SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 4
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ - Presentation Transcript<br />บทที่ 1 หลักการทั่วไปเกี่ยวกับ การบริหารราชการ <br />ความหมายของ “ การบริหารราชการ” (Public Administration) <br />“ การบริหารราชการ” อาจมีความหมายได้ทั้งมุมกว้างและมุมแคบ ในมุมกว้าง“การบริหารราชการ” หมายถึง กิจกรรมทุกประเภทของรัฐ ไม่ ว่าจะเป็นกิจกรรมในด้านนิติบัญญัติ บริหาร หรือตุลาการ นักวิชาการกลุ่มนี้ ได้แก่ ฟิลิกซ์ เอ นิโกร ( Felix A . Nigro ) และมาร์แชล ดิมอด ( Marshall Dimock ) <br />ในการมองแบบมุมแคบ จะหมายถึงเฉพาะกิจกรรมของฝ่ายบริหารในการดำเนินความพยายามให้หน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐประกอบกิจกรรมให้บรรลุเป้าหมายอย่างได้ผลที่สุด นักวิชาการกลุ่มนี้ ได้แก่ ลูเซอร์ กูลิค ( Luther Gulick ) เจมส์ ดับปลิวเฟสเลอร์ ( James W . Fesler ) และ เฮอร์เบิร์ต ไซมอน ( Herbert Simon ) <br />ความหมายของ “ การบริหารราชการ” (Public Administration) <br />ฟิลิกซ์ เอ นิโกร (Felix A. Nigro) กล่าวถึงการบริหารราชการว่า <br />1 .) เป็นความพยายามของกลุ่มที่จะร่วมมือกันปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐ <br />2 .) มีขอบเขตครอบคลุมถึงการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ และฝ่ายตุลาการ ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายทั้งสามนี้ <br />3 .) มีบทบาทสำคัญในการกำหนดนโยบายสาธารณะ การบริหารราชการจึงเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทางการเมือง <br />4 .) มีความแตกต่างจากการบริหารธุรกิจของเอกชน <br />5 .) เกี่ยวข้องกับกลุ่มเอกชนหลายกลุ่ม และปัจเจกชนหลายคนในอันที่จะจัดบริการให้แก่ชุมชน <br />ความหมายของ “ การบริหารราชการ” (Public Administration)  <br />เฮอร์เบิร์ต เอ ไซมอน (Herbert A Simon) หมายถึง กิจกรรมของฝ่ายบริหารไม่ว่าจะเป็นการปกครองส่วนกลาง การปกครองมลรัฐ หรือการปกครองท้องถิ่น ที่สำคัญก็คือ ไม่รวม เอางานของฝ่ายนิติบัญญัติและตุลาการเข้าไว้ด้วย <br />ความหมายของ “ การบริหารราชการ” (Public Administration) <br />ติน ปรัชญพฤทธิ์ และอิสระ สุวรรณมล กล่าวถึงคำว่า “ administration” ไว้ในปทานุกรมการบริหาร ( 2514 ) ว่ามาจากภาษาลาตินว่า “ administrare” ซึ่งแปลว่ารับใช้ การจัดการการปฏิบัติภารกิจ การอำนวยการ ( To serve, to manage, to conduct, to direct ) ในทางการบริหาร <br />เรามักจะเน้นความหมายของคำว่า “ administration” ไปในแง่ของการรับใช้ เพราะถือว่าข้าราชการต้องเป็นผู้รับใช้ประชาชน มิใช่เป็นเจ้านายของประชาชน <br />ความหมายของ “ การบริหารราชการ” (Public Administration) <br />ความเป็นมาของคำว่า “ ระบบราชการ” ( Bureaucracy ) <br />ระบบราชการที่จริงไม่ได้มีความหมายใหม่ มีความหมายเพียงว่า ไม่ใช่เป็นการปกครองแบบกษัตริย์ (mo narchy ) ไม่ใช่อภิชนาธิปไตย (aristocracy) หรือประชาธิปไตย (democracy) <br />แต่เป็นการปกครองโดยเจ้าหน้าที่ (rule of officials) <br />ในบางครั้งคำว่า “ Bureaucracy” จะหมายถึง “องค์การแบบราชการ” อันหมายถึง ระบบของความสัมพันธ์ในการบังคับบัญชา ซึ่งกำหนดโดยกฎระเบียบที่พัฒนาขึ้นอย่างสมเหตุสมผล <br />ความสำคัญของ “ การบริหารราชการ” <br />1 ) เป็นการนำนโยบายของรัฐไปปฏิบัติ ได้แก่ ขยายโอกาสหรือเพิ่มบริการในรูปบริการสาธารณะต่าง ๆ <br />- เพิ่มการป้องกันสวัสดิภาพของประชาชนในด้านต่าง ๆ <br />- การจัดระเบียบของสังคม <br />- กำหนดขอบเขตเสรีภาพการใช้จ่ายด้วยการจัดเก็บภาษี <br />- การค้นหาหรือลงโทษผู้กระทำผิดหรือขัดต่อกฎหมาย <br />- การยินยอมหรือปฏิเสธที่จะให้ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมบางอย่าง <br />- การบริหารกิจการกึ่งธุรกิจ เช่น การสาธารณูปโภค <br />- การดูแลและป้องกันประเทศและการต่างประเทศฯลฯ <br />ความสำคัญของ “ การบริหารราชการ” <br />2 ) มีส่วนในการกำหนดนโยบายทั้งในขั้นตอนก่อนที่ฝ่ายนิติบัญญัติ และหัวหน้าฝ่ายบริหารจะตัดสินใจกำหนดนโยบาย และหลังการกำหนดนโยบายแล้ว <br />3 ) เป็นกลไกสำคัญในการดำรงไว้และพัฒนาวัฒนธรรมของสังคม เป็นผู้กำหนดกิจกรรมของสังคม และเป็นส่วนหนึ่งของระบบเศรษฐกิจและสังคม <br />1.1 ) เป็นการบริหารในลักษณะที่เป็นกระบวนการปฏิบัติงาน (process) เหมือนกันทั้งภาคราชการ และธุรกิจ 1.2 ) แม้วัตถุประสงค์จุดมุ่งหมาย (goal) จะแตกต่าง แต่ก็มีลักษณะเป็นพลังความร่วมมือร่วมแรงร่วมใจปฏิบัติของกลุ่ม (cooperative group effort) 1.3) ล้วนต้องมีลักษณะในการปฏิบัติงานตามสภาพแวดล้อมของแต่ละองค์การไป 1.4 ) ประเภทกิจกรรมไม่สามารถขีดเส้นแบ่งได้ชัดเจน ราชการอาจมีส่วนด้วย เช่น ธุรกิจโทรคมนาคม เป็นต้น 1.5 ) ประเภทของทักษะ เทคนิค และกระบวนการทำงาน รวมทั้งความชำนาญของบุคลากรที่คล้ายกัน ความเหมือน <br />2.1 ) ภาพลักษณ์ (Image) - ภาคราชการล่าช้า ขั้นตอนมาก (Real Tape) ในขณะที่ภาคธุรกิจรวดเร็วและมีขั้นตอนการปฏิบัติที่ไม่ยุ่งยาก 2.2 ) วัตถุประสงค์ การบริหารธุรกิจเน้นมุ่งที่ผลกำไร (profit) ในขณะที่การบริหารราชการมุ่งในการจัดทำบริการสาธารณะ (public services) โดยมุ่งผลประโยชน์และความพอใจของประชาชนเป็นหลักใหญ่ 2.3 ) ความรับผิดชอบ การบริหารราชการรับผิดชอบต่อประชาชน แต่การบริหารธุรกิจรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้นหรือเจ้าของกิจกรรม 2.4 ) ทุน การบริหารราชการได้มาจากภาษีอากรเก็บจากประชาชน ส่วนการบริหารธุรกิจได้ทุนการดำเนินงานจากเงินของเอกชนผู้เป็นเจ้าของหรือผู้ถือหุ้น 2.5 ) การกำหนดราคาสินค้าและบริการ การบริหารราชการไม่ได้มุ่งกำไร แต่การบริหารธุรกิจต้องกำหนดราคาให้สูงพอสมควรที่จะให้มีกำไรเหลืออยู่ 2.6 ) คู่แข่งขัน การบริหารราชการปกติไม่มีผู้แข่งขัน แต่ทางด้านการบริหารธุรกิจมีคู่แข่งขันมาก แต่จะส่งผลดีที่ผู้บริโภคจะได้สินค้าและบริการที่ดี ราคาถูก 2.7 ) การคงอยู่ การบริหารราชการจะต้องมีอยู่ตราบเท่าที่การทำบริการสาธารณะในด้านนั้น ๆ แก่ประชาชน ไม่ว่าจะมีภาวะทางการเมืองเปลี่ยนแปลงไปเช่นไร แต่การบริหารธุรกิจอาจมีการล้มเลิก เปลี่ยนแปลงได้ง่ายกว่ามาก <br />ความรับผิดชอบและการควบคุมการบริหารราชการ <br />- ความรับผิดชอบในการบริหารราชการ หมายถึง การปฏิบัติหน้าที่อย่างถูกต้องตามทำนองคลองธรรม โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวมหรือผลประโยชน์ที่จะเกิดแก่สาธารณชน <br />- การควบคุมภายในวงราชการ แยกเป็น <br />การควบคุมความรับผิดชอบในการ ปฏิบัติงาน โดยการควบคุมด้านงบประมาณ โครงการและแผน การตรวจสอบและรายงาน ดับ ชั้นการบังคับบัญชา ผ่านกระบวนการบริหารงานบุคคล และการควบคุมความรับผิดชอบภายในตัวบุคคลเอง <br />- การควบคุมภายนอก แยกเป็น การควบคุมโดยฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายตุลาการ และจากประชาชนทั้งโดยตรง ผ่านสื่อมวลชน กลุ่มผลประโยชน์ พรรคการเมือง และกระบวนการร้องทุกข์ รวมทั้ง ผู้ตรวจการรัฐสภาหรือ Ombudsman <br />เม็กซ์ เวเบอร์ (Max Weber) <br />ทฤษฎีระบบราชการ (Bureaucratic Theory ) ได้เสนอความคิด การจัดองค์การแบบระบบราชการว่าเป็นวิธีที่มี ประสิทธิภาพที่สุด เหนือกว่าวิธีใดๆ การศึกษาแนวความคิดของเวเบอร์ควรพิจารณาประเด็นต่างๆดังนี้ <br />รูปแบบการใช้อำนาจ ( Authority ) <br />องค์ประกอบของระบบราชการ <br />ความวิเศษของระบบราชการ <br />รูปแบบการใช้อำนาจ ( Authority ) มี 3 รูปแบบ <br />1. อำนาจเฉพาะตัว ( Charismatic domination ) <br />2. อำนาจแบบประเพณี ( Traditional domination ) <br />3. อำนาจตามกฎหมาย ( Legal Domination ) <br />องค์ประกอบระบบราชการของเวเบอร์คือ <br />1. เน้นสายการบังคับบัญชาที่ชัดเจน Hierarchy <br />2. มีระเบียบ ขอบเขต การแบ่งอำนาจหน้าที่การทำงานอย่างเป็น ลายลักษณ์อักษร <br />3. ทำงานโดยยึดตัวบทกฎหมาย มีกฎระเบียบเคร่งครัด  System of Rules <br />4. ข้าราชการวางตัวเป็นกลาง Impartiality <br />5. การรับราชการถือเป็นอาชีพที่มั่นคง Security<br />
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5Saiiew
 
บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4Saiiew
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3Saiiew
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรประพันธ์ เวารัมย์
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์Thida Noodaeng
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการwiraja
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์wiraja
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยSaiiew
 
3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok
3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok
3. ทฤษฎีการขัดแย้ง okRose Banioki
 
Power point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power  point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้Power  point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้แอ้ม แอ้ม
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยMild Jirachaya
 
Organization environment
Organization environmentOrganization environment
Organization environmentKan Yuenyong
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 

Was ist angesagt? (20)

บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5
 
บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3
 
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
 
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
 
3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok
3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok
3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok
 
Power point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power  point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้Power  point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
 
Organization environment
Organization environmentOrganization environment
Organization environment
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 

Andere mochten auch

Andere mochten auch (9)

บริหารราชการไทย 6
บริหารราชการไทย 6บริหารราชการไทย 6
บริหารราชการไทย 6
 
ผลงานของ รปศ
ผลงานของ รปศผลงานของ รปศ
ผลงานของ รปศ
 
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยแนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
 
Paradigms of public administration
Paradigms of public administrationParadigms of public administration
Paradigms of public administration
 
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ การบริหาร
แนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ การบริหารแนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ การบริหาร
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ การบริหาร
 
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง  75 ข้อแนวข้อสอบจริง  75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
 
NEW PARADIGMS OF PUBLIC ADMINISTRATION
NEW PARADIGMS OF PUBLIC ADMINISTRATIONNEW PARADIGMS OF PUBLIC ADMINISTRATION
NEW PARADIGMS OF PUBLIC ADMINISTRATION
 
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทนบทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
 
Theories in Public Administration
Theories in Public AdministrationTheories in Public Administration
Theories in Public Administration
 

Ähnlich wie บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ

Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai BureaucracySaiiew
 
Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai Bureaucracygueste51a26
 
Security sector governace
Security sector governaceSecurity sector governace
Security sector governaceTeeranan
 
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์Patchara Patipant
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240CUPress
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240CUPress
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240CUPress
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาบทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 

Ähnlich wie บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ (8)

Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai Bureaucracy
 
Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai Bureaucracy
 
Security sector governace
Security sector governaceSecurity sector governace
Security sector governace
 
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
Presentation วิชาเศรษฐศาสตร์
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาบทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
 

บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ

  • 1. บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ - Presentation Transcript<br />บทที่ 1 หลักการทั่วไปเกี่ยวกับ การบริหารราชการ <br />ความหมายของ “ การบริหารราชการ” (Public Administration) <br />“ การบริหารราชการ” อาจมีความหมายได้ทั้งมุมกว้างและมุมแคบ ในมุมกว้าง“การบริหารราชการ” หมายถึง กิจกรรมทุกประเภทของรัฐ ไม่ ว่าจะเป็นกิจกรรมในด้านนิติบัญญัติ บริหาร หรือตุลาการ นักวิชาการกลุ่มนี้ ได้แก่ ฟิลิกซ์ เอ นิโกร ( Felix A . Nigro ) และมาร์แชล ดิมอด ( Marshall Dimock ) <br />ในการมองแบบมุมแคบ จะหมายถึงเฉพาะกิจกรรมของฝ่ายบริหารในการดำเนินความพยายามให้หน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐประกอบกิจกรรมให้บรรลุเป้าหมายอย่างได้ผลที่สุด นักวิชาการกลุ่มนี้ ได้แก่ ลูเซอร์ กูลิค ( Luther Gulick ) เจมส์ ดับปลิวเฟสเลอร์ ( James W . Fesler ) และ เฮอร์เบิร์ต ไซมอน ( Herbert Simon ) <br />ความหมายของ “ การบริหารราชการ” (Public Administration) <br />ฟิลิกซ์ เอ นิโกร (Felix A. Nigro) กล่าวถึงการบริหารราชการว่า <br />1 .) เป็นความพยายามของกลุ่มที่จะร่วมมือกันปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐ <br />2 .) มีขอบเขตครอบคลุมถึงการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ และฝ่ายตุลาการ ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายทั้งสามนี้ <br />3 .) มีบทบาทสำคัญในการกำหนดนโยบายสาธารณะ การบริหารราชการจึงเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทางการเมือง <br />4 .) มีความแตกต่างจากการบริหารธุรกิจของเอกชน <br />5 .) เกี่ยวข้องกับกลุ่มเอกชนหลายกลุ่ม และปัจเจกชนหลายคนในอันที่จะจัดบริการให้แก่ชุมชน <br />ความหมายของ “ การบริหารราชการ” (Public Administration) <br />เฮอร์เบิร์ต เอ ไซมอน (Herbert A Simon) หมายถึง กิจกรรมของฝ่ายบริหารไม่ว่าจะเป็นการปกครองส่วนกลาง การปกครองมลรัฐ หรือการปกครองท้องถิ่น ที่สำคัญก็คือ ไม่รวม เอางานของฝ่ายนิติบัญญัติและตุลาการเข้าไว้ด้วย <br />ความหมายของ “ การบริหารราชการ” (Public Administration) <br />ติน ปรัชญพฤทธิ์ และอิสระ สุวรรณมล กล่าวถึงคำว่า “ administration” ไว้ในปทานุกรมการบริหาร ( 2514 ) ว่ามาจากภาษาลาตินว่า “ administrare” ซึ่งแปลว่ารับใช้ การจัดการการปฏิบัติภารกิจ การอำนวยการ ( To serve, to manage, to conduct, to direct ) ในทางการบริหาร <br />เรามักจะเน้นความหมายของคำว่า “ administration” ไปในแง่ของการรับใช้ เพราะถือว่าข้าราชการต้องเป็นผู้รับใช้ประชาชน มิใช่เป็นเจ้านายของประชาชน <br />ความหมายของ “ การบริหารราชการ” (Public Administration) <br />ความเป็นมาของคำว่า “ ระบบราชการ” ( Bureaucracy ) <br />ระบบราชการที่จริงไม่ได้มีความหมายใหม่ มีความหมายเพียงว่า ไม่ใช่เป็นการปกครองแบบกษัตริย์ (mo narchy ) ไม่ใช่อภิชนาธิปไตย (aristocracy) หรือประชาธิปไตย (democracy) <br />แต่เป็นการปกครองโดยเจ้าหน้าที่ (rule of officials) <br />ในบางครั้งคำว่า “ Bureaucracy” จะหมายถึง “องค์การแบบราชการ” อันหมายถึง ระบบของความสัมพันธ์ในการบังคับบัญชา ซึ่งกำหนดโดยกฎระเบียบที่พัฒนาขึ้นอย่างสมเหตุสมผล <br />ความสำคัญของ “ การบริหารราชการ” <br />1 ) เป็นการนำนโยบายของรัฐไปปฏิบัติ ได้แก่ ขยายโอกาสหรือเพิ่มบริการในรูปบริการสาธารณะต่าง ๆ <br />- เพิ่มการป้องกันสวัสดิภาพของประชาชนในด้านต่าง ๆ <br />- การจัดระเบียบของสังคม <br />- กำหนดขอบเขตเสรีภาพการใช้จ่ายด้วยการจัดเก็บภาษี <br />- การค้นหาหรือลงโทษผู้กระทำผิดหรือขัดต่อกฎหมาย <br />- การยินยอมหรือปฏิเสธที่จะให้ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมบางอย่าง <br />- การบริหารกิจการกึ่งธุรกิจ เช่น การสาธารณูปโภค <br />- การดูแลและป้องกันประเทศและการต่างประเทศฯลฯ <br />ความสำคัญของ “ การบริหารราชการ” <br />2 ) มีส่วนในการกำหนดนโยบายทั้งในขั้นตอนก่อนที่ฝ่ายนิติบัญญัติ และหัวหน้าฝ่ายบริหารจะตัดสินใจกำหนดนโยบาย และหลังการกำหนดนโยบายแล้ว <br />3 ) เป็นกลไกสำคัญในการดำรงไว้และพัฒนาวัฒนธรรมของสังคม เป็นผู้กำหนดกิจกรรมของสังคม และเป็นส่วนหนึ่งของระบบเศรษฐกิจและสังคม <br />1.1 ) เป็นการบริหารในลักษณะที่เป็นกระบวนการปฏิบัติงาน (process) เหมือนกันทั้งภาคราชการ และธุรกิจ 1.2 ) แม้วัตถุประสงค์จุดมุ่งหมาย (goal) จะแตกต่าง แต่ก็มีลักษณะเป็นพลังความร่วมมือร่วมแรงร่วมใจปฏิบัติของกลุ่ม (cooperative group effort) 1.3) ล้วนต้องมีลักษณะในการปฏิบัติงานตามสภาพแวดล้อมของแต่ละองค์การไป 1.4 ) ประเภทกิจกรรมไม่สามารถขีดเส้นแบ่งได้ชัดเจน ราชการอาจมีส่วนด้วย เช่น ธุรกิจโทรคมนาคม เป็นต้น 1.5 ) ประเภทของทักษะ เทคนิค และกระบวนการทำงาน รวมทั้งความชำนาญของบุคลากรที่คล้ายกัน ความเหมือน <br />2.1 ) ภาพลักษณ์ (Image) - ภาคราชการล่าช้า ขั้นตอนมาก (Real Tape) ในขณะที่ภาคธุรกิจรวดเร็วและมีขั้นตอนการปฏิบัติที่ไม่ยุ่งยาก 2.2 ) วัตถุประสงค์ การบริหารธุรกิจเน้นมุ่งที่ผลกำไร (profit) ในขณะที่การบริหารราชการมุ่งในการจัดทำบริการสาธารณะ (public services) โดยมุ่งผลประโยชน์และความพอใจของประชาชนเป็นหลักใหญ่ 2.3 ) ความรับผิดชอบ การบริหารราชการรับผิดชอบต่อประชาชน แต่การบริหารธุรกิจรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้นหรือเจ้าของกิจกรรม 2.4 ) ทุน การบริหารราชการได้มาจากภาษีอากรเก็บจากประชาชน ส่วนการบริหารธุรกิจได้ทุนการดำเนินงานจากเงินของเอกชนผู้เป็นเจ้าของหรือผู้ถือหุ้น 2.5 ) การกำหนดราคาสินค้าและบริการ การบริหารราชการไม่ได้มุ่งกำไร แต่การบริหารธุรกิจต้องกำหนดราคาให้สูงพอสมควรที่จะให้มีกำไรเหลืออยู่ 2.6 ) คู่แข่งขัน การบริหารราชการปกติไม่มีผู้แข่งขัน แต่ทางด้านการบริหารธุรกิจมีคู่แข่งขันมาก แต่จะส่งผลดีที่ผู้บริโภคจะได้สินค้าและบริการที่ดี ราคาถูก 2.7 ) การคงอยู่ การบริหารราชการจะต้องมีอยู่ตราบเท่าที่การทำบริการสาธารณะในด้านนั้น ๆ แก่ประชาชน ไม่ว่าจะมีภาวะทางการเมืองเปลี่ยนแปลงไปเช่นไร แต่การบริหารธุรกิจอาจมีการล้มเลิก เปลี่ยนแปลงได้ง่ายกว่ามาก <br />ความรับผิดชอบและการควบคุมการบริหารราชการ <br />- ความรับผิดชอบในการบริหารราชการ หมายถึง การปฏิบัติหน้าที่อย่างถูกต้องตามทำนองคลองธรรม โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวมหรือผลประโยชน์ที่จะเกิดแก่สาธารณชน <br />- การควบคุมภายในวงราชการ แยกเป็น <br />การควบคุมความรับผิดชอบในการ ปฏิบัติงาน โดยการควบคุมด้านงบประมาณ โครงการและแผน การตรวจสอบและรายงาน ดับ ชั้นการบังคับบัญชา ผ่านกระบวนการบริหารงานบุคคล และการควบคุมความรับผิดชอบภายในตัวบุคคลเอง <br />- การควบคุมภายนอก แยกเป็น การควบคุมโดยฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายตุลาการ และจากประชาชนทั้งโดยตรง ผ่านสื่อมวลชน กลุ่มผลประโยชน์ พรรคการเมือง และกระบวนการร้องทุกข์ รวมทั้ง ผู้ตรวจการรัฐสภาหรือ Ombudsman <br />เม็กซ์ เวเบอร์ (Max Weber) <br />ทฤษฎีระบบราชการ (Bureaucratic Theory ) ได้เสนอความคิด การจัดองค์การแบบระบบราชการว่าเป็นวิธีที่มี ประสิทธิภาพที่สุด เหนือกว่าวิธีใดๆ การศึกษาแนวความคิดของเวเบอร์ควรพิจารณาประเด็นต่างๆดังนี้ <br />รูปแบบการใช้อำนาจ ( Authority ) <br />องค์ประกอบของระบบราชการ <br />ความวิเศษของระบบราชการ <br />รูปแบบการใช้อำนาจ ( Authority ) มี 3 รูปแบบ <br />1. อำนาจเฉพาะตัว ( Charismatic domination ) <br />2. อำนาจแบบประเพณี ( Traditional domination ) <br />3. อำนาจตามกฎหมาย ( Legal Domination ) <br />องค์ประกอบระบบราชการของเวเบอร์คือ <br />1. เน้นสายการบังคับบัญชาที่ชัดเจน Hierarchy <br />2. มีระเบียบ ขอบเขต การแบ่งอำนาจหน้าที่การทำงานอย่างเป็น ลายลักษณ์อักษร <br />3. ทำงานโดยยึดตัวบทกฎหมาย มีกฎระเบียบเคร่งครัด System of Rules <br />4. ข้าราชการวางตัวเป็นกลาง Impartiality <br />5. การรับราชการถือเป็นอาชีพที่มั่นคง Security<br />