงธรรมที่พึงรู้ทั้งปวงที่พระพุทธเจ้า ตรัสรู้ ดังข้อความว่า ปปฺโปติ โพธึ วรภูริเมธโส.๗ แปลว่า บรรลุพระโพธิญาณ มีพระปัญญา ประเสริฐกว้างขวางดังแผ่นดิน ๔. ปตฺวา โพธึ อมต อสงฺขตนฺติ อาคตฏฺฐาเน นิพฺพาน โพธีติ วุจฺจติ.๘ โพธิ หมายถึงพระ นิพพาน ดังข้อความว่า ทรงบรรลุโพธิอันเป็นอมตะที่ปัจจัยปรุงแต่งไม่ได้ ๕. โพธิ ภนฺเต ราชกุมาโร ภควโต ปาเท สิรสา วนฺทติ.๙ แปลว่า “พระองค์ผู้เจริญ โพธิ ราชกุมาร ฝากมาถวายบังคมพระบาทพระผู้มีพระภาค” ข้อความนี้ท่านอ้างมารองรับโพธิที่หมายถึง นามบัญญัติอย่างนั้น คือ ที่ตั้งเป็นชื่อบุคคลอย่างนั้น ข้อความภาษาบาลีนี้ เรียกว่ารูปวิเคราะห์ คือแยกแยะให้เห็นว่า โพธิ มีกระบวนการทาง ภาษาที่แสดงความหมาย คาว่า โพธิ เป็นบทสาเร็จ ท่านแยกแยะให้เห็นความหมาย ๕ ความหมาย ๑.๑ ความเป็นมาแห่งพระไตรปิฎก ในการศึกษาวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ มิใช่จะมุ่งวิเคราะห์เนื้อหาแห่งพระไตรปิฎก เท่านั้น ผู้ศึกษาจาเป็นต้องทราบความเป็นมาแห่งพระไตรปิฎก เพื่อเป็นการปูพื้นฐานความรู้ด้าน ต่างๆ ในพระไตรปิฎก เป็นการปลูกศรัทธาและเสริมปัญญาในพระไตรปิฎก เป็นเบื้องต้น เมื่อมี ศรัทธาพอดีกับปัญญา การศึกษาพระไตรปิฎก ซึ่งรวมไปถึงอรรถกถาและฎีกา จึงจะเป็นไปในทาง ที่เหมาะสม ความเป็นมาแห่งพระไตรปิฎก มีรายละเอียดพอสรุปได้ดังต่อไปนี้ ความเป็นมาแห่งพระไตรปิฎก เมื่อกาหนดตามที่ปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนา ก็ถือ ว่า เริ่มต้นที่สุเมธดาบสตั้งความปรารถนาขอตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า โดยนับย้อนหลังจากนี้ไป ๔ อสงไขย ๑ แสนกัป ครั้งที่พระพุทธเจ้าโคดมเสวยพระชาติเป็นสุเมธพราหมณ์ มีทรัพย์สินมหาศาล ท่านพิจารณาเห็นว่าการเกิดการตายเป็นทุกข์ คิดที่จะแสวงหาความดับทุกข์ จึงสละทรัพย์สินจานวน มหาศาลออกบวชเป็นดาบส ช่วงแรกท่านใช้ผ้าสาฎกที่เคยใช้มาในสมัยที่ยังเป็นผู้ครองเรือน ภายหลังท่านสละผ้าสาฎกซึ่งท่านเห็นว่า มีโทษ ๙ ประการ คือ ๑. มีราคามาก ๒. ต้องเกี่ยวข้องในการที่ต้องขอรับจากผู้อื่น ๓. ใช้สอยแล้วสกปรกง่าย ๔. ต้องซักต้องย้อม ๕. ใช้เก่าแล้วก็ต้องปะหรือชุนจะแสวงหาได้ยาก ๖ นม.ฏีกา (บาลี) ๔๓-๔๔. ๗ ที.ปา. (บาลี) ๑๑/๒๑๗/๑๓๗. ๘ นม.ฏีกา (บาลี) ๔๔, นีติ.ธาตุ. (ไทย) ๒/๕๙๙. ๙ ม.ม. (บาลี) ๑๓/๓๒๔/๓๐๕.
  • 3. ๓ ๖. ผ้าสาฎกไม่เหมาะสาหรับผู้บวชเป็นดาบส ๗. ผ้าสาฎกใช้กันทั่วไปทาให้มีผู้ต้องการเอาไปใช้ ๘. จะต้องดูแลรักษาไม่ให้พวกที่ต้องการหยิบไปได้ เป็นเหตุให้ผู้บาเพ็ญเพียรจัดว่า ประดับตกแต่ง ๙. ดาบสนุ่งห่มไปไหนมาไหนถือว่ามักมาก๑๐ เมื่อท่านเลิกใช้ผ้านุ่งผ้าห่มของชาวบ้านแล้วท่านได้ใช้ผ้าเปลือกไม้ ซึ่งมีคุณประโยชน์ ๑๒ ประการ คือ ๑. มีราคาน้อย ๒. ไม่ต้องเกี่ยวข้องกับผู้อื่น ๓. สามารถทาเองได้ ๔. ใช้สอยเก่าแล้วก็ไม่ต้องเย็บ ๕. ไม่ต้องกลัวว่าขโมยจะลักไป ๖. แสวงหามาทาได้ง่าย ๗. เหมาะสาหรับผู้บวชเป็นดาบส ๘. เมื่อใช้สอยไม่ถือว่าประดับตกแต่ง ๙. มีความมักน้อยในผ้านุ่งผ้าห่ม ๑๐. นุ่งห่มสะดวก ๑๑. หาเปลือกไม้มาทาได้ง่าย ๑๒. แม้เมื่อผ้าเปลือกไม้หายไปก็ไม่เสียดาย๑๑ เนื่องจากในระยะแรกที่ออกบวชท่านพักอาศัยในบรรณศาลาอยู่ในป่าหิมพานต์ ท่าน เห็นว่าบรรณศาลามีโทษ ๘ ประการ คือ ๑. ต้องใช้อุปกรณ์มากกว่าจะสร้างเสร็จ ๒. ต้องใช้หญ้าใบไม้ดินเหนียวซ่อมแซมเป็นประจา ๓. จิตไม่มีเอกัคคตาเมื่อถูกให้ย้ายออกเนื่องจากที่นั่งที่นอนถึงคราวที่ต้องให้คนแก่พัก อาศัย ก็ต้องย้ายออก ๔. ร่างกายของผู้อยู่ในที่มุงบังบอบบางเมื่อออกไปกระทบหนาวร้อน ๕. ต้องป้ องกันข้อครหาว่า คนที่เข้าที่มุงบังอาจจะทาชั่ว ๖. มักมีความหวงแหนสถานที่เป็นของตน ๗. การมีที่พักก็ย่อมมีเพื่อน ๘. บรรณศาลาเป็นสถานที่สาธารณะแก่สัตว์จานวนมาก เช่น ตัวเล็นตัวเลือดและจิ้งจก๑๒ ท่านจึงละทิ้งบรรณศาลาออกไปอาศัยอยู่บริเวณโคนต้นไม้ ท่านบาเพ็ญเพียรที่บริเวณ โคนต้นไม้เพียง ๗ วันก็สาเร็จอภิญญา๑๓ ต่อมา สุเมธดาบสได้พบพระพุทธเจ้าทีปังกร ซึ่งถ้าท่านขอ ๑๐ ขุ.พุทฺธ.อ. (บาลี) ๑๑๘, ขุ.พุทฺธ.อ. (ไทย) ๙/๒/๑๘๒. ๑๑ ขุ.พุทฺธ.อ. (บาลี) ๑๑๙, ขุ.พุทฺธ.อ. (ไทย) ๙/๒/๑๘๓. ๑๒ ขุ.พุทฺธ.อ. (บาลี) ๑๑๙, ขุ.พุทฺธ.อ. (ไทย) ๙/๒/๑๘๓-๑๘๔. ๑๓ ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๑-๓๓/๔๔๗–๔๕๐, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๑-๓๓/๕๖๗- ๕๗๑.
  • 4. ๔ บวชเป็นสาวกของพระพุทธเจ้าทีปังกรบาเพ็ญเพียร ท่านจักได้สาเร็จอรหัตผล ดับทุกข์ทั้งมวล ท่านมิได้บวชเป็นสาวก เพราะท่านปรารถนาที่จะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต ซึ่งพระพุทธเจ้า ทีปังกร ก็ได้ทรงพยากรณ์ว่าท่านจะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าพระนามว่าโคดมในอนาคต๑๔ การที่บุคคลตั้งความปรารถนาที่จะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า แล้วความปรารถนาจะสาเร็จ ได้นั้น ผู้ปรารถนาต้องมีธรรมที่รวมอยู่ในตน ๘ ประการ ซึ่งสุเมธดาบส ก็มีคุณธรรมที่รวมอยู่ใน ตัวท่าน ๘ ประการ อันทาให้ความปรารถนาสาเร็จได้คือ ๑. ท่านเกิดเป็นมนุษย์ ๒. เป็นบุรุษ ๓. มีอุปนิสัยที่สามารถบรรลุธรรม ๔. ได้พบพระพุทธเจ้า ๕. เป็นนักบวช ๖. ได้สมาบัติ ๘ และอภิญญา ๕ ๗. สละชีวิตเพื่อพระพุทธเจ้า ๘. มีฉันทะ พอใจจะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า๑๕ เฉพาะฉันทะท่านมีอย่างแรงกล้าที่จะบาเพ็ญบารมีเพื่อตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ถึงขนาด ว่า ถ้าท่านต้องตกนรกเป็นเวลาถึง ๔ อสงไขย ๑๐๐,๐๐๐ กัป หรือต่อให้ท่านต้องเดินลุยถ่านเพลิงที่มี เปลวไฟลุกโชติช่วงเต็มทั้งจักรวาล หรือต่อให้ท่านเดินลุยหอกหลาวที่ปักไว้เต็มจักรวาล หรือต่อให้ ท่านต้องเดินเหยียบหนามไผ่ที่ขึ้นเต็มทั้งจักรวาล จึงจะสาเร็จเป็นพระพุทธเจ้า ท่านก็ยินดีที่จะทา อย่างนั้น ขอให้ได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า๑๖ เมื่อสุเมธดาบส ได้รับการพยากรณ์ว่า จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคตจาก พระพุทธเจ้าทีปังกร ท่านก็เป็นพระโพธิสัตว์ คือ บุคคลผู้ที่จะได้ตรัสรู้๑๗ ก่อนที่จะได้ตรัสรู้นั้น ท่านได้เวียนตายเวียนเกิดบาเพ็ญบารมีหลายภพชาติ หลังจากชาติที่ท่านได้พบพระพุทธเจ้าทีปังกร แล้ว ท่านยังได้เกิดในสมัยของพระพุทธเจ้าอีก ๒๓ องค์ ซึ่งได้รับการพยากรณ์ว่า จะได้ตรัสรู้ เป็นพระพุทธเจ้า คือ ๑. พระพุทธเจ้าโกณฑัญญะ ๒. พระพุทธเจ้ามังคละ ๓. พระพุทธเจ้าสุมนะ ๔. พระพุทธเจ้าเรวตะ ๑๔ ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๓๔-๖๙/๔๕๐–๔๕๔, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๓๔-๖๙/๕๗๑- ๕๗๖. ๑๕ ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๕๙/๔๕๔, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๕๙/๕๗๔-๕๗๕. ๑๖ ขุ.ชา. (บาลี) ๑/๒๒-๒๓, ขุ.อป.อ. (บาลี) ๑/๑๙-๒๐, ขุ.พุทฺธ.อ. (บาลี) ๑๓๙-๑๔๐. ๑๗ โพธิสตฺโต ประกอบขึ้นจากคาว่า โพธิ+สตฺโต วิเคราะห์ว่า พุชฺฌตีติ โพธิ บุคคลใดจะตรัสรู้ เหตุนั้น บุคคลนั้น ชื่อโพธิ ผู้จะตรัสรู้, โพธิ สตฺโต โพธิสตฺโต สัตว์ผู้จะตรัสรู้ ชื่อว่า โพธิสัตว์, ผู้ที่ปรารถนาจะตรัสรู้เป็น พระพุทธเจ้า ถ้ายังไม่เคยพบพระพุทธเจ้าและยังไม่ได้รับการพยากรณ์ว่า จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า เรียกว่า อนิยตโพธิสัตว์ คือ ยังเป็นพระโพธิสัตว์ที่ไม่แน่นอน จิตอาจเปลี่ยนไม่อยากตรัสรู้ก็ได้ ส่วนผู้ที่ปรารถนาแล้ว ได้รับการพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าว่า จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ชื่อว่านิยตโพธิสัตว์ คือเป็นพระโพธิสัตว์ที่ จะได้ตรัสรู้แน่นอน (เขียนจากความจารอการอ้างอิง).
  • 5. ๕ ๕. พระพุทธเจ้าโสภิตะ ๖. พระพุทธเจ้าอโนมทัสสี ๗. พระพุทธเจ้าปทุมะ ๘. พระพุทธเจ้านารทะ ๙. พระพุทธเจ้าปทุมุตตระ ๑๐. พระพุทธเจ้าสุเมธะ ๑๑. พระพุทธเจ้าสุชาตะ ๑๒. พระพุทธเจ้าปิยทัสสี ๑๓. พระพุทธเจ้าอัตถทัสสี ๑๔. พระพุทธเจ้าธัมมทัสสี ๑๕. พระพุทธเจ้าสิทธัตถะ ๑๖. พระพุทธเจ้าติสสะ ๑๗. พระพุทธเจ้าปุสสะ ๑๘. พระพุทธเจ้าวิปัสสี ๑๙. พระพุทธเจ้าสิขี ๒๐. พระพุทธเจ้าเวสสภู ๒๑. พระพุทธเจ้ากกุสันธะ ๒๒. พระพุทธเจ้าโกนาคมน์ ๒๓. พระพุทธเจ้ากัสสปะ๑๘ ผู้ที่ปรารถนาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ตามคุณธรรม ๘ ที่กล่าวข้างต้น มีข้อหนึ่ง ต้องเป็น นักบวช และอีกข้อหนึ่งต้องได้สมาบัติและอภิญญา ปรากฏว่า ในสมัยของพระพุทธเจ้า ๒๓ องค์ นั้น๑๙ พระโพธิสัตว์ออกบวชในพระศาสนาของพระพุทธเจ้า ๑๒ องค์คือ ๑. ในสมัยของพระพุทธเจ้าโกณฑัญญะ พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าจักร พรรดิวิชิตาวี ได้ถวายทานแด่พระภิกษุสงฆ์ มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ได้รับการพยากรณ์จาก พระพุทธเจ้าว่า จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ท่านฟังแล้วได้สละราชสมบัติออกผนวชเป็นสาวก เรียนพระไตรปิฎก สาเร็จสมาบัติ ๘ และอภิญญา ๕ สิ้นพระชนม์แล้วไปบังเกิดในพรหมโลก๒๐ ๒.ในสมัยของพระพุทธเจ้ามังคละ พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นสุรุจิพราหมณ์ใน กรุงพาราณสีได้สละสมบัติออกบวชเป็นพระสาวก๒๑ ๑๘ ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๑๑-๑๒/๔๗๑, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๑๑-๑๒/๕๙๗-๕๙๘, ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๑๖- ๒๑/๕๖๙-๕๗๐, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๑๖-๒๑/๗๑๓-๗๑๔. ๑๙ ความจริง พระโพธิสัตว์เกิดในสมัยของพระพุทธเจ้าอีก ๓ องค์ คือ พระพุทธเจ้าตัณหังกร พระพุทธเจ้าเมธังกร พระพุทธเจ้าสรณังกร แต่ทั้ง ๓ องค์มิได้ทรงพยากรณ์ว่าท่านจะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า จึงไม่ มีการแสดงรายละเอียดของพระพุทธเจ้าทั้ง ๓ องค์นั้น ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๑/๕๗๖, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๑/๗๒๑, ขุ.พุทฺธ.อ. (บาลี) ๑๙๒. ๒๐ ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๒๒/๔๗๒, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๒๒/๕๙๙, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๑/๔๘, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๑/๕๐. ๒๑ ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๑๕/๔๗๗, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๑๕/๖๐๕.
  • 6. ๖ ๓. ในสมัยของพระพุทธเจ้านารทะ พระโพธิสัตว์บวชเป็นฤๅษี บาเพ็ญสมณธรรม จนสาเร็จอภิญญา ๕ สมาบัติ ๘ ถวายมหาทานแก่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขได้ กระทาการบูชาด้วยจันทน์แดง๒๒ ๔. ในสมัยของพระพุทธเจ้าสุเมธะ พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นอุตตรมาณพได้สละ สมบัติ ๘๐ โกฏิที่ฝั่งเก็บไว้ทั้งหมด ถวายมหาทานแต่พระสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ฟังธรรม แล้วรับสรณะออกบวชเป็นสาวกของพระพุทธเจ้าสุเมธะ๒๓ ๕. ในสมัยของพระพุทธเจ้าสุชาตะ พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ทรงทราบว่า พระพุทธเจ้าเกิดขึ้นแล้วจึงเสด็จเข้าไปเฝ้าฟังธรรมแล้วถวายราชสมบัติในทวีปทั้ง ๔ พร้อมรัตนะ ๗ ประการแก่สงฆ์ มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขแล้วทรงผนวชเป็นสาวกของ พระพุทธเจ้า๒๔ ๖. ในสมัยของพระพุทธเจ้าอัตถทัสสี พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นสุสิมพราหมณ์ สละบ้านเรือนออกบวชเป็นชฎิล๒๕ ๗. ในสมัยของพระพุทธเจ้าสิทธัตถะ พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นมังคลพราหมณ์ สละบ้านเรือนออกบวชเป็นดาบส๒๖ ๘. ในสมัยของพระพุทธเจ้าติสสะ พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าสุชาตะได้ สละราชสมบัติออกผนวชเป็นฤๅษี๒๗ ๙. ในสมัยของพระพุทธเจ้าปุสสะ พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าวิชิตะได้สละ ราชสมบัติออกผนวชเป็นพระสาวก๒๘ ๑๐. ในสมัยของพระพุทธเจ้าเวสสภู พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าสุทัสสนะ ได้สละราชสมบัติออกผนวชเป็นพระสาวก๒๙ ๒๒ ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๑/๕๘, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๑/๖๑-๖๒. ๒๓ ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๑๑-๑๒/๕๑๓, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๑๑-๑๒/๖๔๖, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๑/๕๙, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๑/๖๓. ๒๔ ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๑๑-๑๓/๕๑๗-๕๑๘, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๑๑-๑๓/๖๕๑, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๑/๖๐, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๑/๖๔. ๒๕ ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๙/๕๒๗, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๙/๖๖๑. ๒๖ ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๘/๕๓๕, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๘/๖๗๑. ๒๗ ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๙/๕๓๙, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๙/๖๗๖. ๒๘ ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๘/๕๔๓, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๙/๖๘๑. ๒๙ ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๑๐-๑๒/๕๕๖, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๑๐-๑๒/๖๙๖-๖๙๗.
  • 7. ๗ ๑๑. ในสมัยของพระพุทธเจ้าโกนาคมน์ พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าปัพพตะ ได้สละราชสมบัติออกผนวชเป็นพระสาวก๓๐ ๑๒. ในสมัยของพระพุทธเจ้ากัสสปะ พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นโชติปาลมาณพ ศึกษาจบไตรเพท ได้เข้าไปเฝ้าพระศาสดาฟังธรรมกถาแล้วได้สละสมบัติบวชเป็นสาวก เรียน พระไตรปิฎก ถึงพร้อมด้วยวัตรปฏิบัติ๓๑ ใน ๑๒ ชาติรวมชาติที่เกิดเป็นสุเมธดาบสในสมัยพระพุทธเจ้าทีปังกรเป็น ๑๓ ชาติ พระโพธิสัตว์ออกบวชเป็นสาวกของพระพุทธเจ้า ๙ ชาติ ออกบวชเป็นฤๅษีเป็นดาบส ๔ ชาติ จากการศึกษาค้นคว้าการบาเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์ในชาดก ได้พบว่า พระโพธิ สัตว์สละชีวิตฆราวาสออกบวชบาเพ็ญเนกขัมมบารมีจานวน ๑๑๑ ชาดก คือ ๑. ในมฆเทวชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้ามฆเทพ ครองราชย์สมบัติใน กรุงมิถิลาวิเทหรัฐ เมื่อพระองค์มีพระเกสาหงอกได้ทรงสละราชสมบัติเสด็จออกผนวช๓๒ ๒. ในสุขวิหาริชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์มีทรัพย์มาก ท่านเห็น โทษในกามและอานิสงส์ในการออกบวช จึงละกามเข้าป่าหิมพานต์บวชเป็นฤๅษี สาเร็จสมาบัติ ๘ ท่านมีดาบสบริวารจานวน ๕๐๐ ท่าน มีหัวหน้าศิษย์ดาบส เป็นราชาที่สละราชสมบัติมากออกบวช เจริญกสิณได้สมาบัติ ๘ ชอบเปล่งอุทานว่า “สุขหนอ สุขหนอ” เนื่องจากในสมัยที่เป็นคฤหัสถ์ เสวยสิริราชสมบัติ มีทหารถืออาวุธถวายอารักขาอยู่ ก็ไม่มีความสุขเหมือนความสุขในการบวช และความสุขในฌาน๓๓ ๓. ในมาลุตชาดก พระโพธิสัตว์บวชเป็นฤๅษี อาศัยอยู่ที่เชิงเขา ซึ่งมีราชสีห์กับเสือโคร่ง เป็นเพื่อนกันอยู่ในถ้าเดียวกัน วันหนึ่งเกิดทะเลาะกันเรื่องอากาศหนาวมีในเวลาข้างแรมเวลาข้างขึ้น ตกลงกันไม่ได้จึงถามพระโพธิสัตว์๓๔ ๔. ในเวฬุกชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นบุตรของผู้มีสมบัติมาก พอเจริญวัยรู้ เดียงสา ออกบวชเป็นฤๅษีบาเพ็ญกสิณ สาเร็จอภิญญา ๕ และสมาบัติ ๘ สอนหมู่ดาบสให้เจริญ ๓๐ ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๑๔-๑๕/๕๖๖, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๑๔-๑๕/๗๐๙. ๓๑ ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ๓๓/๑๓-๑๔/๕๖๙, ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๑๓-๑๔/๗๑๓, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๑/๖๗, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๑/๗๒-๗๓. ๓๒ ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๙/๓, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๙/๔, ขุ.ชา.อ. (บาลี) ๑/๑๙๕-๑๙๘, ขุ.ชา.อ. (ไทย) ๓/๑/๒๒๐-๒๒๑. ๓๓ ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๑๐/๓, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๑๐/๔, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๑/๑๙๙-๒๐๐, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๑/๒๒๕-๒๒๖. ๓๔ ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๑๗/๕, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๑๗/๗, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๑/๒๓๑-๒๓๒, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๑/๒๖๖.
  • 8. ๘ พรหมวิหาร ๔ เมื่อสิ้นอายุ ก็ไปเกิดในพรหมโลก๓๕ ๕. ในอสาตมันตชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ศึกษาจบไตรเพท เป็น อาจารย์ทิศาปาโมกข์ ได้สละชีวิตฆราวาสออกบวชเป็นฤๅษี สอนศิษย์ให้รู้โทษแห่งกามคุณ๓๖ ๖. ในตักกบัณฑิตชาดก พระโพธิสัตว์บวชเป็นฤๅษี บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญา ๕ และสมาบัติ ๘ ในเวลาสิ้นชีวิต ก็ได้ไปเกิดในพรหมโลก๓๗ ๗. ในมุทุลักขณชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ออกบวชเป็นฤๅษี บาเพ็ญกสิณจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ เจริญพรหมวิหาร มรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๓๘ ๘. ในกุททาลชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นคนปลูกผักขาย ออกบวชเป็นฤๅษี ท่านบวชๆ สึกๆ ถึง ๖ ครั้ง ในครั้งที่ ๗ เข้าไปยังป่าหิมพานต์บวชบริกรรมกสิณเจริญพรหมวิหาร สาเร็จสมาบัติมรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๓๙ ๙. ในสัจจังกิรชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ เจริญวัยแล้ว บวชเป็น ฤๅษี สร้างศาลาอาศัยอยู่ที่คุ้งน้าตอนหนึ่ง ท่านได้ช่วยเหลือพระราชกุมาร งู หนู นกแขกเต้า ซึ่งเกาะขอนไม้ลอยน้ามาให้พ้นอันตราย๔๐ ๑๐. ในอสังกิยชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์เจริญวัยแล้ว ออกบวช เป็นฤๅษีอยู่ในป่าหิมพานต์๔๑ ๓๕ ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๔๓/๑๑, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๔๓/๑๘, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๒/๑๔-๑๕, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๒๓-๒๔. ๓๖ ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๖๑/๑๕, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๖๑/๒๖, ขุ.ชา.อ. (บาลี) ๒/๖๕-๗๐, ขุ.ชา.อ. (ไทย) ๓/๒/๑๑๑-๑๑๖. ๓๗ ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๖๓/๑๖, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๖๓/๒๖-๒๗, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๒/๗๗- ๘๑, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๑๓๑-๑๓๕. ๓๘ ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๖๖/๑๖, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๖๖/๒๗-๒๘, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๒/๘๗– ๙๑, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๑๔๘-๑๕๓. ๓๙ ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๗๐/๑๗, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๗๐/๒๙, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๒/๙๘-๑๐๒, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๑๖๘-๑๗๓. ๔๐ ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๗๓/๑๘, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๗๓/๓๐, ขุ.ชา. เอกก.อ. (บาลี) ๒/๑๑๓- ๑๑๔, ขุ.ชา. เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๑๙๑-๑๙๒. ๔๑ ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๗๖/๑๙, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๗๖/๓๑, ขุ.ชา. เอกก.อ. (บาลี) ๒/๑๒๖- ๑๒๗, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๒๑๒-๒๑๔.
  • 9. ๙ ๑๑. ในมหาสุบินชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ตระกูลสูง เจริญวัยแล้ว บวชเป็นฤๅษี บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ๔๒ ๑๒. ในสุราปานชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ตระกูลสูง เจริญวัยแล้ว บวชเป็นฤๅษี พักอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ มีดาบสบริวารประมาณ ๕๐๐ ท่าน๔๓ ๑๓. ในสีลวิมังสนชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นปุโรหิตของพระเจ้าพรหมทัต ในกรุงพาราณสี เป็นคนให้ทาน ถือศีล ๕ ไม่ขาด ได้รับการยกย่องจากพระราชา ภายหลังได้บวช เป็นฤๅษี ไปอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญา ๕ สมาบัติ ๘ มรณภาพแล้วไป เกิดในพรหมโลก๔๔ ๑๔. ในมังคลชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ตระกูลสูง พอรู้เดียงสา ก็บวชเป็นฤๅษี พักอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ๔๕ ๑๕. ในโลมหังสชาดก นับจากนี้ไป ๙๑ กัป พระโพธิสัตว์ต้องการจะทดลองบาเพ็ญตบะ แบบนอกลู่นอกทาง จึงบวชเป็นอาชีวก ไม่นุ่งผ้า เอาฝุ่นทาตัว อยู่โดดเดี่ยวคนเดียว เห็นพวกมนุษย์ แล้วก็วิ่งหนี มีมหาวิกัติเป็นอาหาร๔๖ เช่นกินโคมัยแห่งลูกโค อยู่ในไพรสณฑ์เปลี่ยว เวลากลางคืน หิมะตก ก็ออกจากไพรสณฑ์ไปอยู่กลางแจ้ง ตัวชุ่มโชกด้วยน้าหิมะ เวลากลางวัน ก็เข้าอยู่ในไพร สณฑ์ ตัวชุ่มโชกด้วยหยาดน้าที่ไหลจากไพรสณฑ์ ทนทุกข์จากความหนาวทั้งกลางวันกลางคืน ท้าย เดือนฤดูร้อน เวลากลางวันก็อยู่กลางแจ้งรุ่มร้อนด้วยแสงแดด เวลากลางคืนก็อยู่ในไพรสณฑ์ที่ ปราศจากลม กายรุ่มร้อน จนหยาดเหงื่อไหลจากสรีระ เร่าร้อนด้วยความแผดเผาจากดวงอาทิตย์ หนาวเหน็บชุ่มโชกด้วยน้าหิมะ อยู่ผู้เดียว ไม่มีเพื่อน ในป่าน่ากลัว ซึ่งผู้ที่เข้าไปแล้วต้องขนลุก ๔๒ ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๗๗/๑๙, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๗๗/๓๒, ขุ.ชา. เอกก.อ. (บาลี) ๒/๑๔๐- ๑๔๓, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๒๓๖-๒๔๑. ๔๓ ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๘๑/๒๐, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๘๑/๓๔, ขุ.ชา. เอกก.อ. (บาลี) ๒/๑๖๔- ๑๖๖, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๒๗๖-๒๗๙. ๔๔ ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๘๖/๒๑, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๘๖/๓๖, ขุ.ชา. เอกก.อ. (บาลี) ๒/๑๗๖- ๑๗๘, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๓๐๐-๓๐๒. ๔๕ ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๘๗/๒๒, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๘๗/๓๖, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๒/๑๘๐-๑- ๘๑, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๓๐๖-๓๐๘. ๔๖ คือ กิน มูตร คูถ เถ้า ดิน เป็นอาหาร วิ.ม. (บาลี) ๕/๒๖๘/๓๖, วิ.ม. (ไทย) ๕/๒๖๘/๖๐.
  • 10. ๑๐ ขนพอง เป็นคนเปลือย ทั้งไม่ได้ผิงไฟ แม้จะถูกลมหนาวเบียดเบียนก็ไม่นุ่งผ้าห่มผ้า ไม่ได้ผิงไฟ เข้าใจสิ่งที่มิใช่พรหมจรรย์เป็นพรหมจรรย์ ขวนขวายพากเพียร เข้าใจว่า การปฏิบัตินี้เป็น พรหมจรรย์๔๗ ๑๖. ในปโรสหัสสชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ตระกูลสูง เจริญวัย เรียนสรรพศิลปวิทยา ละกามบวชเป็นฤๅษี อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญา ๕ สมาบัติ ๘ มีดาบสบริวาร ๕๐๐ ท่าน ท่านมรณภาพแล้วไปเกิดบนอาภัสสรพรหม๔๘ ๑๗. ในติตติรชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ตระกูลสูงเจริญวัยเรียน ศิลปะทุกอย่าง ละกามออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญา ๕ สมาบัติ ๘ ท่านเป็นอาจารย์สอนฤๅษี ๕๐๐ ท่าน มรณภาพแล้วไปเกิดในพรหมโลก๔๙ ๑๘. ในพันธนโมกขชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นปุโรหิตของพระเจ้าพรหมทัต แห่งกรุงพาราณสี ถูกพระมเหสีของพระเจ้าพรหมทัตใส่ร้ายว่า ข่มขืนพระนาง พระราชารับสั่งให้ จองจาท่านแต่ท่านได้ทาให้พระราชาทรงทราบความจริงแล้วกราบทูลขออนุญาตออกบวช ท่าน กราบทูลว่า ที่เกิดเรื่องนี้ขึ้น เพราะท่านอยู่ครองเรือน ท่านไม่ต้องการอยู่ครองเรือน ต้องการออก บวช แล้วลาญาติ สละสมบัติจานวนมาก บวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจน สาเร็จฌานสมาบัติ มรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๕๐ ๑๙. ในอัมพชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ตระกูลสูงเจริญวัยแล้วบวช เป็นฤๅษี มีบริวาร ๕๐๐ ท่าน อาศัยอยู่ที่เชิงเขา คราวหนึ่ง ป่าหิมพานต์แห้งแล้งอย่างหนัก น้าดื่มในที่ ต่างๆ เหือดแห้ง พวกสัตว์ดิรัจฉานไม่ได้น้ากินต่างลาบาก ดาบสบริวารท่านหนึ่ง เห็นพวก ดิรัจฉานอดน้า จึงตัดต้นไม้ต้นหนึ่งทารางโพงน้าใส่ให้พวกดิรัจฉานกิน เมื่อพวกสัตว์ดิรัจฉาน จานวนมากพากันมากินน้า พระดาบสเลยไม่มีโอกาสที่จะไปหาผลไม้ฉัน ท่านยอมอดอาหาร ๔๗ ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๙๔/๒๓, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๙๔/๓๙, ขุ.ชา. เอกก.อ. (บาลี) ๒/๒๐๓- ๒๐๔, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๓๔๕-๓๔๗. ๔๘ ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๙๙/๒๔, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๙๙/๔๑, ขุ.ชา. เอกก.อ. (บาลี) ๒/๒๒๓- ๒๒๕, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๓๘๐. ๔๙ ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๑๑๗/๒๙, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๑๑๗/๔๘, ขุ.ชา. เอกก.อ. (บาลี) ๒/๒๕๖- ๒๕๗, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๔๔๒-๔๔๓. ๕๐ ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๑๒๐/๓๐, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๑๒๐/๔๙, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๒/๒๖๔- ๒๖๘, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๔๕๔-๔๖๑.
  • 11. ๑๑ โพงน้าให้พวกสัตว์ดิรัจฉานกิน ฝูงเนื้อแต่ละตัวพากันคาบผลไม้มาให้ รวมแล้วประมาณ ๒ เล่ม เกวียนครึ่ง พระดาบสทั้ง ๕๐๐ พลอยฉันผลไม้ทั่วกัน๕๑ ๒๐. ในเอกปัณณชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ตระกูลสูง เรียนจบ ไตรเพทและสรรพศิลปวิทยา อยู่ครองเรือนระยะเวลาเล็กน้อย พอมารดาบิดาล่วงลับไป ท่านก็บวช เป็นฤๅษี พักอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ๕๒ ๒๑. ในอินทสมานโคตตชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ ละการครองเรือนออกบวชเป็นฤๅษี อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ เป็นครูสอนฤๅษี ๕๐๐ ท่าน ท่าน แนะนาอินทสมานโคตตดาบส ซึ่งเลี้ยงลูกช้างไว้ไม่ให้เลี้ยง เพราะมันเมื่อเติบโตมักฆ่าคนเลี้ยง ก็ไม่ เชื่อฟัง ต่อมาเมื่อมันโตก็ได้เอางวงจับอินทสมานโคตตดาบสฟาดลงกับพื้น เอาเท้าเหยียบศีรษะขยี้ จนมรณภาพ๕๓ ๒๒. ในอุปสาฬหกชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ เรียนจบศิลปวิทยา แล้ว ได้ออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ ได้สอน พราหมณ์กับบุตรว่า สถานที่ที่ไม่ถูกเผาก็ดี สถานที่ที่ไม่ใช่ป่าช้าก็ดี สถานที่ที่ศีรษะไม่ทอดลงก็ดี ไม่อาจหาได้ในแผ่นดิน๕๔ ๒๕. ในสมิทธิชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ เจริญวัยเรียนจบ ศิลปวิทยาทุกชนิดแล้วออกบวชเป็นฤๅษี บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ ท่านบาเพ็ญเพียร ตลอดคืน เวลาอรุณขึ้นท่านอาบน้าแล้วนุ่งผ้าเปลือกไม้ผืนหนึ่ง ถือไว้ผืนหนึ่ง ยืนผึ่งตัวให้แห้ง ท่าน บวชบาเพ็ญสมณธรรมแต่ยังหนุ่ม๕๕ ๒๖. ในอรกชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ เจริญวัยแล้วละกามสุขบวช เป็นฤๅษี อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรต สาเร็จพรหมวิหาร ๙ ท่านมีบริวารมาก ท่านสอน ๕๑ ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๑๒๔/๓๑, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๑๒๔/๕๑, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๒/๒๘๐- ๒๘๑, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๔๘๑-๔๘๒. ๕๒ ขุ.ชา.เอกก. (บาลี) ๒๗/๑๔๙/๓๖, ขุ.ชา.เอกก. (ไทย) ๒๗/๑๔๙/๖๐, ขุ.ชา.เอกก.อ. (บาลี) ๒/๓๕๐- ๓๕๓, ขุ.ชา.เอกก.อ. (ไทย) ๓/๒/๖๐๑-๖๐๖. ๕๓ ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๑๖๑/๔๒, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๑๖๑/๖๙, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๓๙-๔๑, ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๗-๗๘. ๕๔ ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๑๖๖/๔๔, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๑๖๖/๗๑, ขุ.ชา. ทุก.อ. (บาลี) ๓/๕๓-๕๔, ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๑๐๕. ๕๕ ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๑๖๗/๔๔, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๑๖๗/๗๒, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๕๕-๕๖, ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๑๐๙-๑๑๒.
  • 12. ๑๒ อานิสงส์การเจริญเมตตาบริวารเสมอ ท่านมรณภาพไปเกิดในพรหมโลก ไม่มาเกิดในโลกนี้เป็น เวลา ๗ สังวัฏฏกัปและวิวัฏฏกัป๕๖ ๒๗. ในกัลยาณธรรมชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นเศรษฐี มีหน้าที่ช่วยราช กรณียกิจ ได้ขอพระราชทานอนุญาตบวช เข้าไปยังป่าหิมพานต์ บวชเป็นฤๅษี บาเพ็ญพรตจนสาเร็จ อภิญญาสมาบัติ มรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๕๗ ๒๘. ในมักกฏชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ เรียนจบศิลปวิทยา อยู่ครองเรือน มีบุตรคนหนึ่ง พอบุตรวิ่งเที่ยวไปมาได้ นางพราหมณีก็ถึงแก่กรรม พระโพธิสัตว์ พาบุตรเข้าป่าหิมพานต์ บวชเป็นฤๅษีทั้ง ๒ คนพ่อลูก ฉันรากไม้และผลไม้ในป่าเป็นอาหารเจริญ พรหมวิหาร ๔ มรณภาพแล้วไปเกิดในพรหมโลก๕๘ ๒๙. ในอาทิจจุปัฏฐานชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ศึกษาจบศิลปะ ออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาและสมาบัติ เป็นครูสอน บริวารจานวนมาก ท่านกับบริวารบาเพ็ญพรตจนสาเร็จฌาน มรณภาพแล้วไปเกิดในพรหมโลก๕๙ ๓๐. ในทุทททชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ เรียนจบศิลปวิทยา ทุกอย่าง ออกบวชเป็นฤๅษี เป็นครูสอนดาบส อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จฌาน มรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๖๐ ๓๑. ในอสทิสชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นอสทิสราชกุมาร โอรสพระเจ้า กรุงพาราณสี ทรงมีพรหมทัตกุมารเป็นพระกนิษฐภาดา เมื่อพระราชบิดาเสด็จสวรรคต ทรงมอบ ราชสมบัติให้พรหมทัตราชกุมารแล้วเสด็จออกผนวชเป็นฤๅษี บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ สิ้นพระชนม์ไปเกิดในพรหมโลก๖๑ ๕๖ ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๑๖๙/๔๔, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๑๖๙/๗๓, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๕๙-๖๑, ขุ.ชา. ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๑๑๘-๑๑๙. ๕๗ ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๑๗๑/๔๕, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๑๗๑/๗๔, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๖๓-๖๔, ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๑๒๗-๑๒๙. ๕๘ ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๑๗๓/๔๖, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๑๗๓/๗๕, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๖๗-๖๘, ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๑๓๕-๑๓๗. ๕๙ ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๑๗๕/๔๗, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๑๗๕/๗๖, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๗๑-๗๒, ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๑๔๓-๑๔๕. ๖๐ ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๑๘๐/๔๘, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๑๘๐/๗๙, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๘๔-๘๕, ขุ. ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๑๖๘-๑๗๐. ๖๑ ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๑๘๑/๔๙, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๑๘๑/๘๐, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๘๖-๙๐, ขุ.ชา. ทุก.อ (ไทย) ๓/๓/๑๗๒-๑๗๗.
  • 13. ๑๓ ๓๒. ในมิตตามิตตชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ออก บวชเป็นฤๅษี อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ เป็นครูสอนประจาคณะ ท่านได้สอนเหตุแห่งความเป็นมิตรและความเป็นศัตรู ท่านเจริญพรหมวิหาร มรณภาพแล้วไปเกิด ในพรหมโลก๖๒ ๓๓. ในพันธนาคารชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นคหบดียากจน ท่านทิ้งบุตร ภรรยา เข้าป่าหิมพานต์ บวชเป็นฤๅษี บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ มรณภาพแล้วไปเกิดใน พรหมโลก๖๓ ๓๔. ในขันธชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ละการครองเรือน ออก บวชเป็นฤๅษีสร้างอาศรมอยู่ที่คุ้งแม่น้าแห่งหนึ่งในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญา สมาบัติ เป็นครูประจาคณะ มีฤๅษีเป็นบริวาร ท่านสอนให้ดาบสทั้งหลายเจริญเมตตาในตระกูล พญางูทั้ง ๔ คือพญางูวิรูปักขะ พญางูเอราปถะ พญางูฉัพยาปุตตะ พญางูกัณหาโคตมกะ ท่านเจริญ พรหมวิหาร มรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๖๔ ๓๕. ในภรุชาดก พระโพธิสัตว์บวชเป็นดาบส อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจน สาเร็จอภิญญาสมาบัติ เป็นครูสอนดาบสจานวน ๕๐๐ ท่าน๖๕ ๓๖. ในอสิตาภุชาดก พระโพธิสัตว์บวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรต จนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ ได้สอนให้พระนางอสิตาภูมเหสีของพรหมทัตกุมารโอรสพระเจ้า กรุงพาราณสีเจริญกสิณจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ สามารถลอยขึ้นไปยืนในอากาศได้๖๖ ๓๗. ในวัจฉนขชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ เจริญวัยแล้วออกบวช เป็นฤๅษีอยู่ในป่าหิมพานต์ ท่านเข้าไปในกรุงพาราณสี ได้สอนเศรษฐีให้รู้โทษของการครองเรือนว่า ผู้ครองเรือนถ้าไม่ขยันทางานเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ อย่างสม่าเสมอ การครองเรือนก็จะไม่มั่นคง ผู้ ครองเรือนที่จะไม่พูดเท็จเพื่อให้ได้สิ่งของ เช่นที่นาและเงินทอง ไม่ถือท่อนไม้ใช้อานาจลงโทษ ๖๒ ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๑๙๗/๕๔, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๑๙๗/๘๙, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๑๓๑-๑๓๒, ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๒๕๙-๒๖๑. ๖๓ ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๒๐๑/๕๕, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๒๐๑/๙๑, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๑๓๙-๑๔๑, ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๒๗๖-๒๘๐. ๖๔ ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๒๐๓/๕๖, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๒๐๓/๙๒, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๑๔๕-๑๔๘, ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๒๘๘-๒๙๐. ๖๕ ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๒๑๓/๕๙, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๒๑๓/๙๘, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๑๗๒, ขุ.ชา. ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๓๓๔. ๖๖ ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๒๓๔/๖๗, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๒๓๔/๑๑๐, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๒๓๐- ๒๓๒, ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๔๔๔-๔๔๖.
  • 14. ๑๔ ผู้อื่นไม่รังแกผู้อื่น ก็ครองเรือนไม่ได้ ผู้ลงโทษผู้อื่น เช่น ฆ่า จองจา ตัดอวัยวะ และเฆี่ยนตี จึงจะ ครองเรือนได้มั่นคง เมื่อไม่ทาผิดเช่นพูดเท็จ จะอยู่ครองเรือนไม่ได้๖๗ ๓๘. ในวิคติจฉชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ เมื่อเจริญวัยแล้วสละ ทรัพย์สมบัติและครอบครัว๖๘ ออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ ต่อมาท่านลงจากภูเขาไป พักอยู่ที่บรรณศาลาใกล้แม่น้าวน๖๙ ได้สนทนากับปริพาชกท่านหนึ่ง ซึ่งหาผู้ที่สนทนาโต้ตอบกับ ตนไม่ได้มาสนทนาโต้ตอบด้วยจนปริพาชกสิ้นปฏิภาณลุกหนีไป๗๐ ๓๙. ในพาโลวาทชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ออกบวชเป็นฤๅษี บาเพ็ญสมณธรรมอยู่ในป่าหิมพานต์ ท่านออกจากป่าไปแสวงหารสเค็มและรสเปรี้ยวถูกกุฎุมพีคน หนึ่งกลั่นแกล้ง๗๑ ๔๐. ในกปิชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ เจริญวัยมีครอบครัวมีบุตร คนหนึ่ง พอบุตรโตวิ่งเล่นได้ นางพราหมณีผู้เป็นภรรยาได้ถึงแก่กรรม ท่านอุ้มบุตรเข้าป่าหิมพานต์ บวชเป็นดาบส ให้บุตรบวชเป็นดาบสกุมาร บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติได้สอนดาบส กุมารให้บริกรรมกสิณจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ ดาบสทั้ง ๒ มรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๗๒ ๔๑. ในสังกัปปชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์มีทรัพย์มาก ท่านออก บวชเป็นฤๅษี อยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตไม่นานก็ได้สาเร็จอภิญญาสมาบัติ ท่านได้เข้าไปพัก อาศัยในราชอุทยาน ๑๒ ปี หลงรักพระมเหสีของพระเจ้ากรุงพาราณสีจนฌานเสื่อม แต่ในที่สุดท่าน ก็สามารถทาฌานให้เกิดขึ้นมาอีก แล้วกลับไปอยู่ในป่าหิมพานต์จนมรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๗๓ ๖๗ ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๒๓๕/๖๘, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๒๓๕/๑๑๐, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๒๓๓- ๒๓๕, ขุ.ชา. ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๔๔๙-๔๕๓. ๖๘ บาลีใช้คาว่า กาเม ปหาย (ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๒๕๗-๒๕๙) ละกามทั้งหลาย กาม คือสิ่งที่น่าใคร่ ซึ่งหมายถึงทรัพย์สมบัติและครอบครัวรวมทั้งความรู้สึกที่ใคร่ในสิ่งเหล่านั้น. ๖๙ บาลีใช้คาว่า คงฺคานิวตฺตเน อาจแปลว่า ตรงที่แม่น้าไหลกลับ ก็ได้. ๗๐ ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๒๔๔/๗๑, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๒๔๔/๑๑๖, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๒๕๗- ๒๕๙, ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๔๙๙ – ๕๐๑. ๗๑ ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๒๔๖/๗๑, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๒๔๖/๑๑๗, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๒๖๒- ๒๖๓, ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๕๐๘-๕๐๙. ๗๒ ขุ.ชา.ทุก. (บาลี) ๒๗/๒๕๐/๗๒, ขุ.ชา.ทุก. (ไทย) ๒๗/๒๕๐/๑๑๙, ขุ.ชา.ทุก.อ. (บาลี) ๓/๒๖๙- ๒๗๑, ขุ.ชา.ทุก.อ. (ไทย) ๓/๓/๕๒๓-๕๒๕. ๗๓ ขุ.ชา.ติก. (บาลี) ๒๗/๒๕๑/๗๔, ขุ.ชา.ติก. (ไทย) ๒๗/๒๕๑/๑๒๐, ขุ.ชา.ติก.อ. (บาลี) ๔/๒-๗, ขุ.ชา. ติก.อ. (ไทย) ๓/๔/๓-๑๑.
  • 15. ๑๕ ๔๒. ในมณิกัณฐชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์มีทรัพย์สมบัติมากมี น้องชาย ๑ คน เมื่อเจริญวัยมารดาบิดาถึงแก่กรรม ท่านจึงพากันบวชเป็นฤๅษีสร้างบรรณศาลาอยู่ที่ ฝั่งแม่น้าคงคา พระโพธิสัตว์อยู่เหนือแม่น้าคงคา ฤๅษีน้องชายอยู่ใต้แม่น้าคงคา ดาบสสองพี่น้อง บาเพ็ญพรตจนสาเร็จฌานสมาบัติ มรณภาพไปเกิดในพรหมโลก ดาบสน้องชายได้มาเสวยพระชาติ เป็นพระอานนท์ ดาบสผู้พี่ชายได้มาเกิดเป็นพระพุทธเจ้า๗๔ ๔๓. ในติรีฏวัจฉชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไป ศึกษาที่ตักศิลาจบศิลปะแล้วกลับมายังภูมิลาเนามีครอบครัว เมื่อมารดาบิดาล่วงลับไป ได้ออกบวช เป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่า บาเพ็ญพรตสาเร็จอภิญญาและสมาบัติมรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๗๕ ๔๔. ในจูฬปโลภนชาดก พระโพธิสัตว์จุติจากพรหมโลกลงมาเสวยพระชาติเป็นโอรส ของพระเจ้าพรหมทัต ไม่ยอมให้สตรีถูกต้อง เมื่อทรงเจริญพระชันษาพระองค์ถูกสตรีสาวนักฟ้อน รายั่วยวนจนลุ่มหลงหึงหวง ถึงกับทรงใช้ดาบไล่ฆ่าบุรุษกลัวจะมาแย่งนางไป จึงถูกพระบิดาทรงขับ ออกจากเมือง ทรงพาสตรีนางนั้นไปอาศัยอยู่ในป่า ภายหลังพระองค์เห็นโทษแห่งกามจึงออกบวช เป็นฤๅษีบาเพ็ญกสิณสาเร็จอภิญญาสมาบัติ มรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๗๖ ๔๕. ในอุทปานทูสกชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นบุตรผู้มีตระกูล พอเจริญวัย ได้บวชเป็นฤๅษีอยู่กับฤๅษีบริวารที่ป่าอิสิปตนะ๗๗ ๔๖. ในกัจฉปชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ในแคว้นกาสี เมื่อเจริญวัย ได้ไปศึกษาศิลปวิทยาที่กรุงตักศิลา ต่อมาได้ออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ริมฝั่งแม่น้าคงคา บาเพ็ญพรต จนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ๗๘ ๔๗. ในอัพภันตรชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไป ศึกษาศิลปวิทยาที่กรุงตักศิลาจนจบศิลปะทุกอย่างแล้วกลับมามีครอบครัว เมื่อมารดาบิดาถึงแก่ ๗๔ ขุ.ชา.ติก. (บาลี) ๒๗/๒๕๓/๗๕, ขุ.ชา.ติก. (ไทย) ๒๗/๒๕๓/๑๒๑, ขุ.ชา.ติก.อ. (บาลี) ๔/๑๔-๑๖, ขุ.ชา.ติก.อ. (ไทย) ๓/๔/๒๓-๒๙. ๗๕ ขุ.ชา.ติก. (บาลี) ๒๗/๒๕๙/๗๗, ขุ.ชา.ติก. (ไทย) ๒๗/๒๕๙/๑๒๕, ขุ.ชา.ติก.อ. (บาลี) ๔/๔๖-๕๐, ขุ. ชา.ติก.อ. (ไทย) ๓/๔/๘๑-๘๗. ๗๖ ขุ.ชา.ติก. (บาลี) ๒๗/๒๖๓/๗๙, ขุ.ชา.ติก. (ไทย) ๒๗/๒๖๓/๑๒๘, ขุ.ชา.ติก.อ. (บาลี) ๔/๖๐-๖๓, ขุ.ชา.ติก.อ. (ไทย) ๓/๔/๑๐๙-๑๑๔. ๗๗ ขุ.ชา.ติก. (บาลี) ๒๗/๒๗๑/๘๓, ขุ.ชา.ติก. (ไทย) ๒๗/๒๗๑/๑๓๔, ขุ.ชา.ติก.อ. (บาลี) ๔/๘๙, ขุ.ชา.ติก.อ. (ไทย) ๓/๔/๑๖๓-๑๖๔. ๗๘ ขุ.ชา.ติก. (บาลี) ๒๗/๒๗๓/๘๓, ขุ.ชา.ติก. (ไทย) ๒๗/๒๗๓/๑๓๕, ขุ.ชา.ติก.อ. (บาลี) ๔/๙๔, ขุ.ชา.ติก.อ. (ไทย) ๓/๔/๑๗๕.
  • 16. ๑๖ กรรม ท่านได้ออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ เป็นอาจารย์สอนหมู่ฤๅษี๗๙ ๔๘. ในสิริชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไปศึกษา ศิลปวิทยาที่กรุงตักศิลาแล้วกลับมามีครอบครัวเมื่อมารดาบิดาถึงแก่กรรม ท่านเกิดความสังเวชจึง ออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ๘๐ ๔๙. ในมณิสูกรชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้บวชเป็น ดาบส บาเพ็ญพรตจนสาเร็จฌาน มรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๘๑ ๕๐. ในโกมารบุตรชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ออกบวชเป็นฤๅษี อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บริกรรมกสิณจนสาเร็จสมาบัติ มีพวกดาบสอื่นชอบสนุกอาศัยอยู่ใกล้ๆ ดาบสเหล่านั้นไม่มีการบริกรรมกสิณเลย๘๒ ๕๑. ในจูฬกาลิงคชาดก พระโพธิสัตว์บวชเป็นฤๅษี อาศัยอยู่ระหว่างเขตแดนของ พระเจ้ากาลิงคะกับพระเจ้าอัสสกะ ซึ่งทาสงครามกัน๘๓ ๕๒. ในกัสสปมันทิยชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ เมื่อมารดาถึงแก่ กรรม ท่านได้พาบิดากับน้องชายไปบวชเป็นดาบสอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์๘๔ ๕๓. ในขันติวาทีชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ เมื่อมารดาบิดาถึงแก่ กรรม ได้ออกบวชเป็นดาบส เป็นผู้กล่าวสอนขันติความอดทน ถูกพระเจ้ากลาพุเบียดเบียนจนถึง มรณภาพ๘๕ ๗๙ ขุ.ชา.ติก. (บาลี) ๒๗/๒๘๑/๘๗, ขุ.ชา.ติก. (ไทย) ๒๗/๒๘๑/๑๔๑, ขุ.ชา.ติก.อ. (บาลี) ๔/๑๓๐, ขุ.ชา.ติก.อ. (ไทย) ๓/๔/๒๔๒. ๘๐ ขุ.ชา.ติก. (บาลี) ๒๗/๒๘๔/๘๘, ขุ.ชา.ติก. (ไทย) ๒๗/๒๘๔/๑๔๓, ขุ.ชา.ติก.อ. (บาลี) ๔/๑๔๙, ขุ.ชา. ติก.อ. (ไทย) ๓/๔/๒๗๖. ๘๑ ขุ.ชา.ติก. (บาลี) ๒๗/๒๘๕/๘๙, ขุ.ชา.ติก. (ไทย) ๒๗/๒๘๕/๑๔๓, ขุ.ชา.ติก.อ. (บาลี) ๔/๑๕๗- ๑๕๘, ขุ.ชา.ติก.อ. (ไทย) ๓/๔/๒๘๙-๒๙๑. ๘๒ ขุ.ชา.ติก. (บาลี) ๒๗/๒๙๙/๙๔, ขุ.ชา.ติก. (ไทย) ๒๗/๒๙๙/๑๕๓, ขุ.ชา.ติก.อ. (บาลี) ๔/๑๙๑-๑๙๓, ขุ.ชา.ติก.อ. (ไทย) ๓/๔/๓๖๐-๓๖๒. ๘๓ ขุ.ชา.จตุกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๐๑/๙๖, ขุ.ชา.จตุกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๐๑/๑๕๖, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (บาลี) ๔/๒๐๐, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (ไทย) ๓/๔/๓๗๖. ๘๔ ขุ.ชา.จตุกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๑๒/๑๐๒, ขุ.ชา.จตุกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๑๒/๑๖๖, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (บาลี) ๔/๒๓๘, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (ไทย) ๓/๔/๔๕๒-๔๕๓. ๘๕ ขุ.ชา.จตุกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๑๓/๑๐๒, ขุ.ชา.จตุกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๑๓/๑๖๖, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (บาลี) ๔/๒๔๑-๒๔๔, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (ไทย) ๓/๔/๔๕๘-๔๖๓.
  • 17. ๑๗ ๕๔. ในโลหกุมภิชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยเห็นโทษ ในกามจึงละกามออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ๘๖ ๕๕. ในติตติรชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไปศึกษาที่ กรุงตักศิลาจนจบศิลปะทุกอย่างแล้วออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จ อภิญญาสมาบัติ๘๗ ๕๖. ในพรัหมทัตตชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไป ศึกษาที่กรุงตักศิลาจนจบศิลปะทุกอย่าง ต่อมาออกบวชเป็นดาบสอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญ พรตจนสาเร็จอภิญญาสมาบัติ๘๘ ๕๗. ในอนนุโสจิยชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไป ศึกษาที่กรุงตักศิลาจนจบศิลปะทุกอย่าง ท่านเป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์ตั้งแต่ยังเป็นเด็ก มารดาบิดา ได้จัดการให้ท่านแต่งงานกับหญิงสาวที่ถือพรหมจรรย์ตั้งแต่เป็นเด็ก ท่านอยู่ด้วยเหมือนภิกษุ ๒ รูป และเหมือนพรหม ๒ ท่าน เมื่อมารดาบิดาถึงแก่กรรม ท่านได้พากันออกบวชเป็นดาบสและดาบสินี ต่อมานางดาบสินีมรณภาพจากไป ดาบสได้ไปอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จฌาน อภิญญามรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๘๙ ๕๘. ในราโชวาทชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ศึกษา จบศิลปะทุกอย่างแล้วออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญา สมาบัติ๙๐ ๘๖ ขุ.ชา.จตุกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๑๔/๑๐๓, ขุ.ชา.จตุกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๑๔/๑๖๗, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (บาลี) ๔/๒๔๗, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (ไทย) ๓/๔/๔๖๙. ๘๗ ขุ.ชา.จตุกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๑๙/๑๐๕, ขุ.ชา.จตุกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๑๙/๑๗๑, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (บาลี) ๔/๒๖๗-๒๖๘, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (ไทย) ๓/๔/๕๐๗. ๘๘ ขุ.ชา.จตุกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๒๓/๑๐๗, ขุ.ชา.จตุกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๒๓/๑๗๕, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (บาลี) ๔/๒๘๔-๒๘๗, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (ไทย) ๓/๔/๕๓๙-๕๔๔. ๘๙ ขุ.ชา.จตุกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๒๘/๑๑๐, ขุ.ชา.จตุกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๒๘/๑๗๙, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (บาลี) ๔/๓๐๐-๓๐๓, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (ไทย) ๓/๔/๕๗๐-๕๗๖. ๙๐ ขุ.ชา.จตุกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๓๔/๑๑๓, ขุ.ชา.จตุกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๓๔/๑๘๔, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (บาลี) ๔/๓๑๗, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (ไทย) ๓/๔/๖๐๗.
  • 18. ๑๘ ๕๙. ในปีฐชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไปศึกษาที่ กรุงตักศิลาจนจบศิลปะทุกอย่าง ต่อมา ได้ออกบวชเป็นดาบส อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรต จนสาเร็จฌานและอภิญญามรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๙๑ ๖๐. ในเกสวชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไปศึกษาที่ กรุงตักศิลาจนจบศิลปะทุกอย่าง ต่อมา ท่านออกบวชเป็นฤๅษี เป็นอันเตวาสิกของเกสวดาบสซึ่งเป็น ครูสอนดาบสจานวน ๕๐๐ ท่าน คุ้นเคยกับเกสวดาบสอย่างยิ่ง๙๒ ๖๑. ในอรัญญชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไปศึกษา จนจบศิลปวิทยาที่กรุงตักศิลาแล้วมีครอบครัว เมื่อภรรยาถึงแก่กรรม ท่านพาบุตรไปบวชเป็นฤๅษี อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ ทั้ง ๒ เจริญกสิณจนสาเร็จฌานมรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๙๓ ๖๒. ในสีลวีมังสชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไป ศึกษาที่กรุงตักศิลาจนจบศิลปะทุกอย่างแล้วได้เป็นปุโรหิตของพระเจ้ากรุงพาราณสี ต่อมา ได้ขอ พระราชานุญาตออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาและสมาบัติ มรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๙๔ ๖๓. ในอวาริยชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไปศึกษาที่ กรุงตักศิลาจนจบศิลปะทุกอย่างแล้วออกบวชเป็นฤๅษี อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ระยะหนึ่งแล้วไป อาศัยอยู่ในพระราชอุทยานของพระเจ้ากรุงพาราณสี ให้โอวาทพระราชาทุกวัน พระราชาทรง เลื่อมใสได้พระราชทานหมู่บ้านเรียกเก็บภาษีตาบลหนึ่งซึ่งเรียกเก็บภาษีได้ ๑ แสน ท่านไม่รับ ท่าน พักอาศัยพระราชอุทยานเป็นเวลา ๑๒ ปีจึงออกจาริกไปที่อื่น๙๕ ๙๑ ขุ.ชา.จตุกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๓๗/๑๑๕, ขุ.ชา.จตุกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๓๗/๑๘๖, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (บาลี) ๔/๓๒๘-๓๓๐, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (ไทย) ๓/๔/๖๒๘-๖๓๑. ๙๒ ขุ.ชา.จตุกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๔๖/๑๒๐, ขุ.ชา.จตุกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๔๖/๑๙๓-๑๙๔, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (บาลี) ๔/๓๕๔, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (ไทย) ๓/๔/๖๘๒. ๙๓ ขุ.ชา.จตุกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๔๘/๑๒๑, ขุ.ชา.จตุกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๔๘/๑๙๕, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (บาลี) ๔/๓๖๐-๓๖๑, ขุ.ชา.จตุกฺก.อ. (ไทย) ๓/๔/๖๙๔-๖๙๗. ๙๔ ขุ.ชา.ปญฺจก. (บาลี) ๒๗/๓๖๒/๑๓๒, ขุ.ชา.ปญฺจก. (ไทย) ๒๗/๓๖๒/๒๑๑, ขุ.ชา.ปญฺจก.อ. (บาลี) ๔/๔๑๑-๔๑๕, ขุ.ชา.ปญฺจก.อ. (ไทย) ๓/๔/๘๐๒-๘๐๕. ๙๕ ขุ.ชา.ฉกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๗๖/๑๔๓, ขุ.ชา.ฉกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๗๖/๒๒๗, ขุ.ชา.ฉกฺก.อ. (บาลี) ๕/๒- ๓, ขุ.ชา.ฉกฺก.อ. (ไทย) ๓/๕/๕-๗.
  • 19. ๑๙ ๖๔. ในอาสังกชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไปศึกษา ศิลปะที่กรุงตักศิลา แล้วออกบวชเป็นฤๅษี อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญา สมาบัติ๙๖ ๖๕. ในมัยหกชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นบุตรเศรษฐีมีทรัพย์มาก พอเจริญวัย มารดาบิดาถึงแก่กรรม ท่านอยู่ครองเรือนเลี้ยงดูน้องชาย สร้างโรงทานให้ทาน ท่านมีบุตรคนหนึ่ง พอบุตรโตเดินได้ ท่านได้มอบทรัพย์สมบัติบุตรภรรยาให้น้องชายแล้วออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ใน ป่าหิมพานต์บาเพ็ญพรตจนสาเร็จอภิญญาและสมาบัติ๙๗ ๖๖. ในอุปสิงฆปุปผชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไป ศึกษาศิลปะที่กรุงตักศิลา ภายหลังได้ออกบวชเป็นฤๅษี พักอยู่ใกล้สระบัว ท่านลงไปสูดดมกลิ่น ดอกบัวในสระถูกนางเทพธิดากล่าวตาหนิ ท่านบาเพ็ญพรตสาเร็จฌาน มรณภาพไปเกิดใน พรหมโลก๙๘ ๖๗. ในอัฏฐิเสนชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นอัฏฐิเสนกุมารบุตรของพราหมณ์ พอเจริญวัยได้ไปศึกษาที่กรุงตักศิลาจนจบศิลปะทุกอย่าง ภายหลังได้ออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ใน ป่าหิมพานต์บาเพ็ญพรตจนสาเร็จฌานอภิญญาและสมาบัติ๙๙ ๖๘. ในกุมภการชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นช่างปั้นหม้อขายเลี้ยงครอบครัว ต่อมาได้ฟังธรรมจากพระปัจเจกพุทธเจ้า ๔ องค์เกิดความเลื่อมใส ออกบวชเป็นฤๅษีอาศัยอยู่ใกล้ เมือง บาเพ็ญพรตจนสาเร็จฌานอภิญญามรณภาพไปเกิดในพรหมโลก๑๐๐ ๙๖ ขุ.ชา.ฉกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๘๐/๑๔๗, ขุ.ชา.ฉกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๘๐/๒๓๓, ขุ.ชา.ฉกฺก.อ. (บาลี) ๕/๒๕, ขุ.ชา.ฉกฺก.อ. (ไทย) ๓/๕/๕๓. ๙๗ ขุ.ชา.ฉกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๙๐/๑๕๗, ขุ.ชา.ฉกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๙๐/๒๔๗, ขุ.ชา.ฉกฺก.อ. (บาลี) ๕/๘๔, ขุ.ชา.ฉกฺก.อ. (ไทย) ๓/๕/๑๖๕-๑๖๖. ๙๘ ขุ.ชา.ฉกฺก. (บาลี) ๒๗/๓๙๒/๑๕๘, ขุ.ชา.ฉกฺก. (ไทย) ๒๗/๓๙๒/๒๔๙, ขุ.ชา.ฉกฺก.อ. (บาลี) ๕/๙๒- ๙๔, ขุ.ชา.ฉกฺก.อ. (ไทย) ๓/๕/๑๖๕-๑๖๖. ๙๙ ขุ.ชา.สตฺตก. (บาลี) ๒๗/๔๐๓/๑๖๙, ขุ.ชา.สตฺตก. (ไทย) ๒๗/๔๐๓/๒๖๔, ขุ.ชา.สตฺตก.อ. (บาลี) ๕/๑๔๒, ขุ.ชา.สตฺตก.อ. (ไทย) ๓/๕/๒๘๘. ๑๐๐ ขุ.ชา.สตฺตก. (บาลี) ๒๗/๔๐๘/๑๗๔, ขุ.ชา.สตฺตก. (ไทย) ๒๗/๔๐๘/๒๗๑, ขุ.ชา.สตฺตก.อ. (บาลี) ๕/๑๗๑-๑๘๐, ขุ.ชา.สตฺตก.อ. (ไทย) ๓/๕/๓๔๗-๓๖๐.