SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 16
Downloaden Sie, um offline zu lesen
File : gnr2.doc page : 1
สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262
GNR : episode II
"เทคโนโลยีจีเอ็นอาร" ภัยแฝงเรน
สุรพล ศรีบุญทรง
ในนิตยสารไอทีซอฟทฉบับเดือนมิถุนายนที่ผานมา ผูเขียนไดนําเสนอบทความ GNR : Episode 1
"2001 นับถอยหลังสูการสูญพันธุของมนุษย" 1
โดยกลาวอางถึงแนวความคิดของ บิลล จอย อัจฉริยะคนหนึ่งของ
วงการคอมพิวเตอร ที่ระบุวา เทคโนโลยีใหมลาสุด 3 ประเภท (GNR) อันไดแก
พันธุวิศวกรรม (G: Genetic Engineering) จุณเทคโนโลยี (N:
Nanotechnology) และ หุนยนตศาสตร (R: Robotics) นั้นอาจจะทําใหมวล
มนุษยชาติตองสูญสิ้นเผาพันธุลงไปไดหากมิไดมีการวางแผนควบคุมการพัฒนา
ไวใหดี โดยความกังวลใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีของบิลล จอย นี้ไดถูกบันทึกไวใน
บทความชื่อ "Why the future dosen't need us" ของนิตยสารไวรดฉบับ
เดือนเมษายนที่ผานมา 2
สิ่งที่ผูเขียนนําเอาเลาไวในไอทีซอฟทฉบับที่แลว สวนใหญจะมุงไปที่การปูพื้นใหทานผูอานรูจักกับ
ตัวตนของบิลล จอย และเหตุการณที่กระตุนใหเขาเกิดความวิตกกังวลเกี่ยวกับผลกระทบดานลบที่อาจจะติดตามมากับ
เทคโนโลยีสมัยใหม โดยเนนไปที่พัฒนาการดานคอมพิวเตอร และหุนยนตเปนหลัก ทั้งนี้ ตองเขาใจวาพื้นฐานความรู
ดั้งเดิมของบิลล จอย ที่คลุกคลีอยูกับงานคอมพิวเตอรมาแทบจะตลอดชีวิตนั้นยอมจะทําใหเขามองทะลุเทคโนโลยี
ประเภทนี้ไดมากกวาสาขาอื่น อยางไรก็ตาม นั่นก็ไมไดหมายความวาเขาจะออนดอยไปในภูมิความรูดานพันธุ
วิศวกรรม และจุณเทคโนโลยี เพราะเทคโนโลยีจีเอ็นอารทั้งสามอยางนี้สามารถสอดประสานกันไดอยางลงตัวพอดี เชน
เมื่อพัฒนาการของเทคโนโลยีไอซีตามทฤษฎีของมัวรเริ่มประสบกับทางตัน เพราะไมสามารถจะลดระยะหางระหวาง
ทรานซิสเตอรลงไปกวาเดิมไดอีก (ขณะนี้อยูที่ประมาณ 0.18 ไมครอน) ก็พอดีกับเทคโนโลยีเรื่องจุณเทคโนโลยีเขามา
เปนทางออกใหกับปญหาดังกลาวไดอยางพอดิบพอดี
ความนากลัว
ของเทคโนโลยีแหงศตวรรษที่
21 อยางจีเอ็นอารนั้น อยู
ตรงที่มันเปนสิ่งที่เกิดขึ้นจาก
ความรูลวนๆ (Knowledge-
based) อาศัยทรัพยากรและ
แรงงานมนุษยเขามาเกี่ยวของ
นอยมาก จึงเปนสิ่งที่หองแล็
บดีๆ ที่ไหนในโลกก็สามารถ
จะพัฒนาขึ้นไดเอง (ไม
เหมือนกับมหันตภัยยุค
ศตวรรษ 20 อยางนิวเคลียร
อาวุธเคมี และอาวุธขีวภาพ
File : gnr2.doc page : 2
สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262
ซึ่งมีแตหนวยงานขนาดใหญของรัฐเทานั้นที่จะมีสิทธิครอบครอง) และเมื่อกระบวนการผลิตของเทคโนโลยีจีเอ็นอารได
ถูกดําเนินการไป ผลผลิตที่ไดก็ยังมีความสามารถในการผลิตเพิ่มไดดวยตัวของมันเอง (Self-reproduction) ฉนั้น
หากมนุษยยังคงติดนิสัยการพัฒนาเพื่อนําไปสูปญหาใหมๆ (technofix) เชนที่เกิดอยูทุกเมื่อเชื่อวันเชนนี้แลวละก็
ความกังวลของของบิลล จอย ก็คงมีโอกาสปรากฏเปนจริงขึ้นมาไดในเร็วนี้ !!!!
(คําวา Technofix นี้แปลเปนไทยแบบงายๆ นาจะเทียบไดกับคําวา "การแกปญหาแบบนักเทคโน"
ซึ่งเปนคําที่ใชพูดประชดประชันประดานักเทคโนโลยีทั้งหลาย 3
ในทํานองวา พวกนี้ถนัดที่จะนําเอาเทคโนโลยี
สมัยใหมมาแกปญหาเพียงเพื่อจะใหเกิดปญหาใหมที่หนักหนาสาหัสกวาเดิมขึ้นมาแทน เพราะนักเทคโนสวนใหญ
มักจะมีความรูลึกซึ้งเฉพาะดาน (พูดใหชัดคือ รูลึกแตแคบ) จึงมองปญหาไดไมครอบคลุม มุงแตจะแกปญหาเฉพาะ
หนาที่เผชิญอยูโดยไมคํานึงถึงผลกระทบดานอื่นๆ (หรือคํานึงถึงบางก็ไมเขาใจ เพราะความรูที่คับแคบของตนเองไม
เอื้อใหเขาใจ)
เชน ถาเดินสายไฟ สายโทรศัพทไปเจอตนไมใหญอายุหลายรอยป พวกนักเทคโนก็พรอมจะตัดตนไม
ที่ขวางทางทิ้งเพื่อประหยัดตนทุนในการเดินสายมากที่สุด โดยไมไดสนใจถึงผลกระทบอื่นๆ ที่จะติดตามมาไมวาจะ
เปนคุณคาของตนไมใหญในเชิงนิเวศวิทยา เชิงสังคม หรือเชิงวัฒนธรรม และหากมองใหไกลออกไปจากตัวอยางที่
ยกขึ้นมา เราก็จะเห็นวิธีการแกปญหาแบบนักเทคโนนี้อยูกลาดเกลื่อนทั่วเมืองไทย ไมวาจะเปนปญหาการสราง
โรงไฟฟา การสรางแหลงอุตสาหกรรม การสรางเขื่อน หรือการสรางถนน ฯลฯ)
ทัศนะใหมของนักคอมพิวเตอร
การไดมีโอกาส
เกี่ยวของกับการออกแบบ
โครงสรางทางสถาปตยของไมโคร
โพรเซสรุนสําคัญๆ ของโลกมาโดย
ตลอด ไมวาจะเปน SPARC ,
picoJarva หรือ MAJC ทําใหบิลล
จอย มีความเชื่อถือศรัทธาตอกฏ
ของมัวรอยูคอนขางมาก เขายืนยันวาชวงหลายสิบที่ผานมานี้ อัตราการพัฒนาประสิทธิภาพของชิปไมโครโพรเซสเซอร
นั้นจะเปนไปในลักษณะกาวกระโดด (เอ็กซโปเนนเชี่ยล) ตรงตามการคาดการณของมัวรเสมอ จนกระทั่งเมื่อเร็วๆ นี้
เองที่กฏของมัวรเริ่มจะถูกตั้งขอสงสัยวาจะไมเปนความจริงอีกตอไป
เพราะเมื่อเราพัฒนาไมโครชิปขึ้นเรื่อยๆ ไดสักระยะ มันก็จะตองเผชิญกับขอจํากัดทางกายภาพบน
ตัวไมโครชิปซึ่งทําใหไมสามารถเพิ่มประสิทธิภาพของตัวชิปขึ้นไปไดอีก ยกตัวอยางเชน การเพิ่มประสิทธิภาพของไอซี
ดวยการเพิ่มจํานวนทรานซิสเตอร พรอมกับลดขนาดของชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสบนตัวชิปไอซีลงไปเรื่อยๆ นั้น สุดทายก็
ภายในเวลาไมเกิน 10 ป (ค.ศ. 2010) วงการอุตสาหกรรมไอซีก็จะตองเผขิญกับภาวะที่ไมสามารถลดขนาด
สายสัญญาณลงไปไดอีก เพราะถาลดขนาดสายสัญญาณใหเล็กลงไปถึงระดับหนึ่งความตานทานของสายสัญญาณก็จะ
สูงเกินกวาจะคงความถูกตองของตัวสัญญาณไวได
File : gnr2.doc page : 3
สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262
อยางไรก็ตาม ความกังวลของบรรดาวิศวกรไอซีทั้งหลายไดเริ่มคลี่คลายลงไป เมื่อวงการ
วิทยาศาสตรของโลกไดเริ่มรูจักกับเทคโนโลยีชนิดใหมที่เรียกวา "จุณเทคโนโลยี (Nanotechnology) " เพราะแนวคิด
หลักของจุณเทคโนโลยีนั้นคือการนําเอาอะตอมหรือโมเลกุลของสสารมาจัดวางเรียงกันใหเกิดเปนวัสดุสิ่งของหรือ
แมกระทั่งสิ่งมีชีวิตตามที่ผูผลิตตองการโดยมิตองกังวลกับผลผลิตเหลือใช หรือของเสียจากกระบวนการผลิตเลย เทียบ
ไดกับกระบวนการผลิตของคอมพิวเตอร ซึ่งถาเจาะลึกลงไปในผลผลิตทุกอยาง ไมวาจะเปนขอความ ภาพ เสียง หรือ
วิดีโอ ทุกอยางลวนมีที่มาจาก
สัญญาณบิท 0 และ 1 เทานั้น
ฉนั้น หาก
ผูผลิตไอซีสามารถนําอะตอม
ของสสารมาจัดเรียงกันเพื่อ
สรางชิปไอซีแตละตัวไดจริง
(หลายคนเรียกเทคโนโลยีไอซี
ลักษณะนี้วาเปน
"อิเล็กทรอนิกสระดับ
โมเลกุล" หรือ "Molecular
electronic") อุตสาหกรรม
ไอซีก็จะหมดกังวลกับปญหาขอจํากัดทางกายภาพของตัวไอซีไปไดอีกไมนอยกวา 30 ป นั่นคือ อัตราการพัฒนา
ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอรและชิปไอซีก็จะดําเนินไปตามกฏของมัวรตอไปอีกจนถึงป ค.ศ. 2030 เปนอยางนอย
หรือถาเทียบเปนประสิทธิภาพความฉลาดของเครื่องคอมพิวเตอรที่มากขึ้น ก็อาจจะประมาณวาเครื่องคอมพิวเตอรใน
ป ค.ศ. 2030 ฉลาดกวาที่เปนอยูในขณะนี้สักหนึ่งลานเทาตัว และนั่นก็จะทําใหยอนนกลับไปสูประเด็นที่อัจฉริยะโรค
จิต "เธ็ด คาซินสกี้" เคยคาดการณไววามนุษยที่ออนแออาจจะถูกแทนที่ดวยหุนยนตที่ชาญฉลาด เพราะไมสามารถเอา
ตัวรอดจากกฎเกณฑของวิวัฒนาการที่วา "มีแตผูที่แข็งแรงหรือฉลาดกวาเทานั้น จึงจะอยูรอดได"
ผลจากการลองประมาณการณคราวๆ พบวาหุนยนตและอุปกรณคอมพิวเตอรในยุคสมัยสามสิบป
ขางหนาจะมีความฉลาดขึ้นกวาเดิมถึงลานเทา ทําใหบิลล จอย ตองหวนกลับมาทบทวนผลงานในอดีตของตนอีกครั้ง
เขายอมรับวาที่ผานๆ มานั้น แมวาเขาจะมีผลงานคอมพิวเตอรที่สังคมยอมรับออกมามากมาย ทั้งที่อยูในรูป
ซอฟทแวรและฮารดแวร (รวมกอตั้งบริษัทซัน ไมโครซิสเต็มส, เขียนโปรแกรมบนยูนิกส ออกแบบโปรแกรมจาวา และ
จินิ ฯลฯ) แตเขาไมเคยมีความคิดในหัวสมองเลยวาเขากําลังประดิษฐเครื่องจักรที่มีความฉลาด (Inteligence) อยู
ในตัว สําหรับเขาแลว ประดิษฐกรรมเหลานั้นลวนเปราะบาง และไมมีอะไรที่อาจจะเรียกวาเปนความฉลาดไดเลย สิ่ง
ที่ฮารดแวรหรือซอฟทแวรเหลานั้นทําได ลวนแลวแตเปนสิ่งที่มนุษยโปปรแกรมใหมันทําเทานั้น ไมใชสิ่งที่พวกมันจะ
รูจักคิดรูจักสรางไดเองเลย
ดวยพื้นฐานความคิดวา คอมพิวเตอรและหุนยนตนั้นถูกสรางขึ้นมาเพื่อชวยอํานวยความสะดวกใหกับ
มนุษย ไมใชถูกสรางมาเพื่อใหคิด หรือมีความฉลาด ทําใหในอดีตนั้น บิลล จอย มีความสุขกับการสรางสรรผลงาน
ตางๆ นานาออกมา แตปจจุบัน เมื่อเขาเริ่มตระหนักวาพัฒนาการดานคอมพิวเตอร (ซึ่งบางสวนเปนผลงานของเขา
เอง) อาจจะนําไปสูจุดจบของมนุษยได ก็ทําใหเขาออกจะไมสบายใจเปนอยางมาก และเริ่มจะไมแนใจในคุณคาของ
File : gnr2.doc page : 4
สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262
ผลงานของตน เขาเริ่มสงสัยวามนุษยเราอาจจะตีคาความฉลาดของตัวเองไวสูงเกินไปหรือไม (Overestimate) และ
อาจจะเปนการดีกวาหากเราจะตริตรองอยางรอบคอบกอนที่จะเริ่มคิดคนวิจัยอะไรตอไป ??
"จุณเทคโนโลยี" ความฝนที่เปนจริง
บิลล จอย เลาวาตัวเขานั้นไดเริ่มรูจักและประทับใจในความสําคัญของจุณเทคโนโลยีเปนครั้งแรก
เมื่อไดฟงปาฐกถาครั้งสําคัญเกี่ยวกับแนวคิดเรื่องจุณเทคโนโลยีของนักฟสิกสระดับรางวัลโนเบล "ริชารด เฟยนแมน"
ในป ค.ศ. 1958 กอนที่เฟยนแมนจะตีพิมพเรื่องราวดังกลาวออกมาเปนหนังสือชื่อ "There's Plenty of Room at
the Bottom" ในระยะเวลาตอมา แตบุคคลสําคัญที่มีสวนในการผลักดันใหวงการวิทยาศาสตรทั้งโลกหันมาให
ความสําคัญกับจุณเทคโนโลยีเปนอยางมากเห็นจะไมมีใครเกิน อีริค เด็กซเลอร ซึ่งบรรยายไวอยางชวนฝนหวานวาจุณ
เทคโนโลยีจะนํามาซึ่งโลกแหงพระศรีอาริยไดอยางไรบางภายในหนังสือชื่อ
"Engine of Creation" 4
ตอจากนั้น อีริค เด็กซเลอร ยังไดเขียนหนังสือออกมาอีกเลม
ชื่อวา "Unbounding the Future : The nanotechnology Revolution" 5
โดยไดบรรยายอนาคตที่สวยหรูของจุณเทคโนโลยีไวอยางนาสนใจ รวมทั้งมีการ
บัญญัติศัพทแสงใหมๆ ไวเพื่อใชบรรยายถึงการทํางานของจุณเทคโนโลยีไวอยาง
มากมาย ยกตัวอยางเชนคําวา NanoGears หรือ Assemblers ที่หมายถึง
เครื่องจักรขนาดเล็กเพียงไมกี่โมเลกุล (บางทีก็มีคนเรียกวาเปนหุนยนตขนาดจิ๋ว)
ที่ถูกออกแบบมาใหทําหนาที่จัดเรียงอะตอมของสสารเพื่อใหไดมาซึ่งวัสดุหรือ
ชิ้นงานที่ไดรับการออกแบบไว และคําวา NanoComputer ที่หมายถึงคอมพิวเตอรที่ถูกสรางขึ้นจากสารเพียงไมกี่
โมเลกุล
อีริค เด็กซเลอร ไดจินตนาการถึงประโยชนของ
เครื่องจักรกลขนาดเล็กเพียงไมกี่โมเลกุลของเขาไววาจะนํามาซึ่งการ
เปลี่ยนแปลงขนานใหญบนโลก เพราะเราอาจจะใชจุณเทคโนโลยี
ในการสรางเซลลพลังงานแสงอาทิตยที่มีประสิทธิภาพสูงแตมีราคา
ถูกมาก อาจจะใชจุณเทคโนโลยีในการรักษาโรคตั้งแตโรคงายๆ
สามัญอยางไขหวัดไปจนกระทั่งมะเร็งรายดวยการกระตุนที่ระบบ
ภูมิตานทานของรางกายโดยตรง อาจจะใชจุณเทคโนโลยีผลิต
เครื่องจักรขนาดเล็ก (Ecosystem Protector) ออกไปกําจัดมลพิษชนิดตางๆ ในบรรยากาศเพื่อใหไดธรรมชาติอัน
บริสุทธิ์กลับคืนมา อาจจะใชจุณเทคโนโลยีผลิตเครื่องซูเปอรคอมพิวเตอรที่มีขนาดเล็กแคฝามือ อาจจะทําใหยานทอง
อวกาศมีราคาถูกจนใครๆ ก็หาซื้อไวขับเลนไปมาได จนแมกระทั่งอาจจะนําเอาจุณเทคโนโลยีเขาไปประยุกตรวมกับ
พันธุวิศวกรรมเพื่อจัดสรางสิ่งมีชีวิตที่ไดสูญพันธไปแลวกลับคืนมาสูโลกอีกครั้ง ฯลฯ
(หมายเหตุ จินตนาการที่ลนเหลือเหลานี้มีกลาวไวในหนังสือ "Unbounding the Future : The
nanotechnology Revolution" และ "Engines of Creation" หากทานผูอานสนใจก็อาจจะโหลดมาอานไดฟรีๆ
ทางเว็บไซท http://www.foresight.org/UTF/UnboundLBW/ และเว็บไซท http://www.foresight.org/EOC/)
File : gnr2.doc page : 5
สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262
จินตนาการชวนฝนของ อีริค เด็กซเลอร นั้นไดสงผลใหมีนักวิทยาศาสตรหลายคนทยอยเขียน
เรื่องราวเกี่ยวกับจุณเทคโนโลยีติดตามมาอีกเปนจํานวนมาก รวมทั้งไดมีการจัดประชุมสัมนาวิชาการวาดวยเรื่องจุณ
เทคโนโลยีกันเปนประจําทุกป ซึ่งตัวบิลล จอย เองก็เห็นวาการมีเทคโนโลยีใหมๆ เพื่อรองรับการพัฒนาในอนาคตนั้น
เปนสิ่งที่ดี เพียงแตบางอยางนั้นอาจจะดูเหลือเชื่อเกินไปหนอย ตัวเขาเองเคยลองจินตนาการตามอีริค เด็กซเลอร ไป
เลนๆ วาถาเกิดแนวความคิดของจุณเทคโนโลยีเกิดเปนจริงขึ้นมาได บางทีเขาอาจจะลองตั้งโจทยเปนการบานสําหรับ
ตัวเองใหใชจุณเทคโนโลยีผลิตผีดิบแวมไพรขึ้นมาสักตัวหนึ่ง แตอาจจะใหคะแนนพิเศษสําหรับการพัฒนายาแกพิษผี
ดูดเลือดเผื่อไวดวย
กระแสความสนใจเรื่องจุณเทคโนโลยีนั้นถูกบูมขึ้น จนกระทั่งตัว
บิลล จอย เองยังเคยถูกเชิญไปเปนองคปาฐกในที่ประชุม Nanotechnology
Conference กับเขาดวย ในการประชุมครั้งแรกเมื่อเดือนตุลาคม ป ค.ศ. 1989
ในการปาฐกถาครั้งนั้นเขาไดเอยปากเตือนบรรดาผูฟงไฟแรงไววา "พวกเรา
(นักวิทยาศาสตร) ไมควรจะคิดแคการประดิษฐคิดคนผลงานใหมๆแตเพียงอยาง
เดียว แตจะตองตระหนักในประเด็นเรื่องจริยธรรมและความถูกตองที่ตัวผลงาน
จะนํามาดวย" 6
หลังจากการเขารวมการประชุมใหญจุณเทคโนโลยีครั้งนั้นเขาได
สนทนาแลกเปลี่ยนความเห็นกับนักฟสิกสชั้นนําหลายคน ซึ่งตางเห็นพองตองกันวา
แนวความคิดเรื่องจุณเทคโนโลยีนั้นนาจะไมเวิรก หรือถาเวิรกก็ตองอีกนานหลาย
ป ทําใหตัวเขาแทบจะลืมเรื่องจุณเทคโนโลยีไปเสียสนิท เพราะตองยายที่ทํางาน
ไปอยูรัฐโคโลราโดเพื่อทุมเทใหกับการพัฒนาซอฟทแวรบนอินเทอรเน็ต (ซึ่งก็คือโปรแกรม Java และ Jini นั่นเอง)
บิลล จอย ตองหันกลับมาใหความสนใจกับจุณเทคโนโลยีใหมในกลางปที่แลว เมื่อไดรับทราบจาก
บรอส ฮาสลาเชอร วาปจจุบันนี้วงการจุณเทคโนโลยีสามารถผลิตอุปกรณอิเล็กทรอนิกสระดับโมเลกุล (Moecular
electronics) ไดแลว และสงผลใหเขาตองรีบกลับไปรื้อหนังสือ "Engines of Creation" ของอีริค เด็กซเลอรมาอาน
ทวนอีกครั้งหลังจากปลอยทิ้งไปเกือบ 10 ป โดยเฉพาะในบทที่วาดวย "อันตรายและความหวัง (Dangers & Hopes)"
ซึ่งเขาจดจําไดเพียงนอยนิด คลับคลายคลับคลาวาเคยมีการกลาวเตือนถึงกรณีที่ "เครื่องจักรแหงการสรางสรร
(Engines of Creation)" จะกลับกลายมาเปน "เครื่องจักรแหงการทําลาย "Engines of Destruction)" ไวบาง
เหมือนกัน
อยางไรก็ดี เมื่อ บิลล จอย นําหนังสือ "The Engines of Creation" กลับมาอานทวนอีกครั้ง เขา
กลับพบวามีการคาดการณถึงภยันตรายของจุณเทคโนโลยีไวนอยมาก โดยเด็กซเลอร ไดเคยบรรยายไววาผลจากการ
นําจุณเทคโนโลยีมาใชนั้นมาจะนํามาซึ่งเหตุการณที่ :-
"ตนไมมีใบตามธรรมชาติไมสามารถแขงขันกับเซลลพลังงานแสงอาทิตยที่มนุษยสรางขึ้น ทําใหโลก
ของเราตองถูกปกคลุมไปดวยบรรดาตนไมเทียมอันมีใบที่กินไมได แบคทีเรียที่ยอยสลายสสารไดทุกประเภทอาจจะ
คุกคามใหแบคทีเรียตามธรรมชาติตองลดนอยถอยจํานวนลงไป ในที่สุด เจาพวกแบคทีเรียสังเคราะหพวกนี้ก็อาจจะ
แพรขยายออกไปดั่งไฟลามทุง และสงผลใหชั้นบรรยากาศที่เอื้อตอการดํารงชีพของสิ่งมีชีวิตบนโลก (Biosphere) ถูก
ยอยสลายลงเปนผุยผงไดภายในชวงเวลาไมกี่วัน บรรดาตัวอันตรายขนาดจิ๋วที่เพิ่มจํานวนไดเอง (Dangerous
replicators) อาจจะเพิ่มจํานวน และความรายกาจขึ้นไดอยางนาใจหาย (โดยเฉพาะเมื่อเราไมไดเตรียมการณรองรับ
File : gnr2.doc page : 6
สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262
ปญหาไวกอน) อันจะนํามาซึ่งปญหาสารพันเชนเดียวกับที่เราเคยตองประสบกันมากอนในความพยายามควบคุมไวรัส
กอโรค และแมลงศัตรูพืช
สําหรับบรรดาผูเชี่ยวชาญดานจุณเทคโนโลยีแลว เรามักจะเรียกปญหาทํานองนี้รวมๆ กันไปวาเปน
"gray goo problem" ซึ่งมิไดหมายความวาตัวปญหาที่วานี้จะตองมีลักษณะอันไมนาพิศมัย (gray) หรือเหยอะๆ
(gooey) อยางชื่อของมัน แตหมายความวาบรรดาพวกกอปญหาที่เพิ่มจํานวนไดเอง (Uncontrolled replicator)
เหลานี้ควรจะถูกกําจัดออกไป เนื่องจากตัวของมันนั้นมีคุณคานอยมาก จนไมอาจแมแตจะเทียบกับตนหญาวัชชพืชใน
สวน จริงอยู พวกมันอาจจะเหนือกวาสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ในเชิงวิวัฒนาการ แตนั่นก็มิไดหมายความวาจะทําใหมันมีคุณคา
สูงตามไปดวย
ปญหาเรื่อง Gray goo problem นั้นมีสวนดีตรงที่มันชวยใหเราไดตระหนักวา ไมควรจะปลอยใหมี
อุบัติเหตุอันจะนําไปสูการเพิ่มปริมาณของตัวปญหาเหลานี้เกิดขึ้น"
กลาวโดยรวมๆ แลว ปญหาที่มีการพูดถึงในหนังสือของอีริค เด็กซเลอร สวนใหญดูจะเนนไปในเรื่อง
ปญหาในเชิงเทคนิคและเชิงกฏหมายที่อาจจะมีติดตามมามากกวา ซึ่งก็เปนเหตุผลสําคัญใหเด็กซเลอรไดกอตั้ง
สถาบันฟอรไซทขึ้นมาเพื่อใหคําปรึกษา และเตรียมพรอมกับปญหาเชิงเทคนิค และเชิงกฏหมายที่จะติดตามมากับจุณ
เทคโนโลยี โดยเฉพาะปญหาในสวนของจุณอิเล็กทรอนิกส (Nano Electronics) ซึ่งถือวาเปนสาขาสําคัญของจุณ
เทคโนโลยี (เพราะมันอาจจะสรางผลกําไรจากการลงทุนไดอยางมหาศาล จึงนาจะเปนสาขาที่มีอัตราการเติบโตสูง
ที่สุดในบรรดาจินตนาการทั้งหลายทั้งปวงที่
เด็กซเลอรไดเคยพรรณาไว)
โลกควรจะมีแตพืชเพื่อการบริโภค ?
ถัดจากเรื่องชวนวิตกกังวล
เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร หุนยนต และนาโน
เทคโนโลยี บิลล จอย ก็หันมาตั้งขอสังเกตุ
เกี่ยวกับภัยแฝงเรนเรื่องพันธุวิศวกรรมตอ
โดยเฉพาะเรื่องพืชพรรณธัญญาหารดัดแปลง
สารพันธุกรรม (GMOs) ที่ไดจากเทคโนโลยีการผลิตสมัยใหม เขามีความเห็นวาเราควรจะไดทําความเขาใจเกี่ยวกับ
ผลกระทบที่เกิดจากพัฒนาการดานพฤกษศาสตรกันใหถองแทเสียกอน และไดยกเอางานเขียนชื่อ "A Tale of Two
Botanies" ของอมอรี และ ฮันเตอร ลาแวง 7
มาประกอบการอธิบายถึงผลกระทบดานลบที่อาจจะเกิดขึ้นจาก
เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรม
สิ่งที่ไดรับการเนนย้ําอยูเสมอในบทความของลาแวง คือ ความคิดที่วา โลกเราที่เปนอยูทุกวันนี้
ไดรับการหลอหลอมมาอยางคอยเปนคอยไป การที่จะมีหรือไมมีสิ่งมีชีวิตชนิดใดลวนเปนผลมาจากการคัดเลือก และ
ทดสอบอยางพิถีพิถันจากธรรมชาติ มนุษยจึงไมควรจะใชความรูที่มีแตความฉลาด (อาจไมมีความเฉลียว) เขาไป
ดัดแปลงแกไขมันตามอําเภอใจ อีกอยาง เราตองไมลืมวาสิ่งมีชีวิตที่เรียกวาพืชนี้มีปรากฏบนพื้นโลกมากอนการ
กําเนิดของมนุษยนับเปนลานๆ ป ดังที่นักวิทยาศาสตรหลายๆ สํานักไดประมาณการกันวามีพืชพรรณบนพื้นพิภพมา
นานราวๆ พันแปดรอยลานปแลว
File : gnr2.doc page : 7
สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262
โดยบรรดาพืชพรรณที่มีอยูบนผืนโลกนี้ลวนคอยๆ วิวัฒนาการ และคอยๆ ปรับตัวตนของมันให
สอดคลองกับกฏเกณฑตามธรรมชาติที่วา "ผูแข็งแรงที่สุด มีความสามารถในการปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมไดดี
ที่สุดเทานั้น จึงจะอยูรอดได" จนทายที่สุด รูปลักษณของพืชพรรณตางๆ ที่เราเห็นกันอยูในทุกวันนี้ตางลวนเปนผลมา
จากความสามารถในการปรับตัวดังกลาวดวยกันทั้งสิ้น นั่นคือ จะตองมีความทนทรหดพอสมควร ไมงั้นคงไมสามารถ
รอดพนจากวิกฤตการณสารพัดมาได ไมวาจะเปน ภาวะน้ําทวมโลก การพุงชนของอุกกาบาต แผนดินไหว ภูเขาไฟ
ระเบิด การเพิ่มขึ้นหรือลดลงอยางผิดปรกติของสัตวกินพืช และสัตวที่พืชจะใชเปนพาหะในการสืบพันธุ ฯลฯ
อยางไรก็ตาม แมวาพืชจะสามารถเอาตัวรอดจากวิกฤตใหญๆ ของโลกมาไดโดยตลอด แตมันกลับไม
สามารถปรับตัวใหอยูรอดจากการคุกคามของสิ่งมีชีวิตที่เรียกวามนุษยได ทั้งๆ ที่ เมื่อสืบยอนประวัติความสัมพันธุ
ระหวางมนุษยกับพืชลึกลงไปในอดีต ไลยอนไปเรื่อยจากศาสตรที่เรียกกันวาพันธุวิศวกรรม เทคโนโลยีเกษตรสมัยใหม
เทคโนโลยีชีวภาพ ทฤษฏีพันธุกรรมของบาทหลวงแมนเดล ทฤษฏีวิวัฒนาการของดารวินและลามารค การศึกษาวิชา
พฤกษศาสตรเพื่อแจกแจงคุณลักษณะของพืชพรรณตางๆ จนไปสุดที่การกสิกรรม อันเปนจุดตั้งตนของการเปลี่ยน
พฤติกรรมของมนุษยจากการอยูในถ้ําและไลลาหา
เนื้อสัตวมาบริโภค กลายเปนการทําไรไถนาและปลูก
เรือนอยู นับไปนับมาก็เพิ่งไดระยะเวลาราวๆ หนึ่งหมื่นป
เทานั้นเอง
ผลพวงที่เกิดขึ้นจากพัฒนาการดาน
การเกษตรของมนุษยแคหนึ่งหมื่นปที่วานี้ กลับสรางการ
เปลี่ยนแปลงใหกับพืชพรรณบนโลกที่ผานวิวัฒนาการมา
นานานับลานปไดอยางมหาศาล พรรณพืชจํานวนมากมายตองสูญพันธุลงไปเพราะการคุกคามของสังคมมนุษยทั้งโดย
เจตนา และความสัพเพรา มนุษยไดเขาไปบงการและกําหนดคุณคาของพรรณพืชเสียใหมตามแตรสนิยมและความ
ตองการบริโภคของตนเอง โดยแทบไมเคยไดใสใจเลยวาธรรมชาติมีเหตุผลเชนไรในการกําหนดใหพืชชนิดหนึ่งมีมาก
ชนิดหนึ่งมีนอย หรือพืชแตละชนิดควรจะปรากฏอยูบนตําแหนงใดของพื้นผิวโลก ฯลฯ กวาที่มนุษยจะเริ่มตระหนักถึง
ความสําคัญของระบบนิเวศนวิทยา และความหลากหลายทางชีวภาพก็ออกจะเริ่มจะสายไปเสียแลว
"อัตตา" ในการพัฒนาทางชีวภาพ
แนวความคิดเดิมๆ ที่มนุษยใชเปนจุดเริ่มตนในการศึกษาพฤกษศาสตรนั้นดูจะมุงเนนไปที่การพัฒนา
พันธุพืชที่ใหผลตอบแทนทางเศรษฐกิจมากกวาจะเปนไปเพื่อการศึกษาหาความรูจากมัน ซึ่งเมื่อใชหลักเกณฑเรื่อง
ความคุมคาในเชิงเศรษฐกิจมาจับเสียเชนนี้แลว การพัฒนาเทคโนโลยีตางๆ ก็จึงเปนไปเพื่อการตอบสนองวัตถุประสงค
ดังกลาวเสียหมด เวลาคัดเลือกพันธุพืชก็ไมไดมองวามันเหมาะสม (fittess) กับธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมากแคไหน
แตจะมองเพียงวามันใหผลผลิตที่อุดมสมบูรณ (fattess) พอจะทํากําไรไดมากนอยขนาดไหน และเมื่อความคิดที่
มองเห็นแตเงินตราและวัตถุเปนเปาหมายของการพัฒนาหนักขอขึ้น เทคโนโลยีการเกษตรก็เลยขามจากจุดที่ตองการ
พืชซึ่งใหผลผลิตมากพอเลี้ยงประชากรทั้งโลก ไปถึงขั้นที่จะพัฒนาพืชซึ่งสามารถจดสิทธิบัตร และปองกันการละเมิด
ลิขสิทธิ์ได (Patentable)
File : gnr2.doc page : 8
สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262
จนทายที่สุด ก็ยากจะคาดการณไดวาความเห็นแกไดและความฉลาดแกมโกงของมนุษยจะนําพา
อนาคตของพืชพรรณตางๆ ไปยังจุดใดกันแน จะเหลือพืชแคไมกี่สายพันธุเทาที่ความรูอันนอยนิดของมนุษยจะเชื่อวา
มันเหมาะกับการบริโภค หรือจะเหลือแคพันธุพืชที่องคกรธุรกิจขนาดใหญสามารถครอบครองลิขสิทธิในการผลิตเพื่อ
จําหนายไดเทานั้น (ตรงนี้มีขอสังเกตุวา มนุษยเรามักจะใหความสําคัญกับสัตวและสิ่งมีชีวิตที่เคลื่อนไหวได มากกวาพืช
ดังจะเห็นไดจากการที่ผูคนสวนใหญมักรูจักสัตวสารพัดสารเพ แต
กลับไมรูจักชื่อไมพรรณตางๆ ที่ตนเดินผานหรืออาศัยประโยชนอยู
ทุกวี่ทุกวัน)
ความหยิ่งทระนงในความรู ในเทคโนโลยีของ
มนุษย ทําใหมนุษยละเลยความจริงทางธรรมชาติไปอยางหนึ่งวา
สิ่งมีชีวิตทุกสายพันธุตามธรรมชาตินั้นตางลวนผานการเคี่ยวกรํา
และคัดสรรมาอยางตอเนื่องยาวนานนับพันๆ ป ไดรับการทดสอบ
ครั้งแลวครั้งเลา กวาจะเหลือปรากฏใหเห็นอยูในภาพลักษณเชนในปจจุบัน ตรงกันขามกับพืชพรรณที่ถูกตัดตอ
ดัดแปลงสายพันธภายในหองทดลอง ซึ่งมักจะใชเวลาทดสอบกันสั้นๆ เพียงไมกี่เดือน และก็ไมใชการทดสอบที่เปนไป
ตามสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ แตเปนสภาพแวดลอมที่ถูกกําหนดไวโดยมนุษย ฉนั้นจึงเปนเรื่องยากมากที่มนุษย
จะยืนยันวาผลผลิตพืชที่ไดจากตัดตอพันธุกรรม (GMOs) ของตนจะไมสรางผลกระทบใดๆ ใหกับสิ่งแวดลอมทาง
ธรรมชาติ และคงไมมีใครรับประกันไดวาการปลูกฝาย หรือถั่วเหลืองที่ผานการดัดแปลงสารพันธุกรรมนั้นจะไมนําไปสู
การสูญพันธุของสิ่งมีชีวิตบางอยางที่อาศัยประโยชนจากพืชสองประเภทที่วานี้
ความเชื่อมั่นที่ออกจะสูงเกินเหตุในเทคโนโลยีพันธุวิศวกรรมของบรรดานักวิทยาศาสตร ผนวกกับ
ความกระหายในความสําเร็จดานการเงินของนักอุตสาหกรรม ไดนําไปสูการประดิษฐสิ่งมีชีวิตชนิดใหมๆ ขึ้นมาเปน
จํานวนมากมายมหาศาลภายในชวงระยะเวลาแคไมกี่ป หลังจากคําวา โคลนนิ่ง และ จีเอ็มโอ ไดอุบัติขึ้นมาบนโลก
องคกร USDA ไดมีการอนุมัติใหมีการเผยแพรธัญญพืชตัดตอสารพันธุกรรมไปแลวไมต่ํากวา 50 ประเภท ในขณะที่ยัง
มีโครงการวิจัยเกี่ยวกับพืชตัดตอสารพันธุกรรมอีกกวา 4,500 โครงการของสหรัฐฯ อยูระหวางขั้นตอนการเตรียมจด
ทะเบียนสิทธิบัตร เพื่อนําออกเผยแพรสูสังคมเกษตรตอไป
การแขงขันกันพัฒนาสิ่งมีชีวิตชนิดฝนธรรมชาติตางๆ นานาออกมาของบรรดานักวิทยาศาสตรทั่วโลก
ทําใหเปนเรื่องนากังวลวาจะมีสิ่งมีชีวิตที่พิสดารและอาจจะสรางผลกระทบในเชิงลบกับสิ่งมีชีวิตตามธรรมชาติประเภท
อื่นๆ หลุดออกมาเพนพานบางหรือไม เพราะเมื่อนักวิจัยพากันเรงรัดกระบวนการทํางานของตนเพียงเพื่อจะไดชื่อวา
ทําไดกอนใครในโลก ก็อาจจะหลงละเลยประเด็นผิดพลาดเล็กๆ นอยๆ ที่เกิดขึ้น แตนั่นยังถือเปนการมองโลกในแงที่
ดีมาก เพราะตองไมลืมวาจิตใจมนุษยอันหยาบหนาและเต็มไปดวยกิเลสนั้นยากที่จะหยั่งได ดังจะเห็นไดจาก
ประวัติศาสตรซึ่งสอนเรามาโดยตลอดวา อัจฉริยะโรคจิตนั้นมีกําเนิดขึ้นมาทุกยุคทุกสมัย และมันคงเปน
โศกนาฏกรรมอันใหญหลวง หากมีอัจฉริยะโรคจิตเลือกใชวิธีเผยแพรเชื้อโรคตัดตอสารพันธุกรรมเพื่อทําลายลางชีวิต
ของเพื่อนมนุษยดวยกันเอง แทนที่จะเปนแคการกระจายไวรัสคอมพิวเตอร การวางระเบิดสถานที่สาธารณะ หรือการ
ปลอยแกสพิษในสถานีรถไฟใตดิน ฯลฯ อยางเราไดเคยหวาดผวากันมาแลวในอดีต
File : gnr2.doc page : 9
สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262
พันธุวิศวกรรม หรือ การตัดปะยีนส
ปจจุบันนี้ วากันวากวาครึ่งหนึ่งของถั่วเหลืองที่บริโภคกันอยูทั่วโลกเปนถั่วเหลืองที่ผานการตัดตอสาร
พันธุกรรม ในขณะที่สัดสวนของขาวโพดตัดตอสารพันธุกรรมอาจจะมีนอยกวาเล็กนอย คือมีอยูแคราวๆ 30 % ของ
ผลผลิตขาวโพดทั่วโลก จึงมีความเปนไปไดวาทานผูอานอาจจะไดเคยลิ้มรสอาหารแฟรงเกนสไตนเหลานี้กันไปบางแลว
โดยไมรูตัว เพราะพืชพรรณที่ถูกดัดแปลงสารพันธุกรรมเหลานี้มักจะมีความแตกตางกันเพียงเล็กนอย พอใหมีลิขสิทธิ์
ที่ไมซ้ําซอนกับของคนอื่นๆ ในขณะเดียวกันก็จะตองใหมีรูปลักษณไมตางไปจากสภาพของพืชพรรณธัญญาหารปรกติที่
ชาวบานชาวชองเขาคุนเคยกัน ซึ่งก็เปนเหตุผลใหรัฐบาลประเทศกลุมยุโรปออกมารณรงคใหมีการติดฉลากแจงเตือน
ใหผูบริโภคทราบวาผลิตภัณฑอาหารที่จําหนายอยูแต
ละชนิดนั้นมีสวนผสมที่ไดจากการตัดตอสาร
พันธุกรรมบางหรือไม (บางคนมองวา การกําหนดให
ติดฉลาก GMOs เปนอีกรูปแบบหนึ่งของการกีดกัน
ทางการคา)
เทคโนโลยีการผลิตพันธุพืชโดย
อาศัยการดัดแปลงสารพันธุกรรมไดกอใหเกิดการ
แตกแยกทางความคิดครั้งสําคัญในหมู
นักวิทยาศาสตร มีทั้งกลุมที่ตอตานและกลุม
สนับสนุน กลุมสนับสนุนพืชดัดแปลงสารพันธุกรรม
มักจะอางเหตุผลวามันชวยตอบสนองความตองการดานอาหารของโลกที่ยังคงมีประชากรนับเปนลานๆ คนตองอยูใน
สภาวะทุพโภชนาการ และยังมีผูคนในอีกหลายๆ ประเทศที่ตองอยูในสภาพแรนแคนขาดแคลนซึ่งอาหารจะบริโภค
การออกแบบพืชพรรณใหมีผลผลิตมากๆ และทนตอสภาพแวดลอม/หรือศัตรูพืชนาจะเขามาตอบสนองความตองการ
ของโลกไดเปนอยางดี
ในขณะที่กลุมตอตานก็มีเหตุผลที่นาสนใจไมนอยไปกวากัน โดยระบุวาสาเหตุของการขาดแคลน
อาหารในโลกนี้สวนใหญไมไดเปนผลมาจากการผลิตอาหารไดไมพอ แตมักจะเปนผลมาจากการกระจายทรัพยากรที่ไม
เหมาะสมมากกวา เพราะยังคงมีประชากรบางประเทศบริโภคอยางหรูหราฟุมเฟอย กินทิ้งกินขวาง ยกตัวอยางเชน
ประเทศสหรัฐอเมริกานั้นมีการบริโภคทรัพยากรไปมากถึง 20 % ของอัตราการบริโภคทั่วทั้งโลก อีกทั้งเปาหมายของ
การพัฒนาผลิตภัณฑจีเอ็มโอทั้งหลายนั้นดูจะมุงไปที่ความมั่งคั่งดานการเงินของผูผลิตมากกวาจะใหความสําคัญกับ
ปากทองของคนยากคนจน ดังจะสังเกตุไดจากการพยายามทําใหสินคาพืชพรรณจีเอ็มโอของตนมีสภาพที่ไมเหมาะจะ
นําไปผลิตซ้ํา เพื่อกันการละเมิดลิขสิทธิ และบังคับใหเกษตรกรตองซื้อหาพันธุพืชจากบริษัทเจาของลิขสิทธิ์แตเพียง
อยางเดียว
ที่ราย คือ กลุมนักวิจัยที่พัฒนาชีวิตกลายพันธุเหลานี้อาจจะสนุกสนานเพลิดเพลินกับจินตนาการ
ของตนจนคอนขางจะเกินเลยไปมากเมื่อเทียบกับการผสมขามพันธุ หรือการกลายพันธุทางธรรมชาติ มีการเที่ยวเอา
สารพันธุกรรมจากสัตวไปใสในพืช จากในพืชไปใสในแบคทีเรีย เพียงเพราะอยากจะไดสิ่งมีชีวิตพันธุใหมที่คุณสมบัติ
ตามความตองการของตนเทานั้น เชนเอายีนสทนอากาศหนาวของปลาไปใสใหกับตนสตรอเบอรรี่ โดยการเอายีนสของ
File : gnr2.doc page : 10
สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262
สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งไปเที่ยวปะเขากับโครโมโซมของสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่งนั้น ผูวิจัยแทบไมเคยศึกษาทําความเขาใจเลย
วายีนสแตละอยางภายในโครโมโซมนั้นมีความสัมพันธุอยางไรระหวางกันบาง
นอกจากนั้น หากจะตีความกันจริงๆ แลว การเรียกเทคนิคการตัดตอยีนสดังกลาววา Genetic
Engineering หรือ พันธุวิศวกรรม นั้นออกจะเปนการเรียกชื่อที่คลาดเคลื่อนไปมิใชนอย เพราะสิ่งที่ถูกยายไปมานั้น
แทจริงแลวเปนแคยีนส (Gene) ไมใชพันธุกรรม (Genetics) ในขณะที่การใชคําวาวิศวกรรม (Engineering) นั้นควร
จะหมายถึงศาสตรที่ผานการศึกษาถึงกลไกตางๆ จนทะลุปรุโปรง กอนที่จะเริ่มตัดสินใจออกแบบกระบวนการดัดแปลง
สารพันธุกรรมเพื่อใหเปนไปตามประสงค ไมใชแคอยากไดยีนสตัวไหนก็ไปตัดมาปะใสในโครโมโซมของสิ่งมีชีวิตอีกตัว
หนึ่ง ที่มันเปนแคงานตัดๆ ปะๆ (patchwork) เหมือนงานชางบัดกรีมากกวาที่จะเปนงานของวิศวกร
และเนื่องจากการตัดตอยีนสสวนใหญนั้นแทบจะ
ไมไดมีการศึกษาถึงความสัมพันธุระหวางยีนสแตละตัว ผลลบที่ไม
เดนชัดอันสืบเนื่องมาจากการวางยีนสใหมเขาไปผิดที่ผิดทางจึงไม
คอยจะไดรับความสนใจ และผลรายในระยะยาวก็อาจจะไป
ปรากฏหลังจากการทดลองเกิดขึ้นไปแลวนานนับเปนปๆ ตามแต
วาสิ่งมีชีวิตที่ถูกดัดแปลงยีนสนั้นจะมีชวงอายุยืนยาวมากนอยขนาด
ไหน หรือบางครั้งหากไมออกฤทธิ์ในชวงอายุของมัน ก็ใหสงสัยวา
จะไปออกฤทธิ์ในชั่วลูกชั่วหลาน ซึ่งบางครั้งก็นานจนสายเกินที่จะแกไขเยียวยาภัยแอบแฝงเหลานี้ไปแลวก็เปนได
ยกตัวอยางเชน ยีนสที่ทนตอยาฆาวัชพืชที่เติมเขาไปในตนฝาย ดวยเจตนาเพื่อใหสามารถปลูกไวในแปลงที่มีการฉีดยา
ฆาวัชชพืชไวไดนั้น หากถูกผสมขามพันธุไปสูวัชชพืชบางประเภท มันก็อาจจะทําใหเกิดการแพรระบาดของวัชชพืช
ดื้อยาติดตามมาอยางมหาศาล
ศึกษาอดีตเพื่อย้ําเตือนปจจุบัน
ดวยเรื่องราวเทคโนโลยีสมัยใหมที่ทั้งชวนใหหลงไหลและชวนใหวิตกกังวลเหลานี้ ทําใหบิลล จอย อด
ยอนนึกไปในอดีตสมัยเมื่อเขายังเปนเด็กๆ ไมได เขาเลาวาคุณยาของเขานั้นแมวาจะดําเนินอาชีพเปนพยาบาลมาตั้งแต
กอนยุคสงครามโลก แตก็มีนิสัยปฏิเสธการใชยาปฏิชีวนะอยางพร่ําเพรื่อโดยไมจําเปนมาโดยตลอด เพราะเธอเชื่อวา
มันจะนําผลเสียมาสูสุขภาพของผูใชยา เธอจะอนุโลมใหมีการใชยาปฏิชีวนะกับลูกหลานในบานไดก็ตอเมื่อเห็นวา
จําเปนจริงๆ เทานั้น
ทั้งนี้ มิไดหมายความวาเธอจะเปนพวกตอตานความทันสมัย เพราะตลอดชวงอายุการทําอาชีพ
พยาบาลเกือบ 70 ป ของเธอนั้นไดสัมผัสและรับรูถึงนวัตกรรมใหมๆ มาโดยตลอด นอกจากนั้น ตัวคุณปูของเขาซึ่ง
ปวยเปนโรคเบาหวานก็ไดรับประโยชนมหาศาลจากความกาวหนาทางวิทยาการแพทยสมัยใหม แตดวยความหนัก
แนนและรอบคอบแบบคนยุคเกา ทําใหคุณยาของบิลล จอย มักจะบนใหฟงอยูเสมอวา คนรุนใหมนั้นหยิ่งยโสใน
ความรู และความฉลาดของตน ทํานองวาเที่ยวไปประดิษฐโนน สรางนี้ แถมบางทียังเที่ยวไปดัดแปลงอะไรตอมิอะไร
ทั้งที่เวลาเครื่องไมเครื่องมือเหลานั้นเกิดขัดของขึ้นมาก็แกกันจนเหงื่อตก อีกทั้งถาจะวาไปแลวแคจะจัดการบริหาร
ตัวเอง หรือทําความเขาใจกับตัวเองใหถองแท มนุษยก็ยังไมสามารถจะทําไดดีเลย
File : gnr2.doc page : 11
สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262
เพิ่งจะมาตอนนี้เองที่ บิลล จอย ไดเริ่มตระหนักวา แทที่จริงแลว ตัวคุณยาของเขานั้นชางมีความ
เขาใจในธรรมชาติ และเขาใจถึงบทบาทอันเหมาะสมของมนุษยซึ่งควรจะมีตอธรรมชาติ (the nature of the order
of life) เปนอยางดี เธอรูวาเราควรจะใหความเคารพตอธรรมชาติ และไมควรจะอวดรูเที่ยวไปเปลี่ยนแปลงธรรมชาติ
ตามอําเภอใจ เพราะผลงานที่เกิดจากการประดิษฐของมนุษยนั้นสวนใหญลวนเปราะบาง (fragility) และประสิทธิภาพ
ต่ํา มนุษยเราควรจะเตือนตัวเองดวยการศึกษาอดีตอันผิดพลาดจากความอวดรูอวดเกงของมนุษย อยางที่เห็นไดชัด
ที่สุดเห็นจะเปนเรื่องของการพัฒนาระเบิดนิวเคลียร (Atomic Bomb) แลวสงผลใหมนุษยเราตองแขงขันกันพัฒนา
และสะสมอาวุธกันขนานใหญ เพียงเพื่อจะไดมาซึ่งฝนรายที่คอยหลอนหลอกเรามาตลอดทั้งศตวรรษ
ระเบิดนิวเคลียรลูกแรกนั้นถูกพัฒนาขึ้น
โดยอัจฉริยะดานฟสิกส เจ รอเบิรต ออพเพนไฮมมเมอร ซึ่ง
ไมเคยไดมีความสนใจเรื่องราวการเมืองมากอนเลยในชีวิต
จนกระทั่งถูกคุกคามจากอาณาจักรไรซที่สามของรัฐบาลนา
ซี จนตองระหกระเหินมาอาศัยชายคาของสหรัฐที่เมือง
ลอส อลาโมส เปนที่หลบตาย และดวยความกลัววาหาก
ฮิตเลอรมีระเบิดนิวเคลียรไวในครอบครองจะเทากับพยัคฆ
ติดปก ทําใหเขาระดมสติปญญาทั้งหมดที่มีอยู ไมวาจะเปน
ความรูในเชิงฟสิกส หรือความเปนผูนําที่เชี่ยวชาญในการชักจูงใจคน โหมเรงพัฒนาลูกระเบิดมหาประลัยของโลก
ออกมาจนสําเร็จไดภายในชั่วระยะเวลาที่สั้นมาก
เปนเรื่องนาคิดวา หากไมมีสถานการณสงครามโลกมาบีบบังคับ อัจริยะดานฟสิกสคนนี้จะสามารถ
คิดคนและพัฒนาอาวุธทําลายโลกชนิดนี้ออกมาไดเร็วขนาดนี้หรือเปลา ? แตที่นาคิดมากยิ่งขึ้นไปอีกก็คือ หลังจากที่
อาณาจักรไรซที่สามพายแพแกสัมพันธมิตรในวันเผด็จศึก (V-E day) ซึ่งก็เทากับภาวะคุกคามที่มีตอจิตใจของออพเพน
ไฮมมและทีมงานวิจัยไดถูกถอดถอนออกไปแลว ทําไมทีมงานนักวิทยาศาสตรชุดนี้ยังคงขมักเขมนกับการผลิตลูก
ระเบิดมหาประลัยชนิดนี้กันตอไป มีเรื่องเลากันวามีนักฟสิกสบางคนในทีมเสนอใหหยุดโครงการลง แตตัวหัวหนาทีม
คือ ออพเพนไฮมมเมอร เสนอวาควรจะดําเนินการวิจัยตอ โดยใหเหตุผลวาฝายสหประชาชาติควรจะไดมีความรูเรื่อง
ระเบิดนิวเคลียรกาวหนามกวาฝายตรงขาม
นอกจากนั้น ในฐานะที่ไดดําเนินการทดลองมาจนใกลจะไดเห็นผลงานออกมาเปนรูปรางแลว ทีม
งานวิจัยของออพเพนไฮมเมอรจึงไดดําเนินการทดลองตอไปจนสามารถนําไประเบิดนิวเคลียรไปทดลองประสิทธิภาพได
เปนครั้งแรกภายใตชื่อโครงการทรีนิตี้ (Trinity) โดยโครงการทรีนิตี้เกือบจะไมมีโอกาสไดเกิดเมื่อ เอ็ดเวิรด เทลเลอร
ทดลองคํานวนดูผลลัพธุของระเบิดไวลวงหนาไดผลวามันอาจจะสงผลใหบรรยากาศของโลกบางสวนถูกทําลายลง และ
จะกอใหเกิดผลเสียอยางมหาศาลลจนไมคุมกับการทดลอง แตตอมาเมื่อทีมงานลองคํานวนซ้ําอีกครั้ง กลับปรากฏวา
โอกาสที่ระเบิดนิวเคลียรจะมีผลกระทบตอโลกนั้นถูกลดลงไปเหลือแคสามในลานเทานั้น (เทลเลอรระบุวาเขาสามารถ
กําจัดการจุดระเบิดในบรรยากาศลงไปไดจนหมด) อยางไรก็ตามเพื่อความปลอดภัยของประชาชน ออพเพนไฮมมได
เสนอใหรัฐบาลอพยพเคลื่อนยายประชาชนออกจากทางตะวันตกเฉียงใตของรัฐนิวเม็กซิโก กอนที่จะไดดําเนินการ
ทดลอง
File : gnr2.doc page : 12
สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262
หลังจากการทดลองระเบิดนิวเคลียรที่ทรีนิตี้ไดเพียงหนึ่งเดือน รัฐบาลสหรัฐฯ ก็ตกลงใจจะใชระเบิด
นิวเคลียรกับญี่ปุนที่เมือง ฮิโรชิมา และนางาซากิ ทั้งๆ ที่มีนักวิจัย
บางคนเสนอใหแคสาธิตประสิทธิภาพความรุนแรงของระเบิดใหกับ
ญี่ปุนก็นาจะเพียงพอที่ขูใหญี่ปุนหยุดยั้งการบุกยึดครองเอเชีย และ
แปซิฟคลงไปไดแลว (ในระยะหลังๆ มีผูวิเคราะหไปไกลถึงขนาด
ระบุวา หากไมมีการทิ้งระเบิดที่ฮิโรชิมา และนางาซากิ โลกเราคง
ไมตองหวาผวากับการแขงขันกันสะสมอาวุธนิวเคลียรเชนทุกวันนี้)
แตขอเสนอใหสาธิตระเบิดนิวเคลียรแกญี่ปุนดังกลาวก็ไมเปนผล
เพราะความแคนเคืองที่มีตอเหตุการณโจมตีฐานทัพเพิรล ฮาเบอรที่เพิ่งเกิดขึ้นสดๆ รอนๆ ยังคงระอุอยูในใจของ
พลเมืองสหรัฐฯ ในขณะนั้น
ความเสียหายและจํานวนคนตายที่ฐานทัพเพิรล ฮารเบอร ทําใหรัฐบาลกรุงวอชิงตันตองหาทางทํา
อะไรสักอยางเพื่อตอบสนองความตองการของผูลงคะแนนเสียงของตน เมื่อบวกกับเหตุผลอีกขอวาสหรัฐฯ ตองการจะ
หยุดสงครามและความเสียหายที่เผชิญอยูใหเร็วที่สุดเทาที่จะเร็วได ก็ทําใหลูกระเบิดนิวเคลียรถูกนําไปทิ้งที่เมืองฮิโรชิ
มา แตคําถามที่ยังมีตอไปอีกก็คือ ทําไมหลังจากฆาพลเมืองตาดําๆ ของญี่ปุนไปนับหมื่นที่ฮิโรชิมาแลว ทําไมสหรัฐฯ
ยังตองฆาเพิ่มที่นางาซากิอีก คําถามนี้ดูเหมือนจะไมมีคําตอบ แตจากคําใหการในภายหลังของนักฟสิกสชื่อ ฟรีแมน
ไดสัน หนึ่งในทีมงานสรางอาวุธมหาประลัยสองลูกนี้ที่ระบุวา "เหตุผลที่ระเบิดถูกทิ้งลงไปนั้นเปนเพียงเพราะวาไมมีใคร
มีความกลา หรือมองการณไกลเพียงพอที่จะบอกไดวา "อยา""
(การที่รัฐบาลสหรัฐฯ ตองหาทางทําอะไรสักอยางหนึ่งเพื่อผอนคลายความกดดันจากสื่อมวลชนและ
ประชาชนในเรื่องปญหาการเมืองภายในประเทศนี้ ผูเขียนอยากจะแนะนําใหทานผูอานลองหาเชา/ยืมวิดีโอเรื่อง
"Wag the Dog" ที่สองสุดยอดดารา โรเบิรต เดอนีโร กับ ดัสติน ฮอฟแมน เลนประชันกันไวเมื่อราวๆ สี่ปที่แลวมา
ดู ก็จะเขาใจถึงตรรกกะที่วานี้ไดเปนอยางดี)
ความทรนงของนักฟสิกส ?
เปนเรื่องนาสนใจอยางยิ่งวา การทิ้งระเบิดปรมาณูเมืองฮิโรชิมาในวันที่ 6 สิงหาคม 1945 นั้น ไดสราง
ความตื่นตะลึงกับบรรดานักฟสิกสที่รวมผลิตอาวุธมหาประลัยดังกลาวเปนอยางมาก ความรูสึกแรกคือความภูมิใจที่
โครงการซึ่งเพียรพยายามทํามานานสามารถทํางานไดผลจริง แตตอมากลับกลายเปนความสลดหดหูเมื่อตระหนักวามี
ประชาชนพลเมืองจํานวนมากตองถูกสังเวยใหกับความสําเร็จดังกลาว พวกเขาตกลงกันวาไมควรจะมีการทิ้งระเบิด
นิวเคลียรอีก แตหลังจากนั้นเพียงสามวัน ระเบิดปรมาณูอีกลูกก็ถูกทิ้งลงที่เมืองนางาซากิโดยไมมีใครใหคําอธิบายวา
ทําไมถึงเกิดเหตุการณเชนนี้ขึ้นได
กวาจะมีการเปดปากพูดถึงเหตุผลในการทิ้งระเบิดลูกที่สองอีกครั้งก็ลวงไปเดือนพฤศจิกายน 1945
หรืออีกสามเดือนตอมา โดยตัวออพเพนไฮมมเมอรซึ่งเปนหัวหนาโครงการวิจัยนิวเคลียรเปนผูออกมาพูดเอง เพียงแต
การแถลงครั้งนั้นไมไดระบุชัดลงไปถึงเหตุผลที่นําไปสูการตัดสินใจทิ้งระเบิดลูกที่สอง เขาเพียงแตอางถึงทัศนะอันเปน
อุดมการณแหงวิทยาศาสตร (Scientific Attitudes) วา "คุณไมมีทางจะเปนนักวิทยาศาสตรได หากคุณไมศรัทธาใน
คุณคาของความรูแหงโลก ดวยพลังซึ่งไดรับจากความศรัทธานั้นก็คือคุณคาภายในแหงความเปนมนุษย ที่คุณใชมัน
File : gnr2.doc page : 13
สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262
สําหรับการเผยแผความรูใหกระจายออกไป และคุณพรอมเต็มใจยอมรับกับผลลัพธที่มันจะนํามา" เมื่อแถลงการณ
เสร็จตัวออพเพนไฮมมเมอรก็กลับไปทํางานวิจัยนิวเคลียรของตนตอไป (ไมรูวามีคําพูดวาเสียใจแตไมขอโทษดวยหรือ
เปลา ?)
จนกระทั่งอีก 2 ปใหหลังนั่นแหละ ที่ออพเพนไฮมมเมอรเริ่มจะพูดจาในลักษณะที่มีความเปนมนุษย
มากขึ้น ไมใชพูดเหมือนเครื่องจักรวิทยาศาสตรเชนที่ผานๆ มา โดยระบุวา "ดวยสามัญสํานึกระดับพื้นๆ บางอยาง ซึ่ง
ไมไดถูกกลบเกลื่อนไปดวยการพูดจาวาราย ไมมีการตลกเลนลิ้น หรือไมมีการกลาวอางอะไรใหเกินเลยความจริง พวก
นักฟสิกส (อยางเรา) นั้นตางลวนตระหนักดีวาอะไร
คือความบาป และความตระหนักดังกลาวนั้นก็ไม
เคยจะถูกหลงลืมไป"
แตคําพูดเชนนั้นคงจะชวยอะไรโลก
มนุษยไมไดมาก เพราะในปถัดมา สาธารณรัฐโซเวีย
ตรัสเซียก็เริ่มประสบความสําเร็จกับการพัฒนาอาวุธ
นิวเคลียรบาง และเมื่อถึงป ค.ศ. 1955 ทั้งสองยักษ
ใหญคือ สหรัฐฯ และโซเวียตฯ ตางก็พรอมจะ
ทดสอบอาวุธชนิดใหมที่เรียกวาระเบิดไฮโดรเจน
มหันตภัยลูกยอมๆ ที่สะดวกพรอมสําหรับบการขน
ไปทิ้งที่ไหนก็ไดตามอัธยาศัย และนับแตบัดนั้นเปน
ตนมาโลกเราก็ไมเคยหยุดอกสั่นขวัญหายกับอาวุธ
มหาประลัยชนิดนี้อีกเลย
โลกมาเขาใจถึงความรูสึกของทีมงานวิจัยอาวุธสังหารไดดีขึ้นในอีก 20 ปใหหลัง เมื่อ ฟรีแมน ไดสัน
ซึ่งเปนหนึ่งในทีมวิจัยทรีนิตี้ไดตีพิมพหนังสือชื่อ "The Day After Trinity" ออกมา โดยสรุปวาทัศนะความเชื่อแบบ
นักวิทยาศาสตร (scientific attitudes) นั่นแหละคือสวนผสมสําคัญที่ทําใหอาวุธนิวเคลียรถูกกอกําเนิดขึ้น เขากลาวา
"โดยความรูสึกของตัวผมเองนั้น ความกระจางของอาวุธนิวเคลียรนั้นชางเยายวนเหลือเกินเมื่อคุณมองมันดวยสายตา
ของนักวิทยาศาสตร ลองจินตนาการดูวาคุณมีพลังงานอันมหาศาลอยูในมือ พลังงานที่อาจจะปลดปลอยใหกับกลุม
ดาว พลังที่เพิ่มอํานาจการตอรอง พลังงานที่จะสรางสิ่งมหัศจรรย พลังงานที่อาจจะเหวี่ยงภูผาหนักเปนลานๆ ตันขึ้น
ไปบนอากาศ มันเปนสิ่งที่สรางภาพหลอนเรื่องอํานาจไรขีดจํากัดใหแกผูคน ซึ่งถามองในอีกแงหนึ่งมันคือที่มาของ
ปญหานานับประการที่มนุษยโลกเรากําลังเผชิญอยูในขณะนี้ มันคือสิ่งที่คุณอาจจะเรียกมันวาความยโสจาก
เทคโนโลยี (Technical Arrogance) ซึ่งเขาครอบงํา
ผูคนในขณะที่เริ่มรูวาจะทําอะไรกับความคิดของตัวเองได
บาง"8
นับถอยหลังสูวันพิพากษา
ดวยความตระหนักในการคุกคามจากภัย
นิวเคลียร ทําใหกองบรรณาธิการวารสาร The Bulletin
Gnr2เทคโนโลยีจีเอ็นอาร์ ภัยแฝงเร้น
Gnr2เทคโนโลยีจีเอ็นอาร์ ภัยแฝงเร้น
Gnr2เทคโนโลยีจีเอ็นอาร์ ภัยแฝงเร้น

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์Surapol Imi
 
ระบบวิเคราะห์อัตโนมัติในงานพยาธิวิทยาคลีนิค
ระบบวิเคราะห์อัตโนมัติในงานพยาธิวิทยาคลีนิคระบบวิเคราะห์อัตโนมัติในงานพยาธิวิทยาคลีนิค
ระบบวิเคราะห์อัตโนมัติในงานพยาธิวิทยาคลีนิคSurapol Imi
 
International MBA Professional Integration Survey 2015
International MBA Professional Integration Survey 2015International MBA Professional Integration Survey 2015
International MBA Professional Integration Survey 2015PSB Paris School of Business
 
ค่าเสียหายจากการถูกแฮ็ก ไม่เว่อร์เอาเท่าไร
ค่าเสียหายจากการถูกแฮ็ก  ไม่เว่อร์เอาเท่าไร ค่าเสียหายจากการถูกแฮ็ก  ไม่เว่อร์เอาเท่าไร
ค่าเสียหายจากการถูกแฮ็ก ไม่เว่อร์เอาเท่าไร Surapol Imi
 
My great pecha kucha
My great pecha kuchaMy great pecha kucha
My great pecha kuchajoey1999
 
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.peter dontoom
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมhmeenop
 
Biology bio15
 Biology bio15 Biology bio15
Biology bio15Bios Logos
 
ข้อสอบเคมี มข. 54
ข้อสอบเคมี มข. 54 ข้อสอบเคมี มข. 54
ข้อสอบเคมี มข. 54 Manatsawin Kongthong
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 

Andere mochten auch (18)

shafaqat.ali.cv
shafaqat.ali.cvshafaqat.ali.cv
shafaqat.ali.cv
 
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
 
ระบบวิเคราะห์อัตโนมัติในงานพยาธิวิทยาคลีนิค
ระบบวิเคราะห์อัตโนมัติในงานพยาธิวิทยาคลีนิคระบบวิเคราะห์อัตโนมัติในงานพยาธิวิทยาคลีนิค
ระบบวิเคราะห์อัตโนมัติในงานพยาธิวิทยาคลีนิค
 
Longhi
LonghiLonghi
Longhi
 
COMM 3580 Jan 27
COMM 3580 Jan 27COMM 3580 Jan 27
COMM 3580 Jan 27
 
International MBA Professional Integration Survey 2015
International MBA Professional Integration Survey 2015International MBA Professional Integration Survey 2015
International MBA Professional Integration Survey 2015
 
COMM 3580 Feb 24
COMM 3580 Feb 24COMM 3580 Feb 24
COMM 3580 Feb 24
 
mpresumeNEWwithbar
mpresumeNEWwithbarmpresumeNEWwithbar
mpresumeNEWwithbar
 
ค่าเสียหายจากการถูกแฮ็ก ไม่เว่อร์เอาเท่าไร
ค่าเสียหายจากการถูกแฮ็ก  ไม่เว่อร์เอาเท่าไร ค่าเสียหายจากการถูกแฮ็ก  ไม่เว่อร์เอาเท่าไร
ค่าเสียหายจากการถูกแฮ็ก ไม่เว่อร์เอาเท่าไร
 
My great pecha kucha
My great pecha kuchaMy great pecha kucha
My great pecha kucha
 
COMM 3580 Feb 17
COMM 3580 Feb 17COMM 3580 Feb 17
COMM 3580 Feb 17
 
Shelby Newsletter
Shelby NewsletterShelby Newsletter
Shelby Newsletter
 
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
Biology bio15
 Biology bio15 Biology bio15
Biology bio15
 
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
 
ข้อสอบเคมี มข. 54
ข้อสอบเคมี มข. 54 ข้อสอบเคมี มข. 54
ข้อสอบเคมี มข. 54
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 

Mehr von Surapol Imi

ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษา
ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษาตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษา
ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษาSurapol Imi
 
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาดแนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาดSurapol Imi
 
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาดการประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาดSurapol Imi
 
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายSurapol Imi
 
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้านเคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้านSurapol Imi
 
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102 เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102 Surapol Imi
 
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์Surapol Imi
 
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ตแนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ตSurapol Imi
 
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียงระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียงSurapol Imi
 
Personal videoconference system
Personal videoconference systemPersonal videoconference system
Personal videoconference systemSurapol Imi
 
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998Surapol Imi
 
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐVan  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐSurapol Imi
 
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์Surapol Imi
 
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคนTelecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคนSurapol Imi
 
Realtime computing
Realtime computingRealtime computing
Realtime computingSurapol Imi
 
Psion vs win ce
Psion vs  win ce Psion vs  win ce
Psion vs win ce Surapol Imi
 
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96Surapol Imi
 
อุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctvอุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctvSurapol Imi
 
คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000Surapol Imi
 

Mehr von Surapol Imi (20)

ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษา
ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษาตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษา
ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษา
 
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาดแนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
 
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาดการประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
 
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
 
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้านเคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
 
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102 เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
 
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
 
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ตแนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
 
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียงระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
 
Personal videoconference system
Personal videoconference systemPersonal videoconference system
Personal videoconference system
 
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
 
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐVan  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
 
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
 
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคนTelecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
 
Realtime computing
Realtime computingRealtime computing
Realtime computing
 
Psion vs win ce
Psion vs  win ce Psion vs  win ce
Psion vs win ce
 
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
 
อุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctvอุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctv
 
PCI local bus
PCI  local busPCI  local bus
PCI local bus
 
คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000
 

Gnr2เทคโนโลยีจีเอ็นอาร์ ภัยแฝงเร้น

  • 1. File : gnr2.doc page : 1 สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262 GNR : episode II "เทคโนโลยีจีเอ็นอาร" ภัยแฝงเรน สุรพล ศรีบุญทรง ในนิตยสารไอทีซอฟทฉบับเดือนมิถุนายนที่ผานมา ผูเขียนไดนําเสนอบทความ GNR : Episode 1 "2001 นับถอยหลังสูการสูญพันธุของมนุษย" 1 โดยกลาวอางถึงแนวความคิดของ บิลล จอย อัจฉริยะคนหนึ่งของ วงการคอมพิวเตอร ที่ระบุวา เทคโนโลยีใหมลาสุด 3 ประเภท (GNR) อันไดแก พันธุวิศวกรรม (G: Genetic Engineering) จุณเทคโนโลยี (N: Nanotechnology) และ หุนยนตศาสตร (R: Robotics) นั้นอาจจะทําใหมวล มนุษยชาติตองสูญสิ้นเผาพันธุลงไปไดหากมิไดมีการวางแผนควบคุมการพัฒนา ไวใหดี โดยความกังวลใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีของบิลล จอย นี้ไดถูกบันทึกไวใน บทความชื่อ "Why the future dosen't need us" ของนิตยสารไวรดฉบับ เดือนเมษายนที่ผานมา 2 สิ่งที่ผูเขียนนําเอาเลาไวในไอทีซอฟทฉบับที่แลว สวนใหญจะมุงไปที่การปูพื้นใหทานผูอานรูจักกับ ตัวตนของบิลล จอย และเหตุการณที่กระตุนใหเขาเกิดความวิตกกังวลเกี่ยวกับผลกระทบดานลบที่อาจจะติดตามมากับ เทคโนโลยีสมัยใหม โดยเนนไปที่พัฒนาการดานคอมพิวเตอร และหุนยนตเปนหลัก ทั้งนี้ ตองเขาใจวาพื้นฐานความรู ดั้งเดิมของบิลล จอย ที่คลุกคลีอยูกับงานคอมพิวเตอรมาแทบจะตลอดชีวิตนั้นยอมจะทําใหเขามองทะลุเทคโนโลยี ประเภทนี้ไดมากกวาสาขาอื่น อยางไรก็ตาม นั่นก็ไมไดหมายความวาเขาจะออนดอยไปในภูมิความรูดานพันธุ วิศวกรรม และจุณเทคโนโลยี เพราะเทคโนโลยีจีเอ็นอารทั้งสามอยางนี้สามารถสอดประสานกันไดอยางลงตัวพอดี เชน เมื่อพัฒนาการของเทคโนโลยีไอซีตามทฤษฎีของมัวรเริ่มประสบกับทางตัน เพราะไมสามารถจะลดระยะหางระหวาง ทรานซิสเตอรลงไปกวาเดิมไดอีก (ขณะนี้อยูที่ประมาณ 0.18 ไมครอน) ก็พอดีกับเทคโนโลยีเรื่องจุณเทคโนโลยีเขามา เปนทางออกใหกับปญหาดังกลาวไดอยางพอดิบพอดี ความนากลัว ของเทคโนโลยีแหงศตวรรษที่ 21 อยางจีเอ็นอารนั้น อยู ตรงที่มันเปนสิ่งที่เกิดขึ้นจาก ความรูลวนๆ (Knowledge- based) อาศัยทรัพยากรและ แรงงานมนุษยเขามาเกี่ยวของ นอยมาก จึงเปนสิ่งที่หองแล็ บดีๆ ที่ไหนในโลกก็สามารถ จะพัฒนาขึ้นไดเอง (ไม เหมือนกับมหันตภัยยุค ศตวรรษ 20 อยางนิวเคลียร อาวุธเคมี และอาวุธขีวภาพ
  • 2. File : gnr2.doc page : 2 สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262 ซึ่งมีแตหนวยงานขนาดใหญของรัฐเทานั้นที่จะมีสิทธิครอบครอง) และเมื่อกระบวนการผลิตของเทคโนโลยีจีเอ็นอารได ถูกดําเนินการไป ผลผลิตที่ไดก็ยังมีความสามารถในการผลิตเพิ่มไดดวยตัวของมันเอง (Self-reproduction) ฉนั้น หากมนุษยยังคงติดนิสัยการพัฒนาเพื่อนําไปสูปญหาใหมๆ (technofix) เชนที่เกิดอยูทุกเมื่อเชื่อวันเชนนี้แลวละก็ ความกังวลของของบิลล จอย ก็คงมีโอกาสปรากฏเปนจริงขึ้นมาไดในเร็วนี้ !!!! (คําวา Technofix นี้แปลเปนไทยแบบงายๆ นาจะเทียบไดกับคําวา "การแกปญหาแบบนักเทคโน" ซึ่งเปนคําที่ใชพูดประชดประชันประดานักเทคโนโลยีทั้งหลาย 3 ในทํานองวา พวกนี้ถนัดที่จะนําเอาเทคโนโลยี สมัยใหมมาแกปญหาเพียงเพื่อจะใหเกิดปญหาใหมที่หนักหนาสาหัสกวาเดิมขึ้นมาแทน เพราะนักเทคโนสวนใหญ มักจะมีความรูลึกซึ้งเฉพาะดาน (พูดใหชัดคือ รูลึกแตแคบ) จึงมองปญหาไดไมครอบคลุม มุงแตจะแกปญหาเฉพาะ หนาที่เผชิญอยูโดยไมคํานึงถึงผลกระทบดานอื่นๆ (หรือคํานึงถึงบางก็ไมเขาใจ เพราะความรูที่คับแคบของตนเองไม เอื้อใหเขาใจ) เชน ถาเดินสายไฟ สายโทรศัพทไปเจอตนไมใหญอายุหลายรอยป พวกนักเทคโนก็พรอมจะตัดตนไม ที่ขวางทางทิ้งเพื่อประหยัดตนทุนในการเดินสายมากที่สุด โดยไมไดสนใจถึงผลกระทบอื่นๆ ที่จะติดตามมาไมวาจะ เปนคุณคาของตนไมใหญในเชิงนิเวศวิทยา เชิงสังคม หรือเชิงวัฒนธรรม และหากมองใหไกลออกไปจากตัวอยางที่ ยกขึ้นมา เราก็จะเห็นวิธีการแกปญหาแบบนักเทคโนนี้อยูกลาดเกลื่อนทั่วเมืองไทย ไมวาจะเปนปญหาการสราง โรงไฟฟา การสรางแหลงอุตสาหกรรม การสรางเขื่อน หรือการสรางถนน ฯลฯ) ทัศนะใหมของนักคอมพิวเตอร การไดมีโอกาส เกี่ยวของกับการออกแบบ โครงสรางทางสถาปตยของไมโคร โพรเซสรุนสําคัญๆ ของโลกมาโดย ตลอด ไมวาจะเปน SPARC , picoJarva หรือ MAJC ทําใหบิลล จอย มีความเชื่อถือศรัทธาตอกฏ ของมัวรอยูคอนขางมาก เขายืนยันวาชวงหลายสิบที่ผานมานี้ อัตราการพัฒนาประสิทธิภาพของชิปไมโครโพรเซสเซอร นั้นจะเปนไปในลักษณะกาวกระโดด (เอ็กซโปเนนเชี่ยล) ตรงตามการคาดการณของมัวรเสมอ จนกระทั่งเมื่อเร็วๆ นี้ เองที่กฏของมัวรเริ่มจะถูกตั้งขอสงสัยวาจะไมเปนความจริงอีกตอไป เพราะเมื่อเราพัฒนาไมโครชิปขึ้นเรื่อยๆ ไดสักระยะ มันก็จะตองเผชิญกับขอจํากัดทางกายภาพบน ตัวไมโครชิปซึ่งทําใหไมสามารถเพิ่มประสิทธิภาพของตัวชิปขึ้นไปไดอีก ยกตัวอยางเชน การเพิ่มประสิทธิภาพของไอซี ดวยการเพิ่มจํานวนทรานซิสเตอร พรอมกับลดขนาดของชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสบนตัวชิปไอซีลงไปเรื่อยๆ นั้น สุดทายก็ ภายในเวลาไมเกิน 10 ป (ค.ศ. 2010) วงการอุตสาหกรรมไอซีก็จะตองเผขิญกับภาวะที่ไมสามารถลดขนาด สายสัญญาณลงไปไดอีก เพราะถาลดขนาดสายสัญญาณใหเล็กลงไปถึงระดับหนึ่งความตานทานของสายสัญญาณก็จะ สูงเกินกวาจะคงความถูกตองของตัวสัญญาณไวได
  • 3. File : gnr2.doc page : 3 สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262 อยางไรก็ตาม ความกังวลของบรรดาวิศวกรไอซีทั้งหลายไดเริ่มคลี่คลายลงไป เมื่อวงการ วิทยาศาสตรของโลกไดเริ่มรูจักกับเทคโนโลยีชนิดใหมที่เรียกวา "จุณเทคโนโลยี (Nanotechnology) " เพราะแนวคิด หลักของจุณเทคโนโลยีนั้นคือการนําเอาอะตอมหรือโมเลกุลของสสารมาจัดวางเรียงกันใหเกิดเปนวัสดุสิ่งของหรือ แมกระทั่งสิ่งมีชีวิตตามที่ผูผลิตตองการโดยมิตองกังวลกับผลผลิตเหลือใช หรือของเสียจากกระบวนการผลิตเลย เทียบ ไดกับกระบวนการผลิตของคอมพิวเตอร ซึ่งถาเจาะลึกลงไปในผลผลิตทุกอยาง ไมวาจะเปนขอความ ภาพ เสียง หรือ วิดีโอ ทุกอยางลวนมีที่มาจาก สัญญาณบิท 0 และ 1 เทานั้น ฉนั้น หาก ผูผลิตไอซีสามารถนําอะตอม ของสสารมาจัดเรียงกันเพื่อ สรางชิปไอซีแตละตัวไดจริง (หลายคนเรียกเทคโนโลยีไอซี ลักษณะนี้วาเปน "อิเล็กทรอนิกสระดับ โมเลกุล" หรือ "Molecular electronic") อุตสาหกรรม ไอซีก็จะหมดกังวลกับปญหาขอจํากัดทางกายภาพของตัวไอซีไปไดอีกไมนอยกวา 30 ป นั่นคือ อัตราการพัฒนา ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอรและชิปไอซีก็จะดําเนินไปตามกฏของมัวรตอไปอีกจนถึงป ค.ศ. 2030 เปนอยางนอย หรือถาเทียบเปนประสิทธิภาพความฉลาดของเครื่องคอมพิวเตอรที่มากขึ้น ก็อาจจะประมาณวาเครื่องคอมพิวเตอรใน ป ค.ศ. 2030 ฉลาดกวาที่เปนอยูในขณะนี้สักหนึ่งลานเทาตัว และนั่นก็จะทําใหยอนนกลับไปสูประเด็นที่อัจฉริยะโรค จิต "เธ็ด คาซินสกี้" เคยคาดการณไววามนุษยที่ออนแออาจจะถูกแทนที่ดวยหุนยนตที่ชาญฉลาด เพราะไมสามารถเอา ตัวรอดจากกฎเกณฑของวิวัฒนาการที่วา "มีแตผูที่แข็งแรงหรือฉลาดกวาเทานั้น จึงจะอยูรอดได" ผลจากการลองประมาณการณคราวๆ พบวาหุนยนตและอุปกรณคอมพิวเตอรในยุคสมัยสามสิบป ขางหนาจะมีความฉลาดขึ้นกวาเดิมถึงลานเทา ทําใหบิลล จอย ตองหวนกลับมาทบทวนผลงานในอดีตของตนอีกครั้ง เขายอมรับวาที่ผานๆ มานั้น แมวาเขาจะมีผลงานคอมพิวเตอรที่สังคมยอมรับออกมามากมาย ทั้งที่อยูในรูป ซอฟทแวรและฮารดแวร (รวมกอตั้งบริษัทซัน ไมโครซิสเต็มส, เขียนโปรแกรมบนยูนิกส ออกแบบโปรแกรมจาวา และ จินิ ฯลฯ) แตเขาไมเคยมีความคิดในหัวสมองเลยวาเขากําลังประดิษฐเครื่องจักรที่มีความฉลาด (Inteligence) อยู ในตัว สําหรับเขาแลว ประดิษฐกรรมเหลานั้นลวนเปราะบาง และไมมีอะไรที่อาจจะเรียกวาเปนความฉลาดไดเลย สิ่ง ที่ฮารดแวรหรือซอฟทแวรเหลานั้นทําได ลวนแลวแตเปนสิ่งที่มนุษยโปปรแกรมใหมันทําเทานั้น ไมใชสิ่งที่พวกมันจะ รูจักคิดรูจักสรางไดเองเลย ดวยพื้นฐานความคิดวา คอมพิวเตอรและหุนยนตนั้นถูกสรางขึ้นมาเพื่อชวยอํานวยความสะดวกใหกับ มนุษย ไมใชถูกสรางมาเพื่อใหคิด หรือมีความฉลาด ทําใหในอดีตนั้น บิลล จอย มีความสุขกับการสรางสรรผลงาน ตางๆ นานาออกมา แตปจจุบัน เมื่อเขาเริ่มตระหนักวาพัฒนาการดานคอมพิวเตอร (ซึ่งบางสวนเปนผลงานของเขา เอง) อาจจะนําไปสูจุดจบของมนุษยได ก็ทําใหเขาออกจะไมสบายใจเปนอยางมาก และเริ่มจะไมแนใจในคุณคาของ
  • 4. File : gnr2.doc page : 4 สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262 ผลงานของตน เขาเริ่มสงสัยวามนุษยเราอาจจะตีคาความฉลาดของตัวเองไวสูงเกินไปหรือไม (Overestimate) และ อาจจะเปนการดีกวาหากเราจะตริตรองอยางรอบคอบกอนที่จะเริ่มคิดคนวิจัยอะไรตอไป ?? "จุณเทคโนโลยี" ความฝนที่เปนจริง บิลล จอย เลาวาตัวเขานั้นไดเริ่มรูจักและประทับใจในความสําคัญของจุณเทคโนโลยีเปนครั้งแรก เมื่อไดฟงปาฐกถาครั้งสําคัญเกี่ยวกับแนวคิดเรื่องจุณเทคโนโลยีของนักฟสิกสระดับรางวัลโนเบล "ริชารด เฟยนแมน" ในป ค.ศ. 1958 กอนที่เฟยนแมนจะตีพิมพเรื่องราวดังกลาวออกมาเปนหนังสือชื่อ "There's Plenty of Room at the Bottom" ในระยะเวลาตอมา แตบุคคลสําคัญที่มีสวนในการผลักดันใหวงการวิทยาศาสตรทั้งโลกหันมาให ความสําคัญกับจุณเทคโนโลยีเปนอยางมากเห็นจะไมมีใครเกิน อีริค เด็กซเลอร ซึ่งบรรยายไวอยางชวนฝนหวานวาจุณ เทคโนโลยีจะนํามาซึ่งโลกแหงพระศรีอาริยไดอยางไรบางภายในหนังสือชื่อ "Engine of Creation" 4 ตอจากนั้น อีริค เด็กซเลอร ยังไดเขียนหนังสือออกมาอีกเลม ชื่อวา "Unbounding the Future : The nanotechnology Revolution" 5 โดยไดบรรยายอนาคตที่สวยหรูของจุณเทคโนโลยีไวอยางนาสนใจ รวมทั้งมีการ บัญญัติศัพทแสงใหมๆ ไวเพื่อใชบรรยายถึงการทํางานของจุณเทคโนโลยีไวอยาง มากมาย ยกตัวอยางเชนคําวา NanoGears หรือ Assemblers ที่หมายถึง เครื่องจักรขนาดเล็กเพียงไมกี่โมเลกุล (บางทีก็มีคนเรียกวาเปนหุนยนตขนาดจิ๋ว) ที่ถูกออกแบบมาใหทําหนาที่จัดเรียงอะตอมของสสารเพื่อใหไดมาซึ่งวัสดุหรือ ชิ้นงานที่ไดรับการออกแบบไว และคําวา NanoComputer ที่หมายถึงคอมพิวเตอรที่ถูกสรางขึ้นจากสารเพียงไมกี่ โมเลกุล อีริค เด็กซเลอร ไดจินตนาการถึงประโยชนของ เครื่องจักรกลขนาดเล็กเพียงไมกี่โมเลกุลของเขาไววาจะนํามาซึ่งการ เปลี่ยนแปลงขนานใหญบนโลก เพราะเราอาจจะใชจุณเทคโนโลยี ในการสรางเซลลพลังงานแสงอาทิตยที่มีประสิทธิภาพสูงแตมีราคา ถูกมาก อาจจะใชจุณเทคโนโลยีในการรักษาโรคตั้งแตโรคงายๆ สามัญอยางไขหวัดไปจนกระทั่งมะเร็งรายดวยการกระตุนที่ระบบ ภูมิตานทานของรางกายโดยตรง อาจจะใชจุณเทคโนโลยีผลิต เครื่องจักรขนาดเล็ก (Ecosystem Protector) ออกไปกําจัดมลพิษชนิดตางๆ ในบรรยากาศเพื่อใหไดธรรมชาติอัน บริสุทธิ์กลับคืนมา อาจจะใชจุณเทคโนโลยีผลิตเครื่องซูเปอรคอมพิวเตอรที่มีขนาดเล็กแคฝามือ อาจจะทําใหยานทอง อวกาศมีราคาถูกจนใครๆ ก็หาซื้อไวขับเลนไปมาได จนแมกระทั่งอาจจะนําเอาจุณเทคโนโลยีเขาไปประยุกตรวมกับ พันธุวิศวกรรมเพื่อจัดสรางสิ่งมีชีวิตที่ไดสูญพันธไปแลวกลับคืนมาสูโลกอีกครั้ง ฯลฯ (หมายเหตุ จินตนาการที่ลนเหลือเหลานี้มีกลาวไวในหนังสือ "Unbounding the Future : The nanotechnology Revolution" และ "Engines of Creation" หากทานผูอานสนใจก็อาจจะโหลดมาอานไดฟรีๆ ทางเว็บไซท http://www.foresight.org/UTF/UnboundLBW/ และเว็บไซท http://www.foresight.org/EOC/)
  • 5. File : gnr2.doc page : 5 สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262 จินตนาการชวนฝนของ อีริค เด็กซเลอร นั้นไดสงผลใหมีนักวิทยาศาสตรหลายคนทยอยเขียน เรื่องราวเกี่ยวกับจุณเทคโนโลยีติดตามมาอีกเปนจํานวนมาก รวมทั้งไดมีการจัดประชุมสัมนาวิชาการวาดวยเรื่องจุณ เทคโนโลยีกันเปนประจําทุกป ซึ่งตัวบิลล จอย เองก็เห็นวาการมีเทคโนโลยีใหมๆ เพื่อรองรับการพัฒนาในอนาคตนั้น เปนสิ่งที่ดี เพียงแตบางอยางนั้นอาจจะดูเหลือเชื่อเกินไปหนอย ตัวเขาเองเคยลองจินตนาการตามอีริค เด็กซเลอร ไป เลนๆ วาถาเกิดแนวความคิดของจุณเทคโนโลยีเกิดเปนจริงขึ้นมาได บางทีเขาอาจจะลองตั้งโจทยเปนการบานสําหรับ ตัวเองใหใชจุณเทคโนโลยีผลิตผีดิบแวมไพรขึ้นมาสักตัวหนึ่ง แตอาจจะใหคะแนนพิเศษสําหรับการพัฒนายาแกพิษผี ดูดเลือดเผื่อไวดวย กระแสความสนใจเรื่องจุณเทคโนโลยีนั้นถูกบูมขึ้น จนกระทั่งตัว บิลล จอย เองยังเคยถูกเชิญไปเปนองคปาฐกในที่ประชุม Nanotechnology Conference กับเขาดวย ในการประชุมครั้งแรกเมื่อเดือนตุลาคม ป ค.ศ. 1989 ในการปาฐกถาครั้งนั้นเขาไดเอยปากเตือนบรรดาผูฟงไฟแรงไววา "พวกเรา (นักวิทยาศาสตร) ไมควรจะคิดแคการประดิษฐคิดคนผลงานใหมๆแตเพียงอยาง เดียว แตจะตองตระหนักในประเด็นเรื่องจริยธรรมและความถูกตองที่ตัวผลงาน จะนํามาดวย" 6 หลังจากการเขารวมการประชุมใหญจุณเทคโนโลยีครั้งนั้นเขาได สนทนาแลกเปลี่ยนความเห็นกับนักฟสิกสชั้นนําหลายคน ซึ่งตางเห็นพองตองกันวา แนวความคิดเรื่องจุณเทคโนโลยีนั้นนาจะไมเวิรก หรือถาเวิรกก็ตองอีกนานหลาย ป ทําใหตัวเขาแทบจะลืมเรื่องจุณเทคโนโลยีไปเสียสนิท เพราะตองยายที่ทํางาน ไปอยูรัฐโคโลราโดเพื่อทุมเทใหกับการพัฒนาซอฟทแวรบนอินเทอรเน็ต (ซึ่งก็คือโปรแกรม Java และ Jini นั่นเอง) บิลล จอย ตองหันกลับมาใหความสนใจกับจุณเทคโนโลยีใหมในกลางปที่แลว เมื่อไดรับทราบจาก บรอส ฮาสลาเชอร วาปจจุบันนี้วงการจุณเทคโนโลยีสามารถผลิตอุปกรณอิเล็กทรอนิกสระดับโมเลกุล (Moecular electronics) ไดแลว และสงผลใหเขาตองรีบกลับไปรื้อหนังสือ "Engines of Creation" ของอีริค เด็กซเลอรมาอาน ทวนอีกครั้งหลังจากปลอยทิ้งไปเกือบ 10 ป โดยเฉพาะในบทที่วาดวย "อันตรายและความหวัง (Dangers & Hopes)" ซึ่งเขาจดจําไดเพียงนอยนิด คลับคลายคลับคลาวาเคยมีการกลาวเตือนถึงกรณีที่ "เครื่องจักรแหงการสรางสรร (Engines of Creation)" จะกลับกลายมาเปน "เครื่องจักรแหงการทําลาย "Engines of Destruction)" ไวบาง เหมือนกัน อยางไรก็ดี เมื่อ บิลล จอย นําหนังสือ "The Engines of Creation" กลับมาอานทวนอีกครั้ง เขา กลับพบวามีการคาดการณถึงภยันตรายของจุณเทคโนโลยีไวนอยมาก โดยเด็กซเลอร ไดเคยบรรยายไววาผลจากการ นําจุณเทคโนโลยีมาใชนั้นมาจะนํามาซึ่งเหตุการณที่ :- "ตนไมมีใบตามธรรมชาติไมสามารถแขงขันกับเซลลพลังงานแสงอาทิตยที่มนุษยสรางขึ้น ทําใหโลก ของเราตองถูกปกคลุมไปดวยบรรดาตนไมเทียมอันมีใบที่กินไมได แบคทีเรียที่ยอยสลายสสารไดทุกประเภทอาจจะ คุกคามใหแบคทีเรียตามธรรมชาติตองลดนอยถอยจํานวนลงไป ในที่สุด เจาพวกแบคทีเรียสังเคราะหพวกนี้ก็อาจจะ แพรขยายออกไปดั่งไฟลามทุง และสงผลใหชั้นบรรยากาศที่เอื้อตอการดํารงชีพของสิ่งมีชีวิตบนโลก (Biosphere) ถูก ยอยสลายลงเปนผุยผงไดภายในชวงเวลาไมกี่วัน บรรดาตัวอันตรายขนาดจิ๋วที่เพิ่มจํานวนไดเอง (Dangerous replicators) อาจจะเพิ่มจํานวน และความรายกาจขึ้นไดอยางนาใจหาย (โดยเฉพาะเมื่อเราไมไดเตรียมการณรองรับ
  • 6. File : gnr2.doc page : 6 สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262 ปญหาไวกอน) อันจะนํามาซึ่งปญหาสารพันเชนเดียวกับที่เราเคยตองประสบกันมากอนในความพยายามควบคุมไวรัส กอโรค และแมลงศัตรูพืช สําหรับบรรดาผูเชี่ยวชาญดานจุณเทคโนโลยีแลว เรามักจะเรียกปญหาทํานองนี้รวมๆ กันไปวาเปน "gray goo problem" ซึ่งมิไดหมายความวาตัวปญหาที่วานี้จะตองมีลักษณะอันไมนาพิศมัย (gray) หรือเหยอะๆ (gooey) อยางชื่อของมัน แตหมายความวาบรรดาพวกกอปญหาที่เพิ่มจํานวนไดเอง (Uncontrolled replicator) เหลานี้ควรจะถูกกําจัดออกไป เนื่องจากตัวของมันนั้นมีคุณคานอยมาก จนไมอาจแมแตจะเทียบกับตนหญาวัชชพืชใน สวน จริงอยู พวกมันอาจจะเหนือกวาสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ในเชิงวิวัฒนาการ แตนั่นก็มิไดหมายความวาจะทําใหมันมีคุณคา สูงตามไปดวย ปญหาเรื่อง Gray goo problem นั้นมีสวนดีตรงที่มันชวยใหเราไดตระหนักวา ไมควรจะปลอยใหมี อุบัติเหตุอันจะนําไปสูการเพิ่มปริมาณของตัวปญหาเหลานี้เกิดขึ้น" กลาวโดยรวมๆ แลว ปญหาที่มีการพูดถึงในหนังสือของอีริค เด็กซเลอร สวนใหญดูจะเนนไปในเรื่อง ปญหาในเชิงเทคนิคและเชิงกฏหมายที่อาจจะมีติดตามมามากกวา ซึ่งก็เปนเหตุผลสําคัญใหเด็กซเลอรไดกอตั้ง สถาบันฟอรไซทขึ้นมาเพื่อใหคําปรึกษา และเตรียมพรอมกับปญหาเชิงเทคนิค และเชิงกฏหมายที่จะติดตามมากับจุณ เทคโนโลยี โดยเฉพาะปญหาในสวนของจุณอิเล็กทรอนิกส (Nano Electronics) ซึ่งถือวาเปนสาขาสําคัญของจุณ เทคโนโลยี (เพราะมันอาจจะสรางผลกําไรจากการลงทุนไดอยางมหาศาล จึงนาจะเปนสาขาที่มีอัตราการเติบโตสูง ที่สุดในบรรดาจินตนาการทั้งหลายทั้งปวงที่ เด็กซเลอรไดเคยพรรณาไว) โลกควรจะมีแตพืชเพื่อการบริโภค ? ถัดจากเรื่องชวนวิตกกังวล เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร หุนยนต และนาโน เทคโนโลยี บิลล จอย ก็หันมาตั้งขอสังเกตุ เกี่ยวกับภัยแฝงเรนเรื่องพันธุวิศวกรรมตอ โดยเฉพาะเรื่องพืชพรรณธัญญาหารดัดแปลง สารพันธุกรรม (GMOs) ที่ไดจากเทคโนโลยีการผลิตสมัยใหม เขามีความเห็นวาเราควรจะไดทําความเขาใจเกี่ยวกับ ผลกระทบที่เกิดจากพัฒนาการดานพฤกษศาสตรกันใหถองแทเสียกอน และไดยกเอางานเขียนชื่อ "A Tale of Two Botanies" ของอมอรี และ ฮันเตอร ลาแวง 7 มาประกอบการอธิบายถึงผลกระทบดานลบที่อาจจะเกิดขึ้นจาก เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรม สิ่งที่ไดรับการเนนย้ําอยูเสมอในบทความของลาแวง คือ ความคิดที่วา โลกเราที่เปนอยูทุกวันนี้ ไดรับการหลอหลอมมาอยางคอยเปนคอยไป การที่จะมีหรือไมมีสิ่งมีชีวิตชนิดใดลวนเปนผลมาจากการคัดเลือก และ ทดสอบอยางพิถีพิถันจากธรรมชาติ มนุษยจึงไมควรจะใชความรูที่มีแตความฉลาด (อาจไมมีความเฉลียว) เขาไป ดัดแปลงแกไขมันตามอําเภอใจ อีกอยาง เราตองไมลืมวาสิ่งมีชีวิตที่เรียกวาพืชนี้มีปรากฏบนพื้นโลกมากอนการ กําเนิดของมนุษยนับเปนลานๆ ป ดังที่นักวิทยาศาสตรหลายๆ สํานักไดประมาณการกันวามีพืชพรรณบนพื้นพิภพมา นานราวๆ พันแปดรอยลานปแลว
  • 7. File : gnr2.doc page : 7 สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262 โดยบรรดาพืชพรรณที่มีอยูบนผืนโลกนี้ลวนคอยๆ วิวัฒนาการ และคอยๆ ปรับตัวตนของมันให สอดคลองกับกฏเกณฑตามธรรมชาติที่วา "ผูแข็งแรงที่สุด มีความสามารถในการปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมไดดี ที่สุดเทานั้น จึงจะอยูรอดได" จนทายที่สุด รูปลักษณของพืชพรรณตางๆ ที่เราเห็นกันอยูในทุกวันนี้ตางลวนเปนผลมา จากความสามารถในการปรับตัวดังกลาวดวยกันทั้งสิ้น นั่นคือ จะตองมีความทนทรหดพอสมควร ไมงั้นคงไมสามารถ รอดพนจากวิกฤตการณสารพัดมาได ไมวาจะเปน ภาวะน้ําทวมโลก การพุงชนของอุกกาบาต แผนดินไหว ภูเขาไฟ ระเบิด การเพิ่มขึ้นหรือลดลงอยางผิดปรกติของสัตวกินพืช และสัตวที่พืชจะใชเปนพาหะในการสืบพันธุ ฯลฯ อยางไรก็ตาม แมวาพืชจะสามารถเอาตัวรอดจากวิกฤตใหญๆ ของโลกมาไดโดยตลอด แตมันกลับไม สามารถปรับตัวใหอยูรอดจากการคุกคามของสิ่งมีชีวิตที่เรียกวามนุษยได ทั้งๆ ที่ เมื่อสืบยอนประวัติความสัมพันธุ ระหวางมนุษยกับพืชลึกลงไปในอดีต ไลยอนไปเรื่อยจากศาสตรที่เรียกกันวาพันธุวิศวกรรม เทคโนโลยีเกษตรสมัยใหม เทคโนโลยีชีวภาพ ทฤษฏีพันธุกรรมของบาทหลวงแมนเดล ทฤษฏีวิวัฒนาการของดารวินและลามารค การศึกษาวิชา พฤกษศาสตรเพื่อแจกแจงคุณลักษณะของพืชพรรณตางๆ จนไปสุดที่การกสิกรรม อันเปนจุดตั้งตนของการเปลี่ยน พฤติกรรมของมนุษยจากการอยูในถ้ําและไลลาหา เนื้อสัตวมาบริโภค กลายเปนการทําไรไถนาและปลูก เรือนอยู นับไปนับมาก็เพิ่งไดระยะเวลาราวๆ หนึ่งหมื่นป เทานั้นเอง ผลพวงที่เกิดขึ้นจากพัฒนาการดาน การเกษตรของมนุษยแคหนึ่งหมื่นปที่วานี้ กลับสรางการ เปลี่ยนแปลงใหกับพืชพรรณบนโลกที่ผานวิวัฒนาการมา นานานับลานปไดอยางมหาศาล พรรณพืชจํานวนมากมายตองสูญพันธุลงไปเพราะการคุกคามของสังคมมนุษยทั้งโดย เจตนา และความสัพเพรา มนุษยไดเขาไปบงการและกําหนดคุณคาของพรรณพืชเสียใหมตามแตรสนิยมและความ ตองการบริโภคของตนเอง โดยแทบไมเคยไดใสใจเลยวาธรรมชาติมีเหตุผลเชนไรในการกําหนดใหพืชชนิดหนึ่งมีมาก ชนิดหนึ่งมีนอย หรือพืชแตละชนิดควรจะปรากฏอยูบนตําแหนงใดของพื้นผิวโลก ฯลฯ กวาที่มนุษยจะเริ่มตระหนักถึง ความสําคัญของระบบนิเวศนวิทยา และความหลากหลายทางชีวภาพก็ออกจะเริ่มจะสายไปเสียแลว "อัตตา" ในการพัฒนาทางชีวภาพ แนวความคิดเดิมๆ ที่มนุษยใชเปนจุดเริ่มตนในการศึกษาพฤกษศาสตรนั้นดูจะมุงเนนไปที่การพัฒนา พันธุพืชที่ใหผลตอบแทนทางเศรษฐกิจมากกวาจะเปนไปเพื่อการศึกษาหาความรูจากมัน ซึ่งเมื่อใชหลักเกณฑเรื่อง ความคุมคาในเชิงเศรษฐกิจมาจับเสียเชนนี้แลว การพัฒนาเทคโนโลยีตางๆ ก็จึงเปนไปเพื่อการตอบสนองวัตถุประสงค ดังกลาวเสียหมด เวลาคัดเลือกพันธุพืชก็ไมไดมองวามันเหมาะสม (fittess) กับธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมากแคไหน แตจะมองเพียงวามันใหผลผลิตที่อุดมสมบูรณ (fattess) พอจะทํากําไรไดมากนอยขนาดไหน และเมื่อความคิดที่ มองเห็นแตเงินตราและวัตถุเปนเปาหมายของการพัฒนาหนักขอขึ้น เทคโนโลยีการเกษตรก็เลยขามจากจุดที่ตองการ พืชซึ่งใหผลผลิตมากพอเลี้ยงประชากรทั้งโลก ไปถึงขั้นที่จะพัฒนาพืชซึ่งสามารถจดสิทธิบัตร และปองกันการละเมิด ลิขสิทธิ์ได (Patentable)
  • 8. File : gnr2.doc page : 8 สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262 จนทายที่สุด ก็ยากจะคาดการณไดวาความเห็นแกไดและความฉลาดแกมโกงของมนุษยจะนําพา อนาคตของพืชพรรณตางๆ ไปยังจุดใดกันแน จะเหลือพืชแคไมกี่สายพันธุเทาที่ความรูอันนอยนิดของมนุษยจะเชื่อวา มันเหมาะกับการบริโภค หรือจะเหลือแคพันธุพืชที่องคกรธุรกิจขนาดใหญสามารถครอบครองลิขสิทธิในการผลิตเพื่อ จําหนายไดเทานั้น (ตรงนี้มีขอสังเกตุวา มนุษยเรามักจะใหความสําคัญกับสัตวและสิ่งมีชีวิตที่เคลื่อนไหวได มากกวาพืช ดังจะเห็นไดจากการที่ผูคนสวนใหญมักรูจักสัตวสารพัดสารเพ แต กลับไมรูจักชื่อไมพรรณตางๆ ที่ตนเดินผานหรืออาศัยประโยชนอยู ทุกวี่ทุกวัน) ความหยิ่งทระนงในความรู ในเทคโนโลยีของ มนุษย ทําใหมนุษยละเลยความจริงทางธรรมชาติไปอยางหนึ่งวา สิ่งมีชีวิตทุกสายพันธุตามธรรมชาตินั้นตางลวนผานการเคี่ยวกรํา และคัดสรรมาอยางตอเนื่องยาวนานนับพันๆ ป ไดรับการทดสอบ ครั้งแลวครั้งเลา กวาจะเหลือปรากฏใหเห็นอยูในภาพลักษณเชนในปจจุบัน ตรงกันขามกับพืชพรรณที่ถูกตัดตอ ดัดแปลงสายพันธภายในหองทดลอง ซึ่งมักจะใชเวลาทดสอบกันสั้นๆ เพียงไมกี่เดือน และก็ไมใชการทดสอบที่เปนไป ตามสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ แตเปนสภาพแวดลอมที่ถูกกําหนดไวโดยมนุษย ฉนั้นจึงเปนเรื่องยากมากที่มนุษย จะยืนยันวาผลผลิตพืชที่ไดจากตัดตอพันธุกรรม (GMOs) ของตนจะไมสรางผลกระทบใดๆ ใหกับสิ่งแวดลอมทาง ธรรมชาติ และคงไมมีใครรับประกันไดวาการปลูกฝาย หรือถั่วเหลืองที่ผานการดัดแปลงสารพันธุกรรมนั้นจะไมนําไปสู การสูญพันธุของสิ่งมีชีวิตบางอยางที่อาศัยประโยชนจากพืชสองประเภทที่วานี้ ความเชื่อมั่นที่ออกจะสูงเกินเหตุในเทคโนโลยีพันธุวิศวกรรมของบรรดานักวิทยาศาสตร ผนวกกับ ความกระหายในความสําเร็จดานการเงินของนักอุตสาหกรรม ไดนําไปสูการประดิษฐสิ่งมีชีวิตชนิดใหมๆ ขึ้นมาเปน จํานวนมากมายมหาศาลภายในชวงระยะเวลาแคไมกี่ป หลังจากคําวา โคลนนิ่ง และ จีเอ็มโอ ไดอุบัติขึ้นมาบนโลก องคกร USDA ไดมีการอนุมัติใหมีการเผยแพรธัญญพืชตัดตอสารพันธุกรรมไปแลวไมต่ํากวา 50 ประเภท ในขณะที่ยัง มีโครงการวิจัยเกี่ยวกับพืชตัดตอสารพันธุกรรมอีกกวา 4,500 โครงการของสหรัฐฯ อยูระหวางขั้นตอนการเตรียมจด ทะเบียนสิทธิบัตร เพื่อนําออกเผยแพรสูสังคมเกษตรตอไป การแขงขันกันพัฒนาสิ่งมีชีวิตชนิดฝนธรรมชาติตางๆ นานาออกมาของบรรดานักวิทยาศาสตรทั่วโลก ทําใหเปนเรื่องนากังวลวาจะมีสิ่งมีชีวิตที่พิสดารและอาจจะสรางผลกระทบในเชิงลบกับสิ่งมีชีวิตตามธรรมชาติประเภท อื่นๆ หลุดออกมาเพนพานบางหรือไม เพราะเมื่อนักวิจัยพากันเรงรัดกระบวนการทํางานของตนเพียงเพื่อจะไดชื่อวา ทําไดกอนใครในโลก ก็อาจจะหลงละเลยประเด็นผิดพลาดเล็กๆ นอยๆ ที่เกิดขึ้น แตนั่นยังถือเปนการมองโลกในแงที่ ดีมาก เพราะตองไมลืมวาจิตใจมนุษยอันหยาบหนาและเต็มไปดวยกิเลสนั้นยากที่จะหยั่งได ดังจะเห็นไดจาก ประวัติศาสตรซึ่งสอนเรามาโดยตลอดวา อัจฉริยะโรคจิตนั้นมีกําเนิดขึ้นมาทุกยุคทุกสมัย และมันคงเปน โศกนาฏกรรมอันใหญหลวง หากมีอัจฉริยะโรคจิตเลือกใชวิธีเผยแพรเชื้อโรคตัดตอสารพันธุกรรมเพื่อทําลายลางชีวิต ของเพื่อนมนุษยดวยกันเอง แทนที่จะเปนแคการกระจายไวรัสคอมพิวเตอร การวางระเบิดสถานที่สาธารณะ หรือการ ปลอยแกสพิษในสถานีรถไฟใตดิน ฯลฯ อยางเราไดเคยหวาดผวากันมาแลวในอดีต
  • 9. File : gnr2.doc page : 9 สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262 พันธุวิศวกรรม หรือ การตัดปะยีนส ปจจุบันนี้ วากันวากวาครึ่งหนึ่งของถั่วเหลืองที่บริโภคกันอยูทั่วโลกเปนถั่วเหลืองที่ผานการตัดตอสาร พันธุกรรม ในขณะที่สัดสวนของขาวโพดตัดตอสารพันธุกรรมอาจจะมีนอยกวาเล็กนอย คือมีอยูแคราวๆ 30 % ของ ผลผลิตขาวโพดทั่วโลก จึงมีความเปนไปไดวาทานผูอานอาจจะไดเคยลิ้มรสอาหารแฟรงเกนสไตนเหลานี้กันไปบางแลว โดยไมรูตัว เพราะพืชพรรณที่ถูกดัดแปลงสารพันธุกรรมเหลานี้มักจะมีความแตกตางกันเพียงเล็กนอย พอใหมีลิขสิทธิ์ ที่ไมซ้ําซอนกับของคนอื่นๆ ในขณะเดียวกันก็จะตองใหมีรูปลักษณไมตางไปจากสภาพของพืชพรรณธัญญาหารปรกติที่ ชาวบานชาวชองเขาคุนเคยกัน ซึ่งก็เปนเหตุผลใหรัฐบาลประเทศกลุมยุโรปออกมารณรงคใหมีการติดฉลากแจงเตือน ใหผูบริโภคทราบวาผลิตภัณฑอาหารที่จําหนายอยูแต ละชนิดนั้นมีสวนผสมที่ไดจากการตัดตอสาร พันธุกรรมบางหรือไม (บางคนมองวา การกําหนดให ติดฉลาก GMOs เปนอีกรูปแบบหนึ่งของการกีดกัน ทางการคา) เทคโนโลยีการผลิตพันธุพืชโดย อาศัยการดัดแปลงสารพันธุกรรมไดกอใหเกิดการ แตกแยกทางความคิดครั้งสําคัญในหมู นักวิทยาศาสตร มีทั้งกลุมที่ตอตานและกลุม สนับสนุน กลุมสนับสนุนพืชดัดแปลงสารพันธุกรรม มักจะอางเหตุผลวามันชวยตอบสนองความตองการดานอาหารของโลกที่ยังคงมีประชากรนับเปนลานๆ คนตองอยูใน สภาวะทุพโภชนาการ และยังมีผูคนในอีกหลายๆ ประเทศที่ตองอยูในสภาพแรนแคนขาดแคลนซึ่งอาหารจะบริโภค การออกแบบพืชพรรณใหมีผลผลิตมากๆ และทนตอสภาพแวดลอม/หรือศัตรูพืชนาจะเขามาตอบสนองความตองการ ของโลกไดเปนอยางดี ในขณะที่กลุมตอตานก็มีเหตุผลที่นาสนใจไมนอยไปกวากัน โดยระบุวาสาเหตุของการขาดแคลน อาหารในโลกนี้สวนใหญไมไดเปนผลมาจากการผลิตอาหารไดไมพอ แตมักจะเปนผลมาจากการกระจายทรัพยากรที่ไม เหมาะสมมากกวา เพราะยังคงมีประชากรบางประเทศบริโภคอยางหรูหราฟุมเฟอย กินทิ้งกินขวาง ยกตัวอยางเชน ประเทศสหรัฐอเมริกานั้นมีการบริโภคทรัพยากรไปมากถึง 20 % ของอัตราการบริโภคทั่วทั้งโลก อีกทั้งเปาหมายของ การพัฒนาผลิตภัณฑจีเอ็มโอทั้งหลายนั้นดูจะมุงไปที่ความมั่งคั่งดานการเงินของผูผลิตมากกวาจะใหความสําคัญกับ ปากทองของคนยากคนจน ดังจะสังเกตุไดจากการพยายามทําใหสินคาพืชพรรณจีเอ็มโอของตนมีสภาพที่ไมเหมาะจะ นําไปผลิตซ้ํา เพื่อกันการละเมิดลิขสิทธิ และบังคับใหเกษตรกรตองซื้อหาพันธุพืชจากบริษัทเจาของลิขสิทธิ์แตเพียง อยางเดียว ที่ราย คือ กลุมนักวิจัยที่พัฒนาชีวิตกลายพันธุเหลานี้อาจจะสนุกสนานเพลิดเพลินกับจินตนาการ ของตนจนคอนขางจะเกินเลยไปมากเมื่อเทียบกับการผสมขามพันธุ หรือการกลายพันธุทางธรรมชาติ มีการเที่ยวเอา สารพันธุกรรมจากสัตวไปใสในพืช จากในพืชไปใสในแบคทีเรีย เพียงเพราะอยากจะไดสิ่งมีชีวิตพันธุใหมที่คุณสมบัติ ตามความตองการของตนเทานั้น เชนเอายีนสทนอากาศหนาวของปลาไปใสใหกับตนสตรอเบอรรี่ โดยการเอายีนสของ
  • 10. File : gnr2.doc page : 10 สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262 สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งไปเที่ยวปะเขากับโครโมโซมของสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่งนั้น ผูวิจัยแทบไมเคยศึกษาทําความเขาใจเลย วายีนสแตละอยางภายในโครโมโซมนั้นมีความสัมพันธุอยางไรระหวางกันบาง นอกจากนั้น หากจะตีความกันจริงๆ แลว การเรียกเทคนิคการตัดตอยีนสดังกลาววา Genetic Engineering หรือ พันธุวิศวกรรม นั้นออกจะเปนการเรียกชื่อที่คลาดเคลื่อนไปมิใชนอย เพราะสิ่งที่ถูกยายไปมานั้น แทจริงแลวเปนแคยีนส (Gene) ไมใชพันธุกรรม (Genetics) ในขณะที่การใชคําวาวิศวกรรม (Engineering) นั้นควร จะหมายถึงศาสตรที่ผานการศึกษาถึงกลไกตางๆ จนทะลุปรุโปรง กอนที่จะเริ่มตัดสินใจออกแบบกระบวนการดัดแปลง สารพันธุกรรมเพื่อใหเปนไปตามประสงค ไมใชแคอยากไดยีนสตัวไหนก็ไปตัดมาปะใสในโครโมโซมของสิ่งมีชีวิตอีกตัว หนึ่ง ที่มันเปนแคงานตัดๆ ปะๆ (patchwork) เหมือนงานชางบัดกรีมากกวาที่จะเปนงานของวิศวกร และเนื่องจากการตัดตอยีนสสวนใหญนั้นแทบจะ ไมไดมีการศึกษาถึงความสัมพันธุระหวางยีนสแตละตัว ผลลบที่ไม เดนชัดอันสืบเนื่องมาจากการวางยีนสใหมเขาไปผิดที่ผิดทางจึงไม คอยจะไดรับความสนใจ และผลรายในระยะยาวก็อาจจะไป ปรากฏหลังจากการทดลองเกิดขึ้นไปแลวนานนับเปนปๆ ตามแต วาสิ่งมีชีวิตที่ถูกดัดแปลงยีนสนั้นจะมีชวงอายุยืนยาวมากนอยขนาด ไหน หรือบางครั้งหากไมออกฤทธิ์ในชวงอายุของมัน ก็ใหสงสัยวา จะไปออกฤทธิ์ในชั่วลูกชั่วหลาน ซึ่งบางครั้งก็นานจนสายเกินที่จะแกไขเยียวยาภัยแอบแฝงเหลานี้ไปแลวก็เปนได ยกตัวอยางเชน ยีนสที่ทนตอยาฆาวัชพืชที่เติมเขาไปในตนฝาย ดวยเจตนาเพื่อใหสามารถปลูกไวในแปลงที่มีการฉีดยา ฆาวัชชพืชไวไดนั้น หากถูกผสมขามพันธุไปสูวัชชพืชบางประเภท มันก็อาจจะทําใหเกิดการแพรระบาดของวัชชพืช ดื้อยาติดตามมาอยางมหาศาล ศึกษาอดีตเพื่อย้ําเตือนปจจุบัน ดวยเรื่องราวเทคโนโลยีสมัยใหมที่ทั้งชวนใหหลงไหลและชวนใหวิตกกังวลเหลานี้ ทําใหบิลล จอย อด ยอนนึกไปในอดีตสมัยเมื่อเขายังเปนเด็กๆ ไมได เขาเลาวาคุณยาของเขานั้นแมวาจะดําเนินอาชีพเปนพยาบาลมาตั้งแต กอนยุคสงครามโลก แตก็มีนิสัยปฏิเสธการใชยาปฏิชีวนะอยางพร่ําเพรื่อโดยไมจําเปนมาโดยตลอด เพราะเธอเชื่อวา มันจะนําผลเสียมาสูสุขภาพของผูใชยา เธอจะอนุโลมใหมีการใชยาปฏิชีวนะกับลูกหลานในบานไดก็ตอเมื่อเห็นวา จําเปนจริงๆ เทานั้น ทั้งนี้ มิไดหมายความวาเธอจะเปนพวกตอตานความทันสมัย เพราะตลอดชวงอายุการทําอาชีพ พยาบาลเกือบ 70 ป ของเธอนั้นไดสัมผัสและรับรูถึงนวัตกรรมใหมๆ มาโดยตลอด นอกจากนั้น ตัวคุณปูของเขาซึ่ง ปวยเปนโรคเบาหวานก็ไดรับประโยชนมหาศาลจากความกาวหนาทางวิทยาการแพทยสมัยใหม แตดวยความหนัก แนนและรอบคอบแบบคนยุคเกา ทําใหคุณยาของบิลล จอย มักจะบนใหฟงอยูเสมอวา คนรุนใหมนั้นหยิ่งยโสใน ความรู และความฉลาดของตน ทํานองวาเที่ยวไปประดิษฐโนน สรางนี้ แถมบางทียังเที่ยวไปดัดแปลงอะไรตอมิอะไร ทั้งที่เวลาเครื่องไมเครื่องมือเหลานั้นเกิดขัดของขึ้นมาก็แกกันจนเหงื่อตก อีกทั้งถาจะวาไปแลวแคจะจัดการบริหาร ตัวเอง หรือทําความเขาใจกับตัวเองใหถองแท มนุษยก็ยังไมสามารถจะทําไดดีเลย
  • 11. File : gnr2.doc page : 11 สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262 เพิ่งจะมาตอนนี้เองที่ บิลล จอย ไดเริ่มตระหนักวา แทที่จริงแลว ตัวคุณยาของเขานั้นชางมีความ เขาใจในธรรมชาติ และเขาใจถึงบทบาทอันเหมาะสมของมนุษยซึ่งควรจะมีตอธรรมชาติ (the nature of the order of life) เปนอยางดี เธอรูวาเราควรจะใหความเคารพตอธรรมชาติ และไมควรจะอวดรูเที่ยวไปเปลี่ยนแปลงธรรมชาติ ตามอําเภอใจ เพราะผลงานที่เกิดจากการประดิษฐของมนุษยนั้นสวนใหญลวนเปราะบาง (fragility) และประสิทธิภาพ ต่ํา มนุษยเราควรจะเตือนตัวเองดวยการศึกษาอดีตอันผิดพลาดจากความอวดรูอวดเกงของมนุษย อยางที่เห็นไดชัด ที่สุดเห็นจะเปนเรื่องของการพัฒนาระเบิดนิวเคลียร (Atomic Bomb) แลวสงผลใหมนุษยเราตองแขงขันกันพัฒนา และสะสมอาวุธกันขนานใหญ เพียงเพื่อจะไดมาซึ่งฝนรายที่คอยหลอนหลอกเรามาตลอดทั้งศตวรรษ ระเบิดนิวเคลียรลูกแรกนั้นถูกพัฒนาขึ้น โดยอัจฉริยะดานฟสิกส เจ รอเบิรต ออพเพนไฮมมเมอร ซึ่ง ไมเคยไดมีความสนใจเรื่องราวการเมืองมากอนเลยในชีวิต จนกระทั่งถูกคุกคามจากอาณาจักรไรซที่สามของรัฐบาลนา ซี จนตองระหกระเหินมาอาศัยชายคาของสหรัฐที่เมือง ลอส อลาโมส เปนที่หลบตาย และดวยความกลัววาหาก ฮิตเลอรมีระเบิดนิวเคลียรไวในครอบครองจะเทากับพยัคฆ ติดปก ทําใหเขาระดมสติปญญาทั้งหมดที่มีอยู ไมวาจะเปน ความรูในเชิงฟสิกส หรือความเปนผูนําที่เชี่ยวชาญในการชักจูงใจคน โหมเรงพัฒนาลูกระเบิดมหาประลัยของโลก ออกมาจนสําเร็จไดภายในชั่วระยะเวลาที่สั้นมาก เปนเรื่องนาคิดวา หากไมมีสถานการณสงครามโลกมาบีบบังคับ อัจริยะดานฟสิกสคนนี้จะสามารถ คิดคนและพัฒนาอาวุธทําลายโลกชนิดนี้ออกมาไดเร็วขนาดนี้หรือเปลา ? แตที่นาคิดมากยิ่งขึ้นไปอีกก็คือ หลังจากที่ อาณาจักรไรซที่สามพายแพแกสัมพันธมิตรในวันเผด็จศึก (V-E day) ซึ่งก็เทากับภาวะคุกคามที่มีตอจิตใจของออพเพน ไฮมมและทีมงานวิจัยไดถูกถอดถอนออกไปแลว ทําไมทีมงานนักวิทยาศาสตรชุดนี้ยังคงขมักเขมนกับการผลิตลูก ระเบิดมหาประลัยชนิดนี้กันตอไป มีเรื่องเลากันวามีนักฟสิกสบางคนในทีมเสนอใหหยุดโครงการลง แตตัวหัวหนาทีม คือ ออพเพนไฮมมเมอร เสนอวาควรจะดําเนินการวิจัยตอ โดยใหเหตุผลวาฝายสหประชาชาติควรจะไดมีความรูเรื่อง ระเบิดนิวเคลียรกาวหนามกวาฝายตรงขาม นอกจากนั้น ในฐานะที่ไดดําเนินการทดลองมาจนใกลจะไดเห็นผลงานออกมาเปนรูปรางแลว ทีม งานวิจัยของออพเพนไฮมเมอรจึงไดดําเนินการทดลองตอไปจนสามารถนําไประเบิดนิวเคลียรไปทดลองประสิทธิภาพได เปนครั้งแรกภายใตชื่อโครงการทรีนิตี้ (Trinity) โดยโครงการทรีนิตี้เกือบจะไมมีโอกาสไดเกิดเมื่อ เอ็ดเวิรด เทลเลอร ทดลองคํานวนดูผลลัพธุของระเบิดไวลวงหนาไดผลวามันอาจจะสงผลใหบรรยากาศของโลกบางสวนถูกทําลายลง และ จะกอใหเกิดผลเสียอยางมหาศาลลจนไมคุมกับการทดลอง แตตอมาเมื่อทีมงานลองคํานวนซ้ําอีกครั้ง กลับปรากฏวา โอกาสที่ระเบิดนิวเคลียรจะมีผลกระทบตอโลกนั้นถูกลดลงไปเหลือแคสามในลานเทานั้น (เทลเลอรระบุวาเขาสามารถ กําจัดการจุดระเบิดในบรรยากาศลงไปไดจนหมด) อยางไรก็ตามเพื่อความปลอดภัยของประชาชน ออพเพนไฮมมได เสนอใหรัฐบาลอพยพเคลื่อนยายประชาชนออกจากทางตะวันตกเฉียงใตของรัฐนิวเม็กซิโก กอนที่จะไดดําเนินการ ทดลอง
  • 12. File : gnr2.doc page : 12 สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262 หลังจากการทดลองระเบิดนิวเคลียรที่ทรีนิตี้ไดเพียงหนึ่งเดือน รัฐบาลสหรัฐฯ ก็ตกลงใจจะใชระเบิด นิวเคลียรกับญี่ปุนที่เมือง ฮิโรชิมา และนางาซากิ ทั้งๆ ที่มีนักวิจัย บางคนเสนอใหแคสาธิตประสิทธิภาพความรุนแรงของระเบิดใหกับ ญี่ปุนก็นาจะเพียงพอที่ขูใหญี่ปุนหยุดยั้งการบุกยึดครองเอเชีย และ แปซิฟคลงไปไดแลว (ในระยะหลังๆ มีผูวิเคราะหไปไกลถึงขนาด ระบุวา หากไมมีการทิ้งระเบิดที่ฮิโรชิมา และนางาซากิ โลกเราคง ไมตองหวาผวากับการแขงขันกันสะสมอาวุธนิวเคลียรเชนทุกวันนี้) แตขอเสนอใหสาธิตระเบิดนิวเคลียรแกญี่ปุนดังกลาวก็ไมเปนผล เพราะความแคนเคืองที่มีตอเหตุการณโจมตีฐานทัพเพิรล ฮาเบอรที่เพิ่งเกิดขึ้นสดๆ รอนๆ ยังคงระอุอยูในใจของ พลเมืองสหรัฐฯ ในขณะนั้น ความเสียหายและจํานวนคนตายที่ฐานทัพเพิรล ฮารเบอร ทําใหรัฐบาลกรุงวอชิงตันตองหาทางทํา อะไรสักอยางเพื่อตอบสนองความตองการของผูลงคะแนนเสียงของตน เมื่อบวกกับเหตุผลอีกขอวาสหรัฐฯ ตองการจะ หยุดสงครามและความเสียหายที่เผชิญอยูใหเร็วที่สุดเทาที่จะเร็วได ก็ทําใหลูกระเบิดนิวเคลียรถูกนําไปทิ้งที่เมืองฮิโรชิ มา แตคําถามที่ยังมีตอไปอีกก็คือ ทําไมหลังจากฆาพลเมืองตาดําๆ ของญี่ปุนไปนับหมื่นที่ฮิโรชิมาแลว ทําไมสหรัฐฯ ยังตองฆาเพิ่มที่นางาซากิอีก คําถามนี้ดูเหมือนจะไมมีคําตอบ แตจากคําใหการในภายหลังของนักฟสิกสชื่อ ฟรีแมน ไดสัน หนึ่งในทีมงานสรางอาวุธมหาประลัยสองลูกนี้ที่ระบุวา "เหตุผลที่ระเบิดถูกทิ้งลงไปนั้นเปนเพียงเพราะวาไมมีใคร มีความกลา หรือมองการณไกลเพียงพอที่จะบอกไดวา "อยา"" (การที่รัฐบาลสหรัฐฯ ตองหาทางทําอะไรสักอยางหนึ่งเพื่อผอนคลายความกดดันจากสื่อมวลชนและ ประชาชนในเรื่องปญหาการเมืองภายในประเทศนี้ ผูเขียนอยากจะแนะนําใหทานผูอานลองหาเชา/ยืมวิดีโอเรื่อง "Wag the Dog" ที่สองสุดยอดดารา โรเบิรต เดอนีโร กับ ดัสติน ฮอฟแมน เลนประชันกันไวเมื่อราวๆ สี่ปที่แลวมา ดู ก็จะเขาใจถึงตรรกกะที่วานี้ไดเปนอยางดี) ความทรนงของนักฟสิกส ? เปนเรื่องนาสนใจอยางยิ่งวา การทิ้งระเบิดปรมาณูเมืองฮิโรชิมาในวันที่ 6 สิงหาคม 1945 นั้น ไดสราง ความตื่นตะลึงกับบรรดานักฟสิกสที่รวมผลิตอาวุธมหาประลัยดังกลาวเปนอยางมาก ความรูสึกแรกคือความภูมิใจที่ โครงการซึ่งเพียรพยายามทํามานานสามารถทํางานไดผลจริง แตตอมากลับกลายเปนความสลดหดหูเมื่อตระหนักวามี ประชาชนพลเมืองจํานวนมากตองถูกสังเวยใหกับความสําเร็จดังกลาว พวกเขาตกลงกันวาไมควรจะมีการทิ้งระเบิด นิวเคลียรอีก แตหลังจากนั้นเพียงสามวัน ระเบิดปรมาณูอีกลูกก็ถูกทิ้งลงที่เมืองนางาซากิโดยไมมีใครใหคําอธิบายวา ทําไมถึงเกิดเหตุการณเชนนี้ขึ้นได กวาจะมีการเปดปากพูดถึงเหตุผลในการทิ้งระเบิดลูกที่สองอีกครั้งก็ลวงไปเดือนพฤศจิกายน 1945 หรืออีกสามเดือนตอมา โดยตัวออพเพนไฮมมเมอรซึ่งเปนหัวหนาโครงการวิจัยนิวเคลียรเปนผูออกมาพูดเอง เพียงแต การแถลงครั้งนั้นไมไดระบุชัดลงไปถึงเหตุผลที่นําไปสูการตัดสินใจทิ้งระเบิดลูกที่สอง เขาเพียงแตอางถึงทัศนะอันเปน อุดมการณแหงวิทยาศาสตร (Scientific Attitudes) วา "คุณไมมีทางจะเปนนักวิทยาศาสตรได หากคุณไมศรัทธาใน คุณคาของความรูแหงโลก ดวยพลังซึ่งไดรับจากความศรัทธานั้นก็คือคุณคาภายในแหงความเปนมนุษย ที่คุณใชมัน
  • 13. File : gnr2.doc page : 13 สุรพล ศรีบุญทรง Why the future doesn’t need us, BillJoy, Wired 0, May00, 238-262 สําหรับการเผยแผความรูใหกระจายออกไป และคุณพรอมเต็มใจยอมรับกับผลลัพธที่มันจะนํามา" เมื่อแถลงการณ เสร็จตัวออพเพนไฮมมเมอรก็กลับไปทํางานวิจัยนิวเคลียรของตนตอไป (ไมรูวามีคําพูดวาเสียใจแตไมขอโทษดวยหรือ เปลา ?) จนกระทั่งอีก 2 ปใหหลังนั่นแหละ ที่ออพเพนไฮมมเมอรเริ่มจะพูดจาในลักษณะที่มีความเปนมนุษย มากขึ้น ไมใชพูดเหมือนเครื่องจักรวิทยาศาสตรเชนที่ผานๆ มา โดยระบุวา "ดวยสามัญสํานึกระดับพื้นๆ บางอยาง ซึ่ง ไมไดถูกกลบเกลื่อนไปดวยการพูดจาวาราย ไมมีการตลกเลนลิ้น หรือไมมีการกลาวอางอะไรใหเกินเลยความจริง พวก นักฟสิกส (อยางเรา) นั้นตางลวนตระหนักดีวาอะไร คือความบาป และความตระหนักดังกลาวนั้นก็ไม เคยจะถูกหลงลืมไป" แตคําพูดเชนนั้นคงจะชวยอะไรโลก มนุษยไมไดมาก เพราะในปถัดมา สาธารณรัฐโซเวีย ตรัสเซียก็เริ่มประสบความสําเร็จกับการพัฒนาอาวุธ นิวเคลียรบาง และเมื่อถึงป ค.ศ. 1955 ทั้งสองยักษ ใหญคือ สหรัฐฯ และโซเวียตฯ ตางก็พรอมจะ ทดสอบอาวุธชนิดใหมที่เรียกวาระเบิดไฮโดรเจน มหันตภัยลูกยอมๆ ที่สะดวกพรอมสําหรับบการขน ไปทิ้งที่ไหนก็ไดตามอัธยาศัย และนับแตบัดนั้นเปน ตนมาโลกเราก็ไมเคยหยุดอกสั่นขวัญหายกับอาวุธ มหาประลัยชนิดนี้อีกเลย โลกมาเขาใจถึงความรูสึกของทีมงานวิจัยอาวุธสังหารไดดีขึ้นในอีก 20 ปใหหลัง เมื่อ ฟรีแมน ไดสัน ซึ่งเปนหนึ่งในทีมวิจัยทรีนิตี้ไดตีพิมพหนังสือชื่อ "The Day After Trinity" ออกมา โดยสรุปวาทัศนะความเชื่อแบบ นักวิทยาศาสตร (scientific attitudes) นั่นแหละคือสวนผสมสําคัญที่ทําใหอาวุธนิวเคลียรถูกกอกําเนิดขึ้น เขากลาวา "โดยความรูสึกของตัวผมเองนั้น ความกระจางของอาวุธนิวเคลียรนั้นชางเยายวนเหลือเกินเมื่อคุณมองมันดวยสายตา ของนักวิทยาศาสตร ลองจินตนาการดูวาคุณมีพลังงานอันมหาศาลอยูในมือ พลังงานที่อาจจะปลดปลอยใหกับกลุม ดาว พลังที่เพิ่มอํานาจการตอรอง พลังงานที่จะสรางสิ่งมหัศจรรย พลังงานที่อาจจะเหวี่ยงภูผาหนักเปนลานๆ ตันขึ้น ไปบนอากาศ มันเปนสิ่งที่สรางภาพหลอนเรื่องอํานาจไรขีดจํากัดใหแกผูคน ซึ่งถามองในอีกแงหนึ่งมันคือที่มาของ ปญหานานับประการที่มนุษยโลกเรากําลังเผชิญอยูในขณะนี้ มันคือสิ่งที่คุณอาจจะเรียกมันวาความยโสจาก เทคโนโลยี (Technical Arrogance) ซึ่งเขาครอบงํา ผูคนในขณะที่เริ่มรูวาจะทําอะไรกับความคิดของตัวเองได บาง"8 นับถอยหลังสูวันพิพากษา ดวยความตระหนักในการคุกคามจากภัย นิวเคลียร ทําใหกองบรรณาธิการวารสาร The Bulletin