SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 9
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การสรางเว็บเพจดวยภาษา HTML
โครงสราง ภาษา HTML
<html>
<head>
<title>…………..</title>
</head>
<body>
</body>
</html>
การเขียนภาษา HTML นั้นมีสวนประกอบหลักอยู 2 สวน คือ สวนที่เปนเนื้อหา และสวนที่เปนคําสั่ง สวนที่เปน
คําสั่งนั้นจะอยูในรูปของ Tag ซึ่งจะเขียนอยูในเครื่องหมายมากกวา และ นอยกวา < > แตละ Tag มีหนาที่ที่แตกตาง
กันออกไป
Tag แบงออกเปน 2 ประเภท คือ
1. แท็กเดี่ยว คือ คําสั่งที่มีคําสั่งเพียงอยางเดียว ซึ่งสามารถใชและสิ้นสุดคําสั่งไดดวยตัวของมันเอง เชน
ขอความ.... <br>
<hr>
<! - ขอความ - >
2. แท็กคู คือ คําสั่งที่ตองมีสวนเริ่มตนและสวนจุดจบของคําสั่งนั้น ๆ โดยแท็กที่เปนสวนจบนั้นจะมี
เครื่องหมาย slash / ติดเอาไว เชน
<html> สวนของเนื้อหา ..... </html>
<center> ขอความ..... </center>
<p> ขอความ.... </p>
ถาหากมีการใชแท็กคูหลาย ๆ คําสั่ง เชน คําสั่งตัวขีดเสนใต <U> .... </U> และตามดวย คําสั่งตัวเอียง
<I>....</I> จะตองปดคําสั่งตัวเอียงกอน แลวจึงจะมาปดคําสั่งตัวขีดเสนใต
<I> U> ขอความ.... </U> </I>
รูปแบบของเอกสาร HTML
รูปแบบมาตรฐานของเอกสาร HTML จะมีอยูสองสวน สวนแรกเรียกวาสวนหัว (head) และสวนที่สอง
เรียกวา สวนตัว (body) และทั้งสองสวนจะตองอยูภายใตชุดคําสั่ง <HTML>....</HTML> เสมอ รูปแบบเอกสาร
HTML ที่สมบูรณ ควรจะมีชุดคําสั่งมาตรฐานกํากับอยางนอยที่สุด ดังนี้
<Html>
<Head>
<Title>หัวขอเรื่อง</Title>
</Head>
<Body>
เนื้อความที่ตองการสื่อสาร
</Body>
</Html>
หลักการเขียนภาษา HTML แบบงายๆ
1. จัดใหคําสั่งเปดและปดในแตละชุดคําสั่งอยูใน column ตรงกัน
2. ขอความที่ไมยาวมาก ถามีคําสั่งเปดและปด ใหเขียนในบรรทัดเดียวกัน
3. คําสั่งที่มีตัวเปดและปด ใหเขียนตัวเปด/ปดใหเรียบรอยกอนที่จะเขียนขอความลงไป เชน ตองการเขียน
"HTML editor สําหรับภาษาไทย" ก็ควรเริ่มดวย
<H2></H2>
<H2><B></B></H2>
<H2><B>HTML editor สําหรับภาษาไทย</B></H2> วิธีการนี้จะชวยใหลดความผิดพลาดลงไดมาก
4. ขอความที่อยูในคําสั่งเปดและปด ใหพิมพเยื้องไปทางขวา
5. คําสั่งใดที่อยูในคําสั่งเปดและปดของคําสั่งอื่น ใหพิมพเยื้องไปทางขวามากกวาเดิมอีกเล็กนอย
คําสั่งตาง ๆ ในภาษา html
1. การกําหนดขอความลงใน Title bar
<title> ขอความที่ตองการใหปรากฏลงบน Title Bar </title>
2. การกําหนดขนาดของหัวเรื่อง มีอยู 6 ระดับ คือ H1, H2, H3, H4, H5 และ H6 โดยจะเรียงจากขนาด
ใหญไปหาเล็ก
3. การกําหนด background
<body bgcolor="color">
การกําหนดสีของ background ทําไดโดยการเพิ่มคําสั่ง bgcolor ลงใน <body> color คือ ชื่อสีหรือcode
สีที่จะใชกําหนดสีของ background ชื่อสีเชน black white blue green red ฯลฯ Code สี คือเลขฐาน16 คือ
(0-9,A-F) 6 ตัวซึ่งแทนคาในสีตาง ๆ 2 ตัวแรกจะแทนคาสีแดง 2 ตัวกลางจะแทนสีเขียว สวน 2 ตัวหลังจะแทนสี
น้ําเงิน
4. การใชภาพเปน Background
<body background="URL">
5. การใสขอความ (Font)
<Font> ....... </Font>
ขนาดตัวอักษร จะมีขนาด -1ถึง+7 โดยเลข -1 จะเล็กที่สุด และ +7 จะมีขนาดใหญที่สุด
ดังตัวอยางขนาดตัวอักษร 1 - 7
size=1 จะมีขนาด 8 pixel
size=2 จะมีขนาด 10 pixel
size=3 จะมีขนาด 12 pixel
size=4 จะมีขนาด 14 pixel
size=5 จะมีขนาด 18 pixel
size=6 จะมีขนาด 24 pixel
size=7 จะมีขนาด 36 pixel
หมายเหตุ..ขึ้นอยูกับรูปแบบตัวอักษรดวยครับ.ไมเกี่ยวของกับคําสั่ง Style
6. คําสั่งการจัดการเกี่ยวกับรูปภาพ
เราจะใชคําสั่ง <Img src="ชื่อไฟล"> ซึ่งจะมีตัวชวยในการจัดรูปแบบเพิ่มเติม ดังนี้
ALIGN ใชกําหนดตําแหนงการจัดวางของรูปภาพรวมกับขอความ..
 ALIGN=TOP วางสวนบนของรูปภาพไวที่ baseline ของบรรทัด
 ALIGN=LEFT วางตําแหนงของรูปภาพ ไวที่ดานซายของเอกสาร
 ALIGN=RIGHT วางตําแหนงของรูปภาพไวที่ดานขวาของเอกสาร
 ALIGN=MIDDLE วางสวนกลางของรูปภาพไวที่ baseline ของบรรทัด
 ALIGN=BOTTOM วางสวนลางของรูปภาพไวที่ baseline ของบรรทัด
WIDTH จะใชในการกําหนดความกวางของรูปภาพ
HEIGHT ใชในการกําหนดความสูงของรูปภาพ
BORDER ใชกําหนดการแสดงเสนขอบรูป
VSPACE ใชกําหนดระยะหางทางดานบน, ลาง
HSPACE ใชกําหนดระยะหางทางดานซาย, ขวา
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von สุวิทย์ ดวงดี (6)

Photoshop cs
Photoshop csPhotoshop cs
Photoshop cs
 
โอเปอร์เรเตอร์
โอเปอร์เรเตอร์โอเปอร์เรเตอร์
โอเปอร์เรเตอร์
 
ฟังก์ชัน Printf&scanf
ฟังก์ชัน Printf&scanfฟังก์ชัน Printf&scanf
ฟังก์ชัน Printf&scanf
 
ชนิดข้อมูลและตัวแปร
ชนิดข้อมูลและตัวแปรชนิดข้อมูลและตัวแปร
ชนิดข้อมูลและตัวแปร
 
Flowchart
FlowchartFlowchart
Flowchart
 
Flowchart
FlowchartFlowchart
Flowchart
 

การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html

  • 1. การสรางเว็บเพจดวยภาษา HTML โครงสราง ภาษา HTML <html> <head> <title>…………..</title> </head> <body> </body> </html> การเขียนภาษา HTML นั้นมีสวนประกอบหลักอยู 2 สวน คือ สวนที่เปนเนื้อหา และสวนที่เปนคําสั่ง สวนที่เปน คําสั่งนั้นจะอยูในรูปของ Tag ซึ่งจะเขียนอยูในเครื่องหมายมากกวา และ นอยกวา < > แตละ Tag มีหนาที่ที่แตกตาง กันออกไป Tag แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1. แท็กเดี่ยว คือ คําสั่งที่มีคําสั่งเพียงอยางเดียว ซึ่งสามารถใชและสิ้นสุดคําสั่งไดดวยตัวของมันเอง เชน ขอความ.... <br> <hr> <! - ขอความ - > 2. แท็กคู คือ คําสั่งที่ตองมีสวนเริ่มตนและสวนจุดจบของคําสั่งนั้น ๆ โดยแท็กที่เปนสวนจบนั้นจะมี เครื่องหมาย slash / ติดเอาไว เชน <html> สวนของเนื้อหา ..... </html> <center> ขอความ..... </center> <p> ขอความ.... </p> ถาหากมีการใชแท็กคูหลาย ๆ คําสั่ง เชน คําสั่งตัวขีดเสนใต <U> .... </U> และตามดวย คําสั่งตัวเอียง <I>....</I> จะตองปดคําสั่งตัวเอียงกอน แลวจึงจะมาปดคําสั่งตัวขีดเสนใต <I> U> ขอความ.... </U> </I>
  • 2. รูปแบบของเอกสาร HTML รูปแบบมาตรฐานของเอกสาร HTML จะมีอยูสองสวน สวนแรกเรียกวาสวนหัว (head) และสวนที่สอง เรียกวา สวนตัว (body) และทั้งสองสวนจะตองอยูภายใตชุดคําสั่ง <HTML>....</HTML> เสมอ รูปแบบเอกสาร HTML ที่สมบูรณ ควรจะมีชุดคําสั่งมาตรฐานกํากับอยางนอยที่สุด ดังนี้ <Html> <Head> <Title>หัวขอเรื่อง</Title> </Head> <Body> เนื้อความที่ตองการสื่อสาร </Body> </Html> หลักการเขียนภาษา HTML แบบงายๆ 1. จัดใหคําสั่งเปดและปดในแตละชุดคําสั่งอยูใน column ตรงกัน 2. ขอความที่ไมยาวมาก ถามีคําสั่งเปดและปด ใหเขียนในบรรทัดเดียวกัน 3. คําสั่งที่มีตัวเปดและปด ใหเขียนตัวเปด/ปดใหเรียบรอยกอนที่จะเขียนขอความลงไป เชน ตองการเขียน "HTML editor สําหรับภาษาไทย" ก็ควรเริ่มดวย <H2></H2> <H2><B></B></H2> <H2><B>HTML editor สําหรับภาษาไทย</B></H2> วิธีการนี้จะชวยใหลดความผิดพลาดลงไดมาก 4. ขอความที่อยูในคําสั่งเปดและปด ใหพิมพเยื้องไปทางขวา 5. คําสั่งใดที่อยูในคําสั่งเปดและปดของคําสั่งอื่น ใหพิมพเยื้องไปทางขวามากกวาเดิมอีกเล็กนอย
  • 3. คําสั่งตาง ๆ ในภาษา html 1. การกําหนดขอความลงใน Title bar <title> ขอความที่ตองการใหปรากฏลงบน Title Bar </title> 2. การกําหนดขนาดของหัวเรื่อง มีอยู 6 ระดับ คือ H1, H2, H3, H4, H5 และ H6 โดยจะเรียงจากขนาด ใหญไปหาเล็ก 3. การกําหนด background <body bgcolor="color"> การกําหนดสีของ background ทําไดโดยการเพิ่มคําสั่ง bgcolor ลงใน <body> color คือ ชื่อสีหรือcode สีที่จะใชกําหนดสีของ background ชื่อสีเชน black white blue green red ฯลฯ Code สี คือเลขฐาน16 คือ (0-9,A-F) 6 ตัวซึ่งแทนคาในสีตาง ๆ 2 ตัวแรกจะแทนคาสีแดง 2 ตัวกลางจะแทนสีเขียว สวน 2 ตัวหลังจะแทนสี น้ําเงิน 4. การใชภาพเปน Background <body background="URL"> 5. การใสขอความ (Font) <Font> ....... </Font>
  • 4. ขนาดตัวอักษร จะมีขนาด -1ถึง+7 โดยเลข -1 จะเล็กที่สุด และ +7 จะมีขนาดใหญที่สุด ดังตัวอยางขนาดตัวอักษร 1 - 7 size=1 จะมีขนาด 8 pixel size=2 จะมีขนาด 10 pixel size=3 จะมีขนาด 12 pixel size=4 จะมีขนาด 14 pixel size=5 จะมีขนาด 18 pixel size=6 จะมีขนาด 24 pixel size=7 จะมีขนาด 36 pixel หมายเหตุ..ขึ้นอยูกับรูปแบบตัวอักษรดวยครับ.ไมเกี่ยวของกับคําสั่ง Style 6. คําสั่งการจัดการเกี่ยวกับรูปภาพ เราจะใชคําสั่ง <Img src="ชื่อไฟล"> ซึ่งจะมีตัวชวยในการจัดรูปแบบเพิ่มเติม ดังนี้ ALIGN ใชกําหนดตําแหนงการจัดวางของรูปภาพรวมกับขอความ..  ALIGN=TOP วางสวนบนของรูปภาพไวที่ baseline ของบรรทัด  ALIGN=LEFT วางตําแหนงของรูปภาพ ไวที่ดานซายของเอกสาร  ALIGN=RIGHT วางตําแหนงของรูปภาพไวที่ดานขวาของเอกสาร  ALIGN=MIDDLE วางสวนกลางของรูปภาพไวที่ baseline ของบรรทัด  ALIGN=BOTTOM วางสวนลางของรูปภาพไวที่ baseline ของบรรทัด WIDTH จะใชในการกําหนดความกวางของรูปภาพ HEIGHT ใชในการกําหนดความสูงของรูปภาพ BORDER ใชกําหนดการแสดงเสนขอบรูป VSPACE ใชกําหนดระยะหางทางดานบน, ลาง HSPACE ใชกําหนดระยะหางทางดานซาย, ขวา