SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 4
Downloaden Sie, um offline zu lesen
หนา ๒
เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๑๕๐ ง               ราชกิจจานุเบกษา                 ๒๘ ธันวาคม ๒๕๔๘

                           ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
                                (ฉบับที่ ๒๙๓) พ.ศ. ๒๕๔๘
                                 เรื่อง ผลิตภัณฑเสริมอาหาร

           เพื่อเปน การคุม ครองผูบริโภคจากการบริโภคผลิตภัณฑเสริม อาหาร และกําหนดเงื่อ นไข
การใหขอมูลผลิตภัณฑใหถูกตองตามหลักวิชาการ
           อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ และมาตรา ๖ (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๑๐) แหง
พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. ๒๕๒๒ อันเปนกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัด
สิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๕ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๘ และ
มาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติ
แหงกฎหมาย รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขออกประกาศไว ดังตอไปนี้
           ขอ ๑ ใหยกเลิกประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ ๒๔๒) พ.ศ. ๒๕๔๔ เรื่อง
ผลิตภัณฑกระเทียม ลงวันที่ ๒๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๔
           ขอ ๒ ผลิตภัณฑเสริมอาหาร หมายความวา ผลิตภัณฑที่ใ ชรับประทานนอกเหนือจาก
การรับประทานอาหารตามปกติ ซึ่งมีสารอาหารหรือสารอื่นเปนองคประกอบ อยูในรูปแบบเม็ด แคปซูล
ผง เกล็ด ของเหลวหรือลักษณะอื่น ซึ่งมิใชรูปแบบอาหารตามปกติ (conventional foods) สําหรับ
ผูบริโภคที่คาดหวังประโยชนทางดานสงเสริมสุขภาพ
           ขอ ๓ ในประกาศนี้ สารอาหารหรือสารอื่น หมายถึง
           (๑) วิตามิน กรดอะมิโน กรดไขมัน แรธาตุ และผลิตผลจากพืชหรือสัตว
           (๒) สารเขมขน สารเมตาโบไลท สวนประกอบ หรือสารสกัดของสารใน (๑)
           (๓) สารสังเคราะหเลียนแบบสารตาม (๑) หรือ (๒)
           (๔) สวนผสมอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางของสารใน (๑) (๒) หรือ (๓)
           (๕) สารหรือสิ่งอื่นตามที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาประกาศกําหนด โดยความเห็นชอบ
ของคณะกรรมการอาหาร
           ขอ ๔ ใหผลิตภัณฑเสริมอาหาร เปนอาหารที่กําหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน และฉลาก
ตองไดรบอนุญาตกอนนําไปใช
         ั
           การขออนุญาตฉลากกอนนําไปใช ใหดําเนินการดังนี้
หนา ๓
เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๑๕๐ ง                           ราชกิจจานุเบกษา                          ๒๘ ธันวาคม ๒๕๔๘
            (๑) ยื่นจดทะเบียนอาหาร สําหรับผลิตภัณฑเสริมอาหารที่ผลิตเพื่อจําหนายในการสงออก
หรือผลิตภัณฑเสริมอาหารที่มีสวนประกอบที่สําคัญเปนไปตามบัญชีรายชื่อที่สํานักงานคณะกรรมการ
อาหารและยาประกาศกําหนด โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอาหาร
            (๒) ยื่ น ขออนุ ญ าตใช ฉ ลาก สํ า หรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ เ สริ ม อาหารที่ มี ส ว นประกอบที่ สํ า คั ญ
นอกเหนือจากที่กําหนดใน (๑) โดยแสดงหลักฐานและเอกสารประกอบการยื่นขออนุญาตใชฉลาก
ให เ ปน ไปตามที่ สํ า นัก งานคณะกรรมการอาหารและยาประกาศกํ า หนด โดยความเห็น ชอบของ
คณะกรรมการอาหาร
            ขอ ๕ ผลิตภัณฑเสริมอาหาร ตองมีคุณภาพหรือมาตรฐาน ดังตอไปนี้
            (๑) มีคุณลักษณะเฉพาะตามชนิดของผลิตภัณฑนั้น ๆ
            (๒) ตรวจพบจุลินทรียที่ทําใหเกิดโรคได ไมเกินปริมาณที่สํานักงานคณะกรรมการอาหาร
และยาประกาศกําหนด โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอาหาร
            (๓) ตรวจพบแบคทีเรียชนิด อี.โคไล (Escherichia coli) นอยกวา ๓ ตออาหาร ๑ กรัม
โดยวิธี เอ็ม พี เอ็น (Most Probable Number)
            (๔) ตรวจพบสารเปนพิษจากจุลินทรีย สารพิษตกคาง สารเปนพิษอื่น สารปนเปอน หรือ
ยาสัตวตกคางได ไมเกินปริมาณที่กาหนดในประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยการนั้น แลวแตกรณี
                                        ํ
            (๕) มี ป ริ ม าณวิ ต ามิ น หรื อ แร ธ าตุ ไ ม น อ ยกว า ร อ ยละสิ บ ห า และไม เ กิ น ปริ ม าณสู ง สุ ด
ที่ กํ า หนดในบั ญ ชี ส ารอาหารที่ แ นะนํ า ให บ ริ โ ภคประจํ า วั น สํ า หรั บ คนไทยอายุ ตั้ ง แต ห กป ขึ้ น ไป
(Thai RDI) สําหรับผลิตภัณฑเสริมอาหารที่มีวัตถุประสงคเพื่อใหวิตามินหรือแรธาตุ ทั้งนี้วิตามินหรือ
แรธาตุที่ยังไมไดกําหนดไว ใหเปน ไปตามที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาประกาศกําหนด
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอาหาร
            ขอ ๖ การใชวัตถุเจือปนอาหาร ใหปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่อง
วัตถุเจือปนอาหาร
            ขอ ๗ ผูผ ลิตหรือผูนําเขาผลิตภัณฑเสริม อาหารเพื่อจําหนาย ตองปฏิบัติตามประกาศ
กระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใชในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร
            ขอ ๘ การใชภาชนะบรรจุผลิตภัณฑเสริมอาหาร ใหปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข
วาดวยเรื่อง ภาชนะบรรจุ
หนา ๔
เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๑๕๐ ง                   ราชกิจจานุเบกษา                   ๒๘ ธันวาคม ๒๕๔๘
          ขอ ๙ การแสดงฉลากของผลิ ต ภั ณ ฑ เ สริ ม อาหาร ให ป ฏิ บั ติ ต ามประกาศกระทรวง
สาธารณสุ ขว าด วยเรื่อ ง ฉลาก ยกเว น การปฏิ บัติต ามขอ ๓ และข อ ๕ ของประกาศกระทรวง
สาธารณสุ ข (ฉบับ ที่ ๑๙๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ เรื่อง ฉลาก ลงวัน ที่ ๑๙ กั น ยายน พ.ศ. ๒๕๔๓
ซึ่งแกไขเพิ่ม เติม โดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ ๒๕๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ เรื่อง ฉลาก
(ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ ใหปฏิบัติตามขอ ๑๐ และขอ ๑๒ ของประกาศนี้
          ขอ ๑๐ การแสดงฉลากของผลิตภัณฑเสริมอาหารที่จําหนายตอผูบริโภค ตองมีขอความ
เปนภาษาไทย แตจะมีภาษาตางประเทศดวยก็ได และตองมีขอความแสดงรายละเอียด ดังตอไปนี้
          (๑) ชื่ออาหาร โดยมีคําวา “ผลิตภัณฑเสริมอาหาร” เปนสวนหนึ่งของชื่ออาหาร หรือกํากับ
ชื่ออาหาร
          (๒) เลขสารบบอาหาร
          (๓) ชื่อและที่ตั้งของผูผลิตหรือผูนําเขา แลวแตกรณีดังนี้
                 (๓.๑) สําหรับอาหารที่ผลิตในประเทศ ใหแสดงชื่อและที่ตั้งของผูผลิตหรือของผูแบงบรรจุ
เพื่อจําหนาย ทั้งนี้อาจแสดงชื่อและที่ตั้งสํานักงานใหญของผูผลิตหรือของผูแบงบรรจุแทนก็ได
                 (๓.๒) สําหรับอาหารที่นําเขา ใหแสดงชื่อและที่ตั้งของผูนําเขาและประเทศผูผลิต
          (๔) ปริมาณของผลิตภัณฑเสริมอาหารที่บรรจุ แลวแตกรณี ดังนี้
                 (๔.๑) ผลิตภัณฑเสริมอาหารที่อยูในรูปเม็ดหรือแคปซูล ใหแสดงจํานวนบรรจุ
                 (๔.๒) ผลิตภัณฑเสริมอาหารที่เปนของเหลว ใหแสดงปริมาตรสุทธิ
                 (๔.๓) ผลิตภัณฑเสริมอาหารที่เปนของแข็งหรืออื่น ๆ ใหแสดงน้ําหนักสุทธิ
          (๕) ชื่อและปริมาณของสวนประกอบสําคัญของผลิตภัณฑเสริมอาหาร และสวนประกอบ
ที่มการกลาวอางสรรพคุณ คุณประโยชน ในฉลากของผลิตภัณฑเสริมอาหาร
     ี
          (๖) ขอความวา “ใชวัตถุกันเสีย” ถามีการใช
          (๗) ขอความวา “เจือสีธรรมชาติ” หรือ “เจือสีสังเคราะห” ถามีการใช แลวแตกรณี
          (๘) ขอความวา “แตงกลิ่นธรรมชาติ” “แตงกลิ่นเลียนธรรมชาติ” “แตงกลิ่นสังเคราะห”
“แตงรสธรรมชาติ” หรือ “แตงรสเลียนธรรมชาติ” ถามีการใช แลวแตกรณี
          (๙) ขอความชัดเจนวา “การไดรับสารอาหารตาง ๆ นั้น ควรไดจากการบริโภคอาหารหลัก
ที่หลากชนิดครบทั้ง ๕ หมู และเปนสัดสวนที่พอเหมาะ”
         (๑๐) คําแนะนําในการใช
หนา ๕
เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๑๕๐ ง                        ราชกิจจานุเบกษา                       ๒๘ ธันวาคม ๒๕๔๘
          (๑๑) คําแนะนําในการเก็บรักษา (ถามี)
          (๑๒) วัน เดือนและปที่หมดอายุการบริโภค หรือ วันเดือ นและปที่อาหารยังมีคุณภาพหรือ
มาตรฐานดี สําหรับผลิตภัณฑเสริมอาหารที่เก็บไวไดไมเกิน ๙๐ วัน เดือนและปที่ผลิตและเดือน
และปท่หมดอายุการบริโภค หรือ เดือนและปที่อาหารยังมีคุณภาพหรือมาตรฐานดี สําหรับผลิตภัณฑ
        ี
เสริมอาหารที่เก็บไวไดเกิน ๙๐ วัน โดยมีขอความวา “ผลิต” “หมดอายุ” หรือ “ควรบริโภคกอน”
กํากับไวดวย แลวแตกรณี และแสดงวันเดือนปเรียงตามลําดับ
          การแสดงขอ ความตาม (๑๒) ไวที่ ดานลางของภาชนะบรรจุ ตอ งมีข อความที่ ฉลากระบุ
ตําแหนงที่แสดงขอความดังกลาวดวย
          (๑๓) คําเตือนการบริโภคผลิตภัณฑเสริมอาหาร ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวย
เรื่อง การกลาวอางทางสุขภาพ (Health claim) และคําเตือนการบริโภคอาหาร
           ขอ ๑๑ การแสดงขอความกลาวอางทางสุขภาพ (Health claim) บนฉลาก ตองเปนไปตาม
ประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่อง การกลาวอางทางสุขภาพ (Health claim) ของอาหาร และคําเตือน
การบริโภคอาหาร
           ขอ ๑๒ ฉลากของผลิ ต ภั ณ ฑ เ สริ ม อาหารที่ มิ ไ ด จํ า หน า ยต อ ผู บ ริ โ ภค ต อ งมี ข อ ความ
เปน ภาษาไทย เวนแตผ ลิตภัณฑเสริม อาหารที่นําเขา อาจแสดงขอความเปนภาษาอังกฤษก็ได และ
อยางนอยตองมีขอความแสดงรายละเอียดตามขอ ๑๐ (๑) (๒) (๓) และ (๔)
           ขอ ๑๓ ให ผูผ ลิต ผู นํา เขา ที่ ได รับ อนุญ าตใหใ ชฉ ลากของผลิ ตภั ณฑ ก ระเที ย ม หรื อ
ผลิตภัณฑเสริม อาหาร อยูกอ นวัน ที่ประกาศนี้ใชบังคับถือวาไดรับอนุญาตตามประกาศนี้แ ลว ถามี
รายละเอียดไมเปนไปตามประกาศใหแกไขใหเปนไปตามประกาศ ภายในสองป นับแตวันที่ประกาศนี้
ใชบังคับ และใหใชฉลากเดิมที่เหลืออยูตอไปได แตตองไมเกินสองป นับแตวันที่ประกาศนี้ใชบังคับ
           ขอ ๑๔ ประกาศนี้ ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวัน นับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

                                          ประกาศ ณ วันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๘
                                                       อนุทิน ชาญวีรกูล
                                            รัฐมนตรีชวยวาการฯ ปฏิบัติราชการแทน
                                               รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
Chuong trinh dao tao thac si duoc hoc
Chuong trinh dao tao thac si duoc hocChuong trinh dao tao thac si duoc hoc
Chuong trinh dao tao thac si duoc hocNguyen Ha
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4Surang Judistprasert
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิต ของรพ.พิมาย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิต ของรพ.พิมายแนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิต ของรพ.พิมาย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิต ของรพ.พิมายUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือแนวทางการพัฒนาระบบบรอการสุขภาพ สาขาการใช้กัญชาทางการแพทย์
คู่มือแนวทางการพัฒนาระบบบรอการสุขภาพ สาขาการใช้กัญชาทางการแพทย์คู่มือแนวทางการพัฒนาระบบบรอการสุขภาพ สาขาการใช้กัญชาทางการแพทย์
คู่มือแนวทางการพัฒนาระบบบรอการสุขภาพ สาขาการใช้กัญชาทางการแพทย์Cotton On
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการวินิจฉัยและการรักษาผูปวย ที่มีการติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร...
แนวทางเวชปฏิบัติในการวินิจฉัยและการรักษาผูปวย ที่มีการติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร...แนวทางเวชปฏิบัติในการวินิจฉัยและการรักษาผูปวย ที่มีการติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร...
แนวทางเวชปฏิบัติในการวินิจฉัยและการรักษาผูปวย ที่มีการติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
DISCUTÍVEL PERFEIÇÃO: UMA ANÁLISE DA CONSTRUÇÃO DE IMAGEM DA CANTORA SANDY -...
DISCUTÍVEL PERFEIÇÃO: UMA ANÁLISE DA CONSTRUÇÃO DE  IMAGEM DA CANTORA SANDY -...DISCUTÍVEL PERFEIÇÃO: UMA ANÁLISE DA CONSTRUÇÃO DE  IMAGEM DA CANTORA SANDY -...
DISCUTÍVEL PERFEIÇÃO: UMA ANÁLISE DA CONSTRUÇÃO DE IMAGEM DA CANTORA SANDY -...Diego Moreau
 
พ๊อพเพอร์เซิล รายการ Rail away
พ๊อพเพอร์เซิล รายการ Rail awayพ๊อพเพอร์เซิล รายการ Rail away
พ๊อพเพอร์เซิล รายการ Rail awayanchaket
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Diseaseโรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney DiseaseCAPD AngThong
 
การตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร
การตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร
การตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรNakhonratchasima Provincial of public health office
 
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วยทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วยUtai Sukviwatsirikul
 
เคมีของทีม Team chemistry
เคมีของทีม Team chemistry เคมีของทีม Team chemistry
เคมีของทีม Team chemistry maruay songtanin
 

Was ist angesagt? (20)

Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
Chuong trinh dao tao thac si duoc hoc
Chuong trinh dao tao thac si duoc hocChuong trinh dao tao thac si duoc hoc
Chuong trinh dao tao thac si duoc hoc
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิต ของรพ.พิมาย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิต ของรพ.พิมายแนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิต ของรพ.พิมาย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิต ของรพ.พิมาย
 
คู่มือแนวทางการพัฒนาระบบบรอการสุขภาพ สาขาการใช้กัญชาทางการแพทย์
คู่มือแนวทางการพัฒนาระบบบรอการสุขภาพ สาขาการใช้กัญชาทางการแพทย์คู่มือแนวทางการพัฒนาระบบบรอการสุขภาพ สาขาการใช้กัญชาทางการแพทย์
คู่มือแนวทางการพัฒนาระบบบรอการสุขภาพ สาขาการใช้กัญชาทางการแพทย์
 
Home visit palliative care
 Home visit   palliative care Home visit   palliative care
Home visit palliative care
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการวินิจฉัยและการรักษาผูปวย ที่มีการติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร...
แนวทางเวชปฏิบัติในการวินิจฉัยและการรักษาผูปวย ที่มีการติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร...แนวทางเวชปฏิบัติในการวินิจฉัยและการรักษาผูปวย ที่มีการติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร...
แนวทางเวชปฏิบัติในการวินิจฉัยและการรักษาผูปวย ที่มีการติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
DISCUTÍVEL PERFEIÇÃO: UMA ANÁLISE DA CONSTRUÇÃO DE IMAGEM DA CANTORA SANDY -...
DISCUTÍVEL PERFEIÇÃO: UMA ANÁLISE DA CONSTRUÇÃO DE  IMAGEM DA CANTORA SANDY -...DISCUTÍVEL PERFEIÇÃO: UMA ANÁLISE DA CONSTRUÇÃO DE  IMAGEM DA CANTORA SANDY -...
DISCUTÍVEL PERFEIÇÃO: UMA ANÁLISE DA CONSTRUÇÃO DE IMAGEM DA CANTORA SANDY -...
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
 
พ๊อพเพอร์เซิล รายการ Rail away
พ๊อพเพอร์เซิล รายการ Rail awayพ๊อพเพอร์เซิล รายการ Rail away
พ๊อพเพอร์เซิล รายการ Rail away
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Diseaseโรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
 
การตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร
การตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร
การตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร
 
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วยทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
 
DHFสอนปี2561.ppt
DHFสอนปี2561.pptDHFสอนปี2561.ppt
DHFสอนปี2561.ppt
 
เคมีของทีม Team chemistry
เคมีของทีม Team chemistry เคมีของทีม Team chemistry
เคมีของทีม Team chemistry
 

Ähnlich wie ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร

ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrineความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ PseudoephedrineSurang Judistprasert
 
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13Utai Sukviwatsirikul
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...Vorawut Wongumpornpinit
 
พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ.2522 พร้อมกฎกระทรวงและประกาศกระทรวงสาธารณสุข
พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ.2522 พร้อมกฎกระทรวงและประกาศกระทรวงสาธารณสุขพ.ร.บ.อาหาร พ.ศ.2522 พร้อมกฎกระทรวงและประกาศกระทรวงสาธารณสุข
พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ.2522 พร้อมกฎกระทรวงและประกาศกระทรวงสาธารณสุขVorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...Vorawut Wongumpornpinit
 
อ่านฉลาก
อ่านฉลากอ่านฉลาก
อ่านฉลากNok Tiwung
 
บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56
บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56
บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56Supanan Inphlang
 
Ratchakitcha1 56 บัญชียาหลักแห่งชาติ รวม
Ratchakitcha1 56 บัญชียาหลักแห่งชาติ รวมRatchakitcha1 56 บัญชียาหลักแห่งชาติ รวม
Ratchakitcha1 56 บัญชียาหลักแห่งชาติ รวมVorawut Wongumpornpinit
 
เนื้อหาบท4กฎหมาย
เนื้อหาบท4กฎหมายเนื้อหาบท4กฎหมาย
เนื้อหาบท4กฎหมายGawewat Dechaapinun
 
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556Utai Sukviwatsirikul
 
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...Vorawut Wongumpornpinit
 
ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลัก...
ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลัก...ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลัก...
ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลัก...Vorawut Wongumpornpinit
 

Ähnlich wie ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร (17)

ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrineความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
 
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
 
พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ.2522 พร้อมกฎกระทรวงและประกาศกระทรวงสาธารณสุข
พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ.2522 พร้อมกฎกระทรวงและประกาศกระทรวงสาธารณสุขพ.ร.บ.อาหาร พ.ศ.2522 พร้อมกฎกระทรวงและประกาศกระทรวงสาธารณสุข
พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ.2522 พร้อมกฎกระทรวงและประกาศกระทรวงสาธารณสุข
 
Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555
 
Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555
 
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
 
อ่านฉลาก
อ่านฉลากอ่านฉลาก
อ่านฉลาก
 
บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56
บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56
บัญชียาหลักแห่งชาติ 30 กย 56
 
Ratchakitcha1 56 บัญชียาหลักแห่งชาติ รวม
Ratchakitcha1 56 บัญชียาหลักแห่งชาติ รวมRatchakitcha1 56 บัญชียาหลักแห่งชาติ รวม
Ratchakitcha1 56 บัญชียาหลักแห่งชาติ รวม
 
เนื้อหาบท4กฎหมาย
เนื้อหาบท4กฎหมายเนื้อหาบท4กฎหมาย
เนื้อหาบท4กฎหมาย
 
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
 
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
 
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
 
News4vol5
News4vol5News4vol5
News4vol5
 
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
 
ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลัก...
ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลัก...ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลัก...
ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลัก...
 

Mehr von Surang Judistprasert

Mehr von Surang Judistprasert (17)

Application of biopharmaceutics classification system in formulation developm...
Application of biopharmaceutics classification system in formulation developm...Application of biopharmaceutics classification system in formulation developm...
Application of biopharmaceutics classification system in formulation developm...
 
7 qcdoe
7 qcdoe7 qcdoe
7 qcdoe
 
Quality by design vs control strategy
Quality by design vs control strategyQuality by design vs control strategy
Quality by design vs control strategy
 
Introduction to innovation management
Introduction to innovation managementIntroduction to innovation management
Introduction to innovation management
 
Culture of-quality
Culture of-qualityCulture of-quality
Culture of-quality
 
Import be 5 55
Import be 5 55Import be 5 55
Import be 5 55
 
2011 drug system_report
2011 drug system_report2011 drug system_report
2011 drug system_report
 
TFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvementTFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvement
 
Program roadmap14 final
Program roadmap14 finalProgram roadmap14 final
Program roadmap14 final
 
Soft gelatin capsule
Soft gelatin capsuleSoft gelatin capsule
Soft gelatin capsule
 
Ketoconazole and hepatotoxic
Ketoconazole and hepatotoxicKetoconazole and hepatotoxic
Ketoconazole and hepatotoxic
 
News 2011 Pseudo/tripro tablets
News 2011 Pseudo/tripro tabletsNews 2011 Pseudo/tripro tablets
News 2011 Pseudo/tripro tablets
 
TQM & Pharma industry
TQM & Pharma industryTQM & Pharma industry
TQM & Pharma industry
 
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมจรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
 
IVIVC topical dosage form
IVIVC topical dosage formIVIVC topical dosage form
IVIVC topical dosage form
 
Bioequivalence in adv.
Bioequivalence in adv.Bioequivalence in adv.
Bioequivalence in adv.
 
Basic bioequivalence
Basic bioequivalenceBasic bioequivalence
Basic bioequivalence
 

ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร

  • 1. หนา ๒ เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๑๕๐ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๘ ธันวาคม ๒๕๔๘ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ ๒๙๓) พ.ศ. ๒๕๔๘ เรื่อง ผลิตภัณฑเสริมอาหาร เพื่อเปน การคุม ครองผูบริโภคจากการบริโภคผลิตภัณฑเสริม อาหาร และกําหนดเงื่อ นไข การใหขอมูลผลิตภัณฑใหถูกตองตามหลักวิชาการ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ และมาตรา ๖ (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๑๐) แหง พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. ๒๕๒๒ อันเปนกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัด สิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๕ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๘ และ มาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติ แหงกฎหมาย รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขออกประกาศไว ดังตอไปนี้ ขอ ๑ ใหยกเลิกประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ ๒๔๒) พ.ศ. ๒๕๔๔ เรื่อง ผลิตภัณฑกระเทียม ลงวันที่ ๒๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๔ ขอ ๒ ผลิตภัณฑเสริมอาหาร หมายความวา ผลิตภัณฑที่ใ ชรับประทานนอกเหนือจาก การรับประทานอาหารตามปกติ ซึ่งมีสารอาหารหรือสารอื่นเปนองคประกอบ อยูในรูปแบบเม็ด แคปซูล ผง เกล็ด ของเหลวหรือลักษณะอื่น ซึ่งมิใชรูปแบบอาหารตามปกติ (conventional foods) สําหรับ ผูบริโภคที่คาดหวังประโยชนทางดานสงเสริมสุขภาพ ขอ ๓ ในประกาศนี้ สารอาหารหรือสารอื่น หมายถึง (๑) วิตามิน กรดอะมิโน กรดไขมัน แรธาตุ และผลิตผลจากพืชหรือสัตว (๒) สารเขมขน สารเมตาโบไลท สวนประกอบ หรือสารสกัดของสารใน (๑) (๓) สารสังเคราะหเลียนแบบสารตาม (๑) หรือ (๒) (๔) สวนผสมอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางของสารใน (๑) (๒) หรือ (๓) (๕) สารหรือสิ่งอื่นตามที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาประกาศกําหนด โดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการอาหาร ขอ ๔ ใหผลิตภัณฑเสริมอาหาร เปนอาหารที่กําหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน และฉลาก ตองไดรบอนุญาตกอนนําไปใช ั การขออนุญาตฉลากกอนนําไปใช ใหดําเนินการดังนี้
  • 2. หนา ๓ เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๑๕๐ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๘ ธันวาคม ๒๕๔๘ (๑) ยื่นจดทะเบียนอาหาร สําหรับผลิตภัณฑเสริมอาหารที่ผลิตเพื่อจําหนายในการสงออก หรือผลิตภัณฑเสริมอาหารที่มีสวนประกอบที่สําคัญเปนไปตามบัญชีรายชื่อที่สํานักงานคณะกรรมการ อาหารและยาประกาศกําหนด โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอาหาร (๒) ยื่ น ขออนุ ญ าตใช ฉ ลาก สํ า หรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ เ สริ ม อาหารที่ มี ส ว นประกอบที่ สํ า คั ญ นอกเหนือจากที่กําหนดใน (๑) โดยแสดงหลักฐานและเอกสารประกอบการยื่นขออนุญาตใชฉลาก ให เ ปน ไปตามที่ สํ า นัก งานคณะกรรมการอาหารและยาประกาศกํ า หนด โดยความเห็น ชอบของ คณะกรรมการอาหาร ขอ ๕ ผลิตภัณฑเสริมอาหาร ตองมีคุณภาพหรือมาตรฐาน ดังตอไปนี้ (๑) มีคุณลักษณะเฉพาะตามชนิดของผลิตภัณฑนั้น ๆ (๒) ตรวจพบจุลินทรียที่ทําใหเกิดโรคได ไมเกินปริมาณที่สํานักงานคณะกรรมการอาหาร และยาประกาศกําหนด โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอาหาร (๓) ตรวจพบแบคทีเรียชนิด อี.โคไล (Escherichia coli) นอยกวา ๓ ตออาหาร ๑ กรัม โดยวิธี เอ็ม พี เอ็น (Most Probable Number) (๔) ตรวจพบสารเปนพิษจากจุลินทรีย สารพิษตกคาง สารเปนพิษอื่น สารปนเปอน หรือ ยาสัตวตกคางได ไมเกินปริมาณที่กาหนดในประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยการนั้น แลวแตกรณี ํ (๕) มี ป ริ ม าณวิ ต ามิ น หรื อ แร ธ าตุ ไ ม น อ ยกว า ร อ ยละสิ บ ห า และไม เ กิ น ปริ ม าณสู ง สุ ด ที่ กํ า หนดในบั ญ ชี ส ารอาหารที่ แ นะนํ า ให บ ริ โ ภคประจํ า วั น สํ า หรั บ คนไทยอายุ ตั้ ง แต ห กป ขึ้ น ไป (Thai RDI) สําหรับผลิตภัณฑเสริมอาหารที่มีวัตถุประสงคเพื่อใหวิตามินหรือแรธาตุ ทั้งนี้วิตามินหรือ แรธาตุที่ยังไมไดกําหนดไว ใหเปน ไปตามที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาประกาศกําหนด โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอาหาร ขอ ๖ การใชวัตถุเจือปนอาหาร ใหปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่อง วัตถุเจือปนอาหาร ขอ ๗ ผูผ ลิตหรือผูนําเขาผลิตภัณฑเสริม อาหารเพื่อจําหนาย ตองปฏิบัติตามประกาศ กระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใชในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร ขอ ๘ การใชภาชนะบรรจุผลิตภัณฑเสริมอาหาร ใหปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข วาดวยเรื่อง ภาชนะบรรจุ
  • 3. หนา ๔ เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๑๕๐ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๘ ธันวาคม ๒๕๔๘ ขอ ๙ การแสดงฉลากของผลิ ต ภั ณ ฑ เ สริ ม อาหาร ให ป ฏิ บั ติ ต ามประกาศกระทรวง สาธารณสุ ขว าด วยเรื่อ ง ฉลาก ยกเว น การปฏิ บัติต ามขอ ๓ และข อ ๕ ของประกาศกระทรวง สาธารณสุ ข (ฉบับ ที่ ๑๙๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ เรื่อง ฉลาก ลงวัน ที่ ๑๙ กั น ยายน พ.ศ. ๒๕๔๓ ซึ่งแกไขเพิ่ม เติม โดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ ๒๕๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ เรื่อง ฉลาก (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ ใหปฏิบัติตามขอ ๑๐ และขอ ๑๒ ของประกาศนี้ ขอ ๑๐ การแสดงฉลากของผลิตภัณฑเสริมอาหารที่จําหนายตอผูบริโภค ตองมีขอความ เปนภาษาไทย แตจะมีภาษาตางประเทศดวยก็ได และตองมีขอความแสดงรายละเอียด ดังตอไปนี้ (๑) ชื่ออาหาร โดยมีคําวา “ผลิตภัณฑเสริมอาหาร” เปนสวนหนึ่งของชื่ออาหาร หรือกํากับ ชื่ออาหาร (๒) เลขสารบบอาหาร (๓) ชื่อและที่ตั้งของผูผลิตหรือผูนําเขา แลวแตกรณีดังนี้ (๓.๑) สําหรับอาหารที่ผลิตในประเทศ ใหแสดงชื่อและที่ตั้งของผูผลิตหรือของผูแบงบรรจุ เพื่อจําหนาย ทั้งนี้อาจแสดงชื่อและที่ตั้งสํานักงานใหญของผูผลิตหรือของผูแบงบรรจุแทนก็ได (๓.๒) สําหรับอาหารที่นําเขา ใหแสดงชื่อและที่ตั้งของผูนําเขาและประเทศผูผลิต (๔) ปริมาณของผลิตภัณฑเสริมอาหารที่บรรจุ แลวแตกรณี ดังนี้ (๔.๑) ผลิตภัณฑเสริมอาหารที่อยูในรูปเม็ดหรือแคปซูล ใหแสดงจํานวนบรรจุ (๔.๒) ผลิตภัณฑเสริมอาหารที่เปนของเหลว ใหแสดงปริมาตรสุทธิ (๔.๓) ผลิตภัณฑเสริมอาหารที่เปนของแข็งหรืออื่น ๆ ใหแสดงน้ําหนักสุทธิ (๕) ชื่อและปริมาณของสวนประกอบสําคัญของผลิตภัณฑเสริมอาหาร และสวนประกอบ ที่มการกลาวอางสรรพคุณ คุณประโยชน ในฉลากของผลิตภัณฑเสริมอาหาร ี (๖) ขอความวา “ใชวัตถุกันเสีย” ถามีการใช (๗) ขอความวา “เจือสีธรรมชาติ” หรือ “เจือสีสังเคราะห” ถามีการใช แลวแตกรณี (๘) ขอความวา “แตงกลิ่นธรรมชาติ” “แตงกลิ่นเลียนธรรมชาติ” “แตงกลิ่นสังเคราะห” “แตงรสธรรมชาติ” หรือ “แตงรสเลียนธรรมชาติ” ถามีการใช แลวแตกรณี (๙) ขอความชัดเจนวา “การไดรับสารอาหารตาง ๆ นั้น ควรไดจากการบริโภคอาหารหลัก ที่หลากชนิดครบทั้ง ๕ หมู และเปนสัดสวนที่พอเหมาะ” (๑๐) คําแนะนําในการใช
  • 4. หนา ๕ เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๑๕๐ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๘ ธันวาคม ๒๕๔๘ (๑๑) คําแนะนําในการเก็บรักษา (ถามี) (๑๒) วัน เดือนและปที่หมดอายุการบริโภค หรือ วันเดือ นและปที่อาหารยังมีคุณภาพหรือ มาตรฐานดี สําหรับผลิตภัณฑเสริมอาหารที่เก็บไวไดไมเกิน ๙๐ วัน เดือนและปที่ผลิตและเดือน และปท่หมดอายุการบริโภค หรือ เดือนและปที่อาหารยังมีคุณภาพหรือมาตรฐานดี สําหรับผลิตภัณฑ ี เสริมอาหารที่เก็บไวไดเกิน ๙๐ วัน โดยมีขอความวา “ผลิต” “หมดอายุ” หรือ “ควรบริโภคกอน” กํากับไวดวย แลวแตกรณี และแสดงวันเดือนปเรียงตามลําดับ การแสดงขอ ความตาม (๑๒) ไวที่ ดานลางของภาชนะบรรจุ ตอ งมีข อความที่ ฉลากระบุ ตําแหนงที่แสดงขอความดังกลาวดวย (๑๓) คําเตือนการบริโภคผลิตภัณฑเสริมอาหาร ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวย เรื่อง การกลาวอางทางสุขภาพ (Health claim) และคําเตือนการบริโภคอาหาร ขอ ๑๑ การแสดงขอความกลาวอางทางสุขภาพ (Health claim) บนฉลาก ตองเปนไปตาม ประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่อง การกลาวอางทางสุขภาพ (Health claim) ของอาหาร และคําเตือน การบริโภคอาหาร ขอ ๑๒ ฉลากของผลิ ต ภั ณ ฑ เ สริ ม อาหารที่ มิ ไ ด จํ า หน า ยต อ ผู บ ริ โ ภค ต อ งมี ข อ ความ เปน ภาษาไทย เวนแตผ ลิตภัณฑเสริม อาหารที่นําเขา อาจแสดงขอความเปนภาษาอังกฤษก็ได และ อยางนอยตองมีขอความแสดงรายละเอียดตามขอ ๑๐ (๑) (๒) (๓) และ (๔) ขอ ๑๓ ให ผูผ ลิต ผู นํา เขา ที่ ได รับ อนุญ าตใหใ ชฉ ลากของผลิ ตภั ณฑ ก ระเที ย ม หรื อ ผลิตภัณฑเสริม อาหาร อยูกอ นวัน ที่ประกาศนี้ใชบังคับถือวาไดรับอนุญาตตามประกาศนี้แ ลว ถามี รายละเอียดไมเปนไปตามประกาศใหแกไขใหเปนไปตามประกาศ ภายในสองป นับแตวันที่ประกาศนี้ ใชบังคับ และใหใชฉลากเดิมที่เหลืออยูตอไปได แตตองไมเกินสองป นับแตวันที่ประกาศนี้ใชบังคับ ขอ ๑๔ ประกาศนี้ ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวัน นับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ อนุทิน ชาญวีรกูล รัฐมนตรีชวยวาการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข