SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 24
มวลชน
          (Innovation in Educational Technology and
Mass
               Communication)

อ อาจารย์สุรพล บุญลือ




ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
คณะครูศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

               (NFC Technology)
Near Field
Communication

      (NFC Technology)
การจัดการข้อมูลด้วยเทคโนโลยี
NFC




      http://youtu.be/IVINywC-2dE
โลกเปลียนไปเมือมี NFC ใกล้ตัว
       ่      ่
(Near Field Communication)
โลกเปลียนไปเมือมี NFC ใกล้ตัว
       ่      ่
(Near Field Communication)



   คำาว่า “โลกเปลี่ยนไป” เป็นคำาพูดที่ดูน่าเบื่อ แต่เป็น
    ความจริงอย่างที่สุด ซึงเกิดขึนอยู่ทุกๆ วัน ด้วย
                          ่       ้
    นวัตกรรมจากโลกไฮเทคเป็นตัวนำาพาเราไปสู่ชวิตที่  ี
    สะดวกสบายขึ้่่น แต่ใครที่คุมตัวเองไม่อยู่ หรือตาม
    ไม่ทันก็จะบอกแต่วายุ่งเหยิงมากขึน
                       ่              ้
   และล่าสุด “NFC (Near Field Communication)” ชิป
    ไอซีชนเล็กๆ ที่กำาลังจะกลายเป็น “สิ่งจำาเป็น” สำาหรับ
           ิ้
    ฮาร์ดแวร์ใหม่ในมือถือสมาร์ทโฟน จะมาเปลี่ยนพลวัตร
    และสร้างไลฟ์สไตล์ใหม่ให้กบเราอีกระรอก โดยสำานัก
                                ั
NFC คืออะไร?
   NFC (Near Field Communication) คือ
    นวัตกรรมการสื่อสารข้อมูลแบบไร้สายระยะใกล้ (10
    เซนติเมตร) ทำางานที่คลื่นความถี่ 13.56 MHz และ
    รับส่งข้อมูลด้วยความเร็ว 424 Kbits ต่อวินาที โดย
    ทั่วไปแล้วสามารถส่งผ่านข้อมูลได้ในเวลาที่น้อยกว่า
    1 วินาที (แตะแล้วอ่านเลย) ด้วยเหตุนี้เอง จึงทำาให้
    เราสามารถทำาธุรกรรมต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว
   อย่างไรก็ดี นวัตกรรมการรับส่งข้อมูลแบบไร้สาย
    ระยะสั้นก็ได้พัฒนามาเรื่อยๆ ตั้งแต่ยุคอินฟราเรด จน
    กระทั่งมาเป็นบลูทูธ ที่เวอร์ชั่นล่าสุด 3.0 สามารถรับ
    ส่งข้อมูลได้ไวถึง 24 เมกะบิต/วินาที แต่ขอดีของ
                                               ้
NFC Chip
จุดแตกต่างระหว่าง NFC และ RFID คือ
อะไร?
   อันที่จริงผู้ที่ครำ่าหวอดในวงการเกษตร ค้าปลีก ห้องสมุด
    หรือวงการโทรคมนาคม อาจจะคุ้นเคยกับเทคโนโลยีการ
    สื่อสารข้อมูลแบบไร้สายระยะใกล้นี้แล้วในรูปแบบ RFID
    (Short-Range Radio Frequency Identification) ซึ่งมัน
    จะเป็นชิปขนาดเล็กที่ฝังอยู่ในเสื้อผ้า ข้างบรรจุภัณฑ์ บัตร
    รถไฟฟ้า (BTS, MRT) หรือแม้กระทั่งที่ใบหูของวัวนม
    เพราะเพียงแต่สิ่งมีชีวิต/ไม่มีชีวิตเหล่านี้เคลื่อนผ่านเครือง
                                                              ่
    อ่าน ก็จะสามารถระบุได้ว่าสิ่งของที่ผ่านไปคืออะไร?
   แต่จุดแตกต่างระหว่าง NFC และ RFID ทีสำาคัญคือ RFID
                                                 ่
    นั้นจะทำาหน้าที่เป็นตัวอ่านอย่างเดียว ไม่สามารถเขียน
    เนื้อหาลงไปให้อุปกรณ์อนอ่านต่อได้ และราคาถูกกว่า
                               ื่
NFC ทำาอะไรได้บ้าง?
NFC ทำาอะไรได้บ้าง?
   เมื่อ NFC สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ จุดแรกที่นัก
    พัฒนา และธุรกิจหลายมุ่งประเด็นไปที่เรื่องนี้กคือ การ
                                                  ็
    ชำาระเงินผ่านระบบ NFC เพราะเป็นแหล่งที่จะทำารายได้
    ได้อย่างมหาศาลเลยทีเดียว แต่ อุปกรณ์เชื่อต่อ NFC
    ทำาได้มากกว่านั้น โดยสามารถ ใช้อุปกรณ์ NFC เช่น
    โทรศัพท์มือถือแทนที่บัตรต่าง ๆ ที่อยู่ในกระเป๋าสตางค์ได้
    เกือบทั้งหมดไม่ว่าจะเป็น
     บั ต รผ่ า นต่ า ง ๆ ทั้งบัตรรถไฟฟ้า บัตรค่าทางด่วน,
        รถเมล์ เข้าตึก เข้าบ้าน (แทนบัตรต่างๆ )
NFC ทำาอะไรได้บ้าง?
  ชำ า ระค่ า สิ น ต่ า ง   ๆ (แทนเงิ น สด)
NFC ทำาอะไรได้บ้าง?
   จากตัวอย่างข้างต้นการใช้อุปกรณ์มือถือที่ใช้ NFC ได้แทน
    กระเป๋าสตางค์นั้นอาจจะเป็นพื้นฐานซึ่งในปัจจุบัน RFID ก็
    สามารถทำาได้เกือบทุกอย่างที่ว่า แต่อย่าลืมว่า NFC ที่ติด
    อยู่บนอุปกรณ์เช่นมือถือ นั้นนอกจากจะทำาให้ NFC
    สามารถรับข้อมูลและส่งต่อไปยังระบบปฎิบิติการณ์บนมือ
    ถือ และเชื่อมกับ App ได้แล้ว จะสามารถทำาให้เกิด
    อุปกรณ์ใหม่ ๆ เกิดขึ้นเช่น
       การรั บ รหั ส ผ่ า น Wi-Fi ปัจจุบัน ถ้าเราไปใช้ Wi-Fi ที่ร้าน
        กาแฟนหรือ ที่ไหน เราต้องใส่รหัส Wi-Fi แต่ ด้วยเครื่องที่มี
        NFC พร้อมแล้ว Router ที่มี NFC ด้วย เวลาเดินเข้าร้าน
        กาแฟ ก็เพียงแค่ นำาเครื่องไป แปะกับเครื่อง Router แค่นี้
        ก็ได้ สามารถเชื่อมต่อเข้าวง Wi-Fi นั้นได้
NFC ทำาอะไรได้บ้าง?
    แลกเปลี ่ ย นข้ อ มู ล ติ ด ต่ อ แต่เดิมอาจจะต้องมีการโทรหากัน
     เพื่อแลกเบอร์ แต่ด้วยเครื่องมือถือที่มี NFC แค่ แปะเครื่องชนกัน
     ก็ใช้งานได้แล้ว




    Check-in หลายๆสถานที ่ เช่น Foursquare ก็เริ่มทดลอง
     การ Check-in ผ่าน App ของ Four Square สำาหรับเครื่องที่มี
     NFC ตามที่ต่าง ๆ เช่นกัน
ทัวโลกต่างใช้ NFC
  ่
   NFC กับมือถือ มีการปรากฎใช้ในหลากรูปแบบ เช่น
    ล่าสุดนำาไปฝังไว้หลังตัวเครื่องอย่างทีเห็นในมือถือ
                                           ่
    Nexus S หรือหลากแบรนด์มอถือทีฝังชิป NFC ไว้
                                   ื    ่
    ก่อนหน้านี้ โดยมีโนเกียเป็นผู้นำานวัตกรรมในขณะนั้น
    (เมื่อ 5 ปีที่แล้ว) เช่น โนเกีย 6212, ซัมซุง SHW-
    A170K และความเคลื่อนไหวล่าสุดคือ กูเกิลได้อัปเก
    รดให้เฟิร์มแวร์แอนดรอยด์ 2.3.3 รองรับชิป NFC
    ทั้งหมดแล้ว

   โดยในแรกเริ่มจะเน้นการใช้ NFC บนมือถือเพื่อแทน
    กระเป๋าสตางค์เงินสด ในการชำาระค่าโดยสาร ค่า
    อาหาร ซึ่งเป็นเงินจำานวนไม่มาก โดยรูปแบบการจ่าย
ทัวโลกต่างใช้ NFC
  ่
   ส่วนในอเมริกา และยุโรป ก็ได้บุกเบิกระบบการจ่ายเงิน
    ด้วยการแตะมือถือไปแล้วระยะหนึ่ง เช่น ค่ายมือถือ 3
    ค่ายดังของอเมริกาอย่าง AT&T, T-Mobile USA, และ
    Verizon Wireless พร้อมใจจับมือกันสร้าง และทดสอบ
    ระบบการจ่ายเงินบนมือถือ (Mobile Payment)

   ส่วนไทยเองได้เริ่มนำานวัตกรรมนี้เข้ามาตั้งแต่ 3 ปีก่อน
    โดยค่ายบัตรเครดิตวีซ่า ที่นำาเอาระบบเพย์เวฟ มาใช้กับ
    โนเกีย 6212 ซึ่งก็มีพันธมิตรรายใหญ่อย่างธนาคารกสิกร
    ไทย ค่ายมือถือเอไอเอส ร่วมกับร้านค้ากว่า 1,500 ร้าน
    พร้อมใจกันทดลองระบบนี้ แต่ก็ไม่ต่อเนื่องเพราะมือถือ
    รุ่นนี้ไม่ได้เป็นที่นิยม และต่อมาทางค่ายทรูก็ได้ออก “ทัช
ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงของ
วงการธุรกิจต่างๆ รวมวิถีชีวิต
      ใหม่ๆ ของผู้บริโภค
ที่จะเปลี่ยนไป (ในทางที่ดขึ้น)
                           ี
 เมื่อมีมือถือที่ฝังชิป NFC อยู่
            ใกล้ๆ ตัว
Micropayment ใช้เงินโดยไม่จับ
เงิน
Micropayment ใช้เงินโดยไม่จับ
เงิน
   เมื่อมีชิป NFC ติดในมือถือ เราสามารถเปลี่ยนมือถือให้กลาย
    เป็นกระเป๋าสตางค์เงินสด หรือแม้แต่แทนบัตรเครดิตได้ แต่
    อย่างไรก็ดการจ่ายเงินโดยผ่านชิป NFC ของมือถือนีมักจะมีข้อ
                ี                                     ้
    กำาหนดด้านเพดานการใช้จ่ายเงินแต่ละครั้ง (ซึ่งไม่ควรจะเกิน
    3,000 บาท) เพื่อป้องกันในกรณีมือถือหายแล้วผูอื่นเอาเงินไป
                                                  ้
    ใช้ ซึ่งเพดานเงินนีธนาคาร และผูใช้สามารถกำาหนดเองได้
                       ้            ้
   ลักษณะการทำางานก็เหมือนที่เราเอากระเป๋าสตางค์ทใส่การ์ดที่
                                                          ี่
    ฝังชิป RFID ทั้งหลาย เช่น บัตรรถไฟฟ้า บัตร 7-11 มาแตะที่
    เครื่องอ่านบัตร แต่ครั้งนีใช้แค่มือถือเครื่องเดียว…เอาอยู!
                              ้                              ่
   นอกจากนีแล้วทางธนาคารยังสามารถทำาระบบโอนเงินระหว่าง
              ้
    กันได้อีกด้วย แค่เอามือถือ 2 เครื่องมาแตะกัน


นามบัตรไฮเทค




   การร่วมวงธุรกิจ การรูหน้าอย่างเดียวไม่พอ ต้องรูใจ และ
                         ้                         ้
    ไลฟ์สไตล์ของคู่ค้าให้มากที่สุด ดังนั้นจะดีแค่ไหนที่
    นามบัตรของคุณที่ติดชิป NFC เอาไว้ จะเป็นหน้าต่างบาน
    สำาคัญให้พาร์ทเนอร์ของคุณรู้จักคุณทุกมุมมอง ไม่ว่าจะเป็น
    การเข้าถึงโพสต่างๆ ที่คุณพูดคุยผ่านทวิตเตอร์ เฟสบุ๊ก
    การเข้าไปดูไฟล์ Resume ของคุณแบบออนไลน์ ฯลฯ ทั้ง
    ยังไม่เปลืองค่าพิมพ์นามบัตรซำ้าๆ อีกด้วย เพราะเวลาใช้แต่
    เอานามบัตรไปแตะมือถือของลูกค้าเท่านั้น
ตั๋วอัจฉริยะที่ไม่ใช่แค่กระดาษ




   ถ้าไม่ใช่เพราะคุณกุมมือดูหนังกับคนพิเศษ ไม่มีใคร
    เลยทีคิดจะเก็บตั๋วหนังเอาไว้เกิน 3 นาที และตั๋ว
          ่
    เหล่านี้ยังรวมถึง ตั๋วรถเมล์ ตั๋วคอนเสิร์ต ฯลฯ แต่
    หลังจากมี NFC ในมือถือ ตั๋วเหล่านั้นจะถูกแปร
ป้ายโฆษณาอินเตอร์แอคทีฟ หวัง
ผลจริง วัดผลได้




   วงการที่จะได้รับการเปลี่ยนแปลงอย่างน่าตื่นเต้นที่สุด
    เห็นจะไม่พ้นวงการโฆษณา ที่เมื่อก้าวมาถึงยุค “สื่อ
    ใหม่ (New Media)” แล้ว “การตลาดบนมือถือ
    (Mobile Marketing)” ดูเหมือนจะเป็นกิมมิกที่มาแรง
    เอามากๆ และ NFC ก็ทำาให้ทั้งแบรนด์ และกลุ่มเป้า
คลิปวีดีโอเพิ่มเติม
   http://youtu.be/hnJ1eE30a14
อ้างอิง
   http://thaibbclub.com/forums/nfc-near-field-communication-t27478.html
   http://www.dailygizmo.tv/2011/02/24/nfc-%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%
   http://www.kingdomplaza.com/mobile/news.php?nid=532
NFC Technology

จัดทำา
            นายธนกฤต      ใจเพ็ชร
 โดย         54218117
            นายธนะชาติ    เฟื่องเกตุ
             54218118
            นางสาวธันยาการย์ ธิตนิตวงศ์ 54218120
                                 ิ ิ
            นางสาววนิดา วิเวชไพศาลกุล
             54218137
            นางสาวสิรภัค เมรานนท์ 54218145
                      ิ

            ETM 201 นวัตกรรมทางเทคโนโลยีการศึกษา
             และสื่อสารมวลชน

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Cyber securitypeople
Cyber securitypeopleCyber securitypeople
Cyber securitypeoplentc thailand
 
ผลกระทบเชิงลบ ICT
ผลกระทบเชิงลบ ICTผลกระทบเชิงลบ ICT
ผลกระทบเชิงลบ ICTKunnanatya Pare
 
ฉลาดรู้เน็ต 1 ตอน internet of things
ฉลาดรู้เน็ต 1 ตอน internet of thingsฉลาดรู้เน็ต 1 ตอน internet of things
ฉลาดรู้เน็ต 1 ตอน internet of thingsSaran Yuwanna
 
ผลกระทบเชิงลบ ICT
ผลกระทบเชิงลบ ICTผลกระทบเชิงลบ ICT
ผลกระทบเชิงลบ ICTKunnanatya Pare
 
นำเสนองาน
นำเสนองานนำเสนองาน
นำเสนองานpasumlee
 
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์ยิ้ม' เเฉ่ง
 
IST-25542 บาร์โค้ด 2 มิติ
IST-25542 บาร์โค้ด 2 มิติIST-25542 บาร์โค้ด 2 มิติ
IST-25542 บาร์โค้ด 2 มิติThanattha
 
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅจรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅWatinee Poksup
 
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บหน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บtanongsak
 
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตHaprem HAprem
 

Was ist angesagt? (15)

Cyber securitypeople
Cyber securitypeopleCyber securitypeople
Cyber securitypeople
 
เทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 gเทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 g
 
ผลกระทบเชิงลบ ICT
ผลกระทบเชิงลบ ICTผลกระทบเชิงลบ ICT
ผลกระทบเชิงลบ ICT
 
ฉลาดรู้เน็ต 1 ตอน internet of things
ฉลาดรู้เน็ต 1 ตอน internet of thingsฉลาดรู้เน็ต 1 ตอน internet of things
ฉลาดรู้เน็ต 1 ตอน internet of things
 
Barcode technology
Barcode technologyBarcode technology
Barcode technology
 
ผลกระทบเชิงลบ ICT
ผลกระทบเชิงลบ ICTผลกระทบเชิงลบ ICT
ผลกระทบเชิงลบ ICT
 
นำเสนองาน
นำเสนองานนำเสนองาน
นำเสนองาน
 
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์
 
IST-25542 บาร์โค้ด 2 มิติ
IST-25542 บาร์โค้ด 2 มิติIST-25542 บาร์โค้ด 2 มิติ
IST-25542 บาร์โค้ด 2 มิติ
 
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅจรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บหน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
 
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
 

Ähnlich wie Nfc technology

งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2sawitri555
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technologyNittaya Intarat
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1chaiya5329
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
เทคโนโลยีในอนาคต
เทคโนโลยีในอนาคตเทคโนโลยีในอนาคต
เทคโนโลยีในอนาคตI'Tay Tanawin
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ตMeaw Sukee
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1watnawong
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Nu Tip SC
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Nu Tip SC
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศKriangx Ch
 

Ähnlich wie Nfc technology (20)

Nfc
NfcNfc
Nfc
 
Nfc technology
Nfc technologyNfc technology
Nfc technology
 
งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technology
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
เทคโนโลยีในอนาคต
เทคโนโลยีในอนาคตเทคโนโลยีในอนาคต
เทคโนโลยีในอนาคต
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
What is touch screen 1
What is touch screen 1What is touch screen 1
What is touch screen 1
 
Internet of things
Internet of thingsInternet of things
Internet of things
 

Nfc technology

  • 1. มวลชน (Innovation in Educational Technology and Mass Communication) อ อาจารย์สุรพล บุญลือ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครูศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (NFC Technology)
  • 2. Near Field Communication (NFC Technology)
  • 5. โลกเปลียนไปเมือมี NFC ใกล้ตัว ่ ่ (Near Field Communication)  คำาว่า “โลกเปลี่ยนไป” เป็นคำาพูดที่ดูน่าเบื่อ แต่เป็น ความจริงอย่างที่สุด ซึงเกิดขึนอยู่ทุกๆ วัน ด้วย ่ ้ นวัตกรรมจากโลกไฮเทคเป็นตัวนำาพาเราไปสู่ชวิตที่ ี สะดวกสบายขึ้่่น แต่ใครที่คุมตัวเองไม่อยู่ หรือตาม ไม่ทันก็จะบอกแต่วายุ่งเหยิงมากขึน ่ ้  และล่าสุด “NFC (Near Field Communication)” ชิป ไอซีชนเล็กๆ ที่กำาลังจะกลายเป็น “สิ่งจำาเป็น” สำาหรับ ิ้ ฮาร์ดแวร์ใหม่ในมือถือสมาร์ทโฟน จะมาเปลี่ยนพลวัตร และสร้างไลฟ์สไตล์ใหม่ให้กบเราอีกระรอก โดยสำานัก ั
  • 6. NFC คืออะไร?  NFC (Near Field Communication) คือ นวัตกรรมการสื่อสารข้อมูลแบบไร้สายระยะใกล้ (10 เซนติเมตร) ทำางานที่คลื่นความถี่ 13.56 MHz และ รับส่งข้อมูลด้วยความเร็ว 424 Kbits ต่อวินาที โดย ทั่วไปแล้วสามารถส่งผ่านข้อมูลได้ในเวลาที่น้อยกว่า 1 วินาที (แตะแล้วอ่านเลย) ด้วยเหตุนี้เอง จึงทำาให้ เราสามารถทำาธุรกรรมต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว  อย่างไรก็ดี นวัตกรรมการรับส่งข้อมูลแบบไร้สาย ระยะสั้นก็ได้พัฒนามาเรื่อยๆ ตั้งแต่ยุคอินฟราเรด จน กระทั่งมาเป็นบลูทูธ ที่เวอร์ชั่นล่าสุด 3.0 สามารถรับ ส่งข้อมูลได้ไวถึง 24 เมกะบิต/วินาที แต่ขอดีของ ้
  • 8. จุดแตกต่างระหว่าง NFC และ RFID คือ อะไร?  อันที่จริงผู้ที่ครำ่าหวอดในวงการเกษตร ค้าปลีก ห้องสมุด หรือวงการโทรคมนาคม อาจจะคุ้นเคยกับเทคโนโลยีการ สื่อสารข้อมูลแบบไร้สายระยะใกล้นี้แล้วในรูปแบบ RFID (Short-Range Radio Frequency Identification) ซึ่งมัน จะเป็นชิปขนาดเล็กที่ฝังอยู่ในเสื้อผ้า ข้างบรรจุภัณฑ์ บัตร รถไฟฟ้า (BTS, MRT) หรือแม้กระทั่งที่ใบหูของวัวนม เพราะเพียงแต่สิ่งมีชีวิต/ไม่มีชีวิตเหล่านี้เคลื่อนผ่านเครือง ่ อ่าน ก็จะสามารถระบุได้ว่าสิ่งของที่ผ่านไปคืออะไร?  แต่จุดแตกต่างระหว่าง NFC และ RFID ทีสำาคัญคือ RFID ่ นั้นจะทำาหน้าที่เป็นตัวอ่านอย่างเดียว ไม่สามารถเขียน เนื้อหาลงไปให้อุปกรณ์อนอ่านต่อได้ และราคาถูกกว่า ื่
  • 10. NFC ทำาอะไรได้บ้าง?  เมื่อ NFC สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ จุดแรกที่นัก พัฒนา และธุรกิจหลายมุ่งประเด็นไปที่เรื่องนี้กคือ การ ็ ชำาระเงินผ่านระบบ NFC เพราะเป็นแหล่งที่จะทำารายได้ ได้อย่างมหาศาลเลยทีเดียว แต่ อุปกรณ์เชื่อต่อ NFC ทำาได้มากกว่านั้น โดยสามารถ ใช้อุปกรณ์ NFC เช่น โทรศัพท์มือถือแทนที่บัตรต่าง ๆ ที่อยู่ในกระเป๋าสตางค์ได้ เกือบทั้งหมดไม่ว่าจะเป็น  บั ต รผ่ า นต่ า ง ๆ ทั้งบัตรรถไฟฟ้า บัตรค่าทางด่วน, รถเมล์ เข้าตึก เข้าบ้าน (แทนบัตรต่างๆ )
  • 11. NFC ทำาอะไรได้บ้าง?  ชำ า ระค่ า สิ น ต่ า ง ๆ (แทนเงิ น สด)
  • 12. NFC ทำาอะไรได้บ้าง?  จากตัวอย่างข้างต้นการใช้อุปกรณ์มือถือที่ใช้ NFC ได้แทน กระเป๋าสตางค์นั้นอาจจะเป็นพื้นฐานซึ่งในปัจจุบัน RFID ก็ สามารถทำาได้เกือบทุกอย่างที่ว่า แต่อย่าลืมว่า NFC ที่ติด อยู่บนอุปกรณ์เช่นมือถือ นั้นนอกจากจะทำาให้ NFC สามารถรับข้อมูลและส่งต่อไปยังระบบปฎิบิติการณ์บนมือ ถือ และเชื่อมกับ App ได้แล้ว จะสามารถทำาให้เกิด อุปกรณ์ใหม่ ๆ เกิดขึ้นเช่น  การรั บ รหั ส ผ่ า น Wi-Fi ปัจจุบัน ถ้าเราไปใช้ Wi-Fi ที่ร้าน กาแฟนหรือ ที่ไหน เราต้องใส่รหัส Wi-Fi แต่ ด้วยเครื่องที่มี NFC พร้อมแล้ว Router ที่มี NFC ด้วย เวลาเดินเข้าร้าน กาแฟ ก็เพียงแค่ นำาเครื่องไป แปะกับเครื่อง Router แค่นี้ ก็ได้ สามารถเชื่อมต่อเข้าวง Wi-Fi นั้นได้
  • 13. NFC ทำาอะไรได้บ้าง?  แลกเปลี ่ ย นข้ อ มู ล ติ ด ต่ อ แต่เดิมอาจจะต้องมีการโทรหากัน เพื่อแลกเบอร์ แต่ด้วยเครื่องมือถือที่มี NFC แค่ แปะเครื่องชนกัน ก็ใช้งานได้แล้ว  Check-in หลายๆสถานที ่ เช่น Foursquare ก็เริ่มทดลอง การ Check-in ผ่าน App ของ Four Square สำาหรับเครื่องที่มี NFC ตามที่ต่าง ๆ เช่นกัน
  • 14. ทัวโลกต่างใช้ NFC ่  NFC กับมือถือ มีการปรากฎใช้ในหลากรูปแบบ เช่น ล่าสุดนำาไปฝังไว้หลังตัวเครื่องอย่างทีเห็นในมือถือ ่ Nexus S หรือหลากแบรนด์มอถือทีฝังชิป NFC ไว้ ื ่ ก่อนหน้านี้ โดยมีโนเกียเป็นผู้นำานวัตกรรมในขณะนั้น (เมื่อ 5 ปีที่แล้ว) เช่น โนเกีย 6212, ซัมซุง SHW- A170K และความเคลื่อนไหวล่าสุดคือ กูเกิลได้อัปเก รดให้เฟิร์มแวร์แอนดรอยด์ 2.3.3 รองรับชิป NFC ทั้งหมดแล้ว  โดยในแรกเริ่มจะเน้นการใช้ NFC บนมือถือเพื่อแทน กระเป๋าสตางค์เงินสด ในการชำาระค่าโดยสาร ค่า อาหาร ซึ่งเป็นเงินจำานวนไม่มาก โดยรูปแบบการจ่าย
  • 15. ทัวโลกต่างใช้ NFC ่  ส่วนในอเมริกา และยุโรป ก็ได้บุกเบิกระบบการจ่ายเงิน ด้วยการแตะมือถือไปแล้วระยะหนึ่ง เช่น ค่ายมือถือ 3 ค่ายดังของอเมริกาอย่าง AT&T, T-Mobile USA, และ Verizon Wireless พร้อมใจจับมือกันสร้าง และทดสอบ ระบบการจ่ายเงินบนมือถือ (Mobile Payment)  ส่วนไทยเองได้เริ่มนำานวัตกรรมนี้เข้ามาตั้งแต่ 3 ปีก่อน โดยค่ายบัตรเครดิตวีซ่า ที่นำาเอาระบบเพย์เวฟ มาใช้กับ โนเกีย 6212 ซึ่งก็มีพันธมิตรรายใหญ่อย่างธนาคารกสิกร ไทย ค่ายมือถือเอไอเอส ร่วมกับร้านค้ากว่า 1,500 ร้าน พร้อมใจกันทดลองระบบนี้ แต่ก็ไม่ต่อเนื่องเพราะมือถือ รุ่นนี้ไม่ได้เป็นที่นิยม และต่อมาทางค่ายทรูก็ได้ออก “ทัช
  • 16. ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงของ วงการธุรกิจต่างๆ รวมวิถีชีวิต ใหม่ๆ ของผู้บริโภค ที่จะเปลี่ยนไป (ในทางที่ดขึ้น) ี เมื่อมีมือถือที่ฝังชิป NFC อยู่ ใกล้ๆ ตัว
  • 18. Micropayment ใช้เงินโดยไม่จับ เงิน  เมื่อมีชิป NFC ติดในมือถือ เราสามารถเปลี่ยนมือถือให้กลาย เป็นกระเป๋าสตางค์เงินสด หรือแม้แต่แทนบัตรเครดิตได้ แต่ อย่างไรก็ดการจ่ายเงินโดยผ่านชิป NFC ของมือถือนีมักจะมีข้อ ี ้ กำาหนดด้านเพดานการใช้จ่ายเงินแต่ละครั้ง (ซึ่งไม่ควรจะเกิน 3,000 บาท) เพื่อป้องกันในกรณีมือถือหายแล้วผูอื่นเอาเงินไป ้ ใช้ ซึ่งเพดานเงินนีธนาคาร และผูใช้สามารถกำาหนดเองได้ ้ ้  ลักษณะการทำางานก็เหมือนที่เราเอากระเป๋าสตางค์ทใส่การ์ดที่ ี่ ฝังชิป RFID ทั้งหลาย เช่น บัตรรถไฟฟ้า บัตร 7-11 มาแตะที่ เครื่องอ่านบัตร แต่ครั้งนีใช้แค่มือถือเครื่องเดียว…เอาอยู! ้ ่  นอกจากนีแล้วทางธนาคารยังสามารถทำาระบบโอนเงินระหว่าง ้ กันได้อีกด้วย แค่เอามือถือ 2 เครื่องมาแตะกัน 
  • 19. นามบัตรไฮเทค  การร่วมวงธุรกิจ การรูหน้าอย่างเดียวไม่พอ ต้องรูใจ และ ้ ้ ไลฟ์สไตล์ของคู่ค้าให้มากที่สุด ดังนั้นจะดีแค่ไหนที่ นามบัตรของคุณที่ติดชิป NFC เอาไว้ จะเป็นหน้าต่างบาน สำาคัญให้พาร์ทเนอร์ของคุณรู้จักคุณทุกมุมมอง ไม่ว่าจะเป็น การเข้าถึงโพสต่างๆ ที่คุณพูดคุยผ่านทวิตเตอร์ เฟสบุ๊ก การเข้าไปดูไฟล์ Resume ของคุณแบบออนไลน์ ฯลฯ ทั้ง ยังไม่เปลืองค่าพิมพ์นามบัตรซำ้าๆ อีกด้วย เพราะเวลาใช้แต่ เอานามบัตรไปแตะมือถือของลูกค้าเท่านั้น
  • 20. ตั๋วอัจฉริยะที่ไม่ใช่แค่กระดาษ  ถ้าไม่ใช่เพราะคุณกุมมือดูหนังกับคนพิเศษ ไม่มีใคร เลยทีคิดจะเก็บตั๋วหนังเอาไว้เกิน 3 นาที และตั๋ว ่ เหล่านี้ยังรวมถึง ตั๋วรถเมล์ ตั๋วคอนเสิร์ต ฯลฯ แต่ หลังจากมี NFC ในมือถือ ตั๋วเหล่านั้นจะถูกแปร
  • 21. ป้ายโฆษณาอินเตอร์แอคทีฟ หวัง ผลจริง วัดผลได้  วงการที่จะได้รับการเปลี่ยนแปลงอย่างน่าตื่นเต้นที่สุด เห็นจะไม่พ้นวงการโฆษณา ที่เมื่อก้าวมาถึงยุค “สื่อ ใหม่ (New Media)” แล้ว “การตลาดบนมือถือ (Mobile Marketing)” ดูเหมือนจะเป็นกิมมิกที่มาแรง เอามากๆ และ NFC ก็ทำาให้ทั้งแบรนด์ และกลุ่มเป้า
  • 23. อ้างอิง  http://thaibbclub.com/forums/nfc-near-field-communication-t27478.html  http://www.dailygizmo.tv/2011/02/24/nfc-%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%  http://www.kingdomplaza.com/mobile/news.php?nid=532
  • 24. NFC Technology จัดทำา  นายธนกฤต ใจเพ็ชร โดย 54218117  นายธนะชาติ เฟื่องเกตุ 54218118  นางสาวธันยาการย์ ธิตนิตวงศ์ 54218120 ิ ิ  นางสาววนิดา วิเวชไพศาลกุล 54218137  นางสาวสิรภัค เมรานนท์ 54218145 ิ  ETM 201 นวัตกรรมทางเทคโนโลยีการศึกษา และสื่อสารมวลชน