SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 36
ในคริสต์ศตวรรษที่ 15-16 ได้เกิดเหตุการณ์ 
สาคัญอีกประการคือ การปฏิรูปศาสนา ซึ่งคริสต์ 
ศาสนาได้แตกแยกออกเป็นนิกายต่างๆโดยแต่ละ 
นิกาย มีลักษณะเป็นศาสนาประจาชาติมากขึ้น
ความเป็นอยู่ของสันตะปาปาและพระชั้นสูงมีความ 
ฟุ่มเฟือย ขัดต่อความรู้สึกที่ว่าพระควรจะมีความ 
เป็นอยู่ที่เรียบง่าย อีกทั้งพระเรียกเก็บภาษีสูงขึ้น มี 
การซื้อขายตา แหน่งกัน ชาวยุโรปมีความรู้มากขึ้น จึง 
ไม่เชื่อคา สั่งสอนของฝ่ายศาสนจักร เกิดความคิดที่จะ 
ปรับปรุงศาสนาให้บริสุทธ์ิ
สันตะปาปาผู้ปกครองฝ่ายศาสนจักร มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุง 
โรม ได้เข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองของยุโรป เข้าไป 
ครอบงา รัฐต่างๆในเยอรมัน ทา ให้แคว้นต่างๆต้องการเป็น 
อิสระจากจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักด์ิสิทธ์ิและ 
จากผู้ที่รักษาอา นาจของคริสตจักรคือ สันตะปาปา 
ศาสนจักรมุ่งเน้นพิธีกรรมมากเกินไป ทา ให้ประชาชน 
ต้องการทา ความเข้าใจหลักธรรมทางศาสนามากขึ้น จนมีนัก 
คิดเสนอว่ามนุษย์ควรเข้าถึงพระเจ้าและทา ความเข้าใจใน 
คัมภีร์ไบเบิล ด้วยตนเองมากกว่าผ่านพิธีกรรม
สันตะปาปาจูเลียสที่ 2 และ 
สันตะปาปาลีโอที่ 10 ต้องการ 
งบประมาณในการก่อสร้างมหา 
วิหารเซนต์ปีเตอร์ที่กรุงโรม จึงส่ง 
สมณะทูตมาขายใบยกโทษบาป ใน 
ดินแดนเยอรมัน แต่ด้วยภาวะทาง 
สังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลง 
ไป ทา ให้เกิดกลุ่มต่อต้านคริสตจักร 
หลายกลุ่มด้วยกัน ทั้งขุนนาง นักคิด 
และปัญญาชนในเยอรมัน 
มหาวิหารเซนต์ปีเตอร์
สันตะปาปาจูเลียสที่ 2 
(Julius II ค.ศ. 1506-1514) 
สันตะปาปาลีโอที่10 
(Leo X ค.ศ.1514-1521)
การเริ่มปฏิรูปศาสนา
การขายใบยกเลิกบาป ทา ให้ มาร์ติน ลูเทอร์นักบวชชาว 
เยอรมันประท้วงด้วยการปิดประกาศคา ประท้วง 95 ข้อ 
หน้ามหาวิหารแห่งเมืองวิทเทนแบร์ก ได้ประกาศว่า 
สันตะปาปาไม่ควรเก็บภาษีในเยอรมันเพื่อนาไปสร้างมหา 
วิหารเซนต์ปีเตอร์และ สันตะปาปาไม่ได้เป็นบุคคลเพียงผู้ 
เดียวที่จะนา พามนุษย์ไปสู่พระเจ้า ประกาศดังกล่าวถือว่า 
เป็นการประท้วง ที่มีต่อศาสนจักรอันเป็นที่มาของนิกาย 
โปรเตสแตนต์ คา ประกาศของเขาได้รับการสนับสนุน 
อย่างกว้างขวางในเขตเยอรมัน
การขายใบยกเลิกบาป 
ninety-five theses
การตอกคาประท้วง 95 ข้อที่ประตู 
โบสถ์วิทเทนแบร์ก (Wittenburg) 
มาร์ติน ลูเทอร์ 
ใบยกเลิกบาป
ค.ศ. 1521 มาร์ติน ลูเทอร์ได้รับคา สั่งจากจักรพรรดิชาลส์ที่ 5 ให้ 
ไปเข้าประชุมสภาแห่งเวิร์ม เขาถูกกล่าวหาว่ามีท่าทีเป็นปฏิปักษ์ต่อ 
คริสต์ศาสนาและเป็นบุคคลนอกศาสนา แต่เจ้าผู้ครองแคว้นแซก 
โซนีได้อุปถัมภ์เขาไว้ และเขาได้แปลคัมภีร์ไบเบิลจากภาษาละติน 
มาเป็นภาษาเยอรมัน ทา ให้ความรู้ทางศาสนาเป็นที่แพร่หลายในหมู่ 
ประชาชนเพิ่มมากขึ้น และเป็นการส่งเสริมการพัฒนาการของ 
วรรณกรรมภาษาเยอรมัน
จักรพรรดิชาลส์ที่ 5 
(Charles V ค.ศ.1519 – 1556) 
แห่งจักรวรรดิโรมัน 
สภาเมืองเวิร์ม (Diet of Worms)
พระคัมภีร์ฉบับภาษาเยอรมันของลูเธอร์ 
ราชอาณาจักรแซกโซนีเป็นส่วน 
หนึ่งจักรวรรดิโรมันอันศักด์ิสิทธ์ิ
ช่วงหลังจากนั้น เจ้านายในเยอรมันแตกแยกออกเป็น 2 ฝ่าย ได้แก่ 
1. ฝ่ายเจ้าผู้ครองแคว้นทางเหนือ ซึ่งสนับสนุน มาร์ติน ลูเทอร์ 
2. ฝ่ายเจ้าผู้ครองแคว้นทางใต้ ซึ่งสนับสนุนคริสตจักร 
โรมันคาทอลิกที่กรุงโรม 
ทา ให้เกิดสงครามกลางเมืองขึ้น ในค.ศ.1546 ในที่สุดก็มีการ 
สงบศึก โดยการทา สนธิสัญญาสันติภาพแห่งเอากส์บูร์ก โดยให้ทาง 
เจ้าชายเยอรมันและแคว้นของพระองค์มีสิทธิที่จะเลือกนับถือนิกายลู 
เทอร์หรือนิกายโรมันคาทอลิก
Peace of Augsburg 
การทาสนธิสัญญาสันติภาพแห่งเอากส์บูร์ก
นิกายลูเทอร์มีหลักปฏิบัติ การดา เนินงาน พิธีกรรมทางศาสนา 
และลักษณะของนักบวชเป็นแบบคาทอลิก แต่นักบวชใน 
นิกายลูเทอร์เป็นเพียงผู้สอนศาสนาจึงสามารถมีครอบครัวได้ 
มีการรักษาพิธีกรรมบางข้อไว้ เช่น ศีลจุ่ม และศีลมหาสนิท 
นิกายนี้มีกรอบความคิดว่าความหลุดพ้นทางวิญญาณของชาว 
คริสต์จะสามารถมีได้ก็เนื่องจากการยึดมั่นในพระผู้เป็นเจ้าจน 
พระองค์ทรงเมตตาเท่านั้น
การปฏิรูปคริสต์ศาสนาได้ขยายตัวจากเยอรมันไป 
ยังประเทศอื่นๆในยุโรป มีผู้นาในการปฏิรูป เช่น 
จอห์น คาลวิน ชาวฝรั่งเศส ผู้เห็นด้วยกับความคิดของมาร์ 
ติน ลูเทอร์ได้หนีพวกคาทอลิกจากฝรั่งเศสไปตั้งนิกายคาลวิน เป็น 
โปรเตสแตนต์นิกายที่ 2 ในสวิตเซอร์แลนด์ 
จอห์น คาลวิน (John Calvin ค.ศ.1509 - 1564) 
หลักคาสอนของคริสตศาสนา
พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งประเทศ 
อังกฤษ มีพระราชประสงค์ที่จะหย่า 
ขาดกับพระนางแคทเธอรีนแห่งอะรา 
กอน แต่สันตะปาปาจัดการให้ไม่ได้ 
รัฐสภาอังกฤษจึงออกกฎหมายตั้งพระ 
เจ้าเฮนรีที่ 8 เป็นประมุขทางศาสนาใน 
ประเทศอังกฤษ ไม่ขึ้นต่อคริสตจักรที่ 
กรุงโรม เรียกนิกายใหม่นี้ว่า นิกาย 
อังกฤษหรือนิกายแองกลิคัน 
การขอหย่าร้างของพระเจ้าเฮนรีที่ 8
นางแคทเธอรีนแห่งอะรากอน 
(Catherine of Aragon ค.ศ.1485 - 1536) 
พระเจ้าเฮนรีที่ 8 
(Henry VIII ค.ศ.1509 - 1547)
ผลของการปฏิรูปทางศาสนาได้ก่อให้เกิดนิกาย 
โปรเตสแตนต์ขึ้น โดยแบ่งเป็น 3 นิกายสาคัญ คือ 
1. นิกายลูเทอร์แพร่หลายในเยอรมันและประเทศกลุ่ม 
สแกนดิเนเวีย 
2. นิกายคาลวิน แพร่หลายใน สวิตเซอร์แลนด์ ฝรั่งเศส 
เนเธอร์แลนด์และสกอตแลนด์ 
3. นิกายอังกฤษหรือแองกลิคัน เป็นนิกายประจา ประเทศอังกฤษ
เมื่อเกิดการปฏิรูปศาสนาในดินแดนส่วนต่างๆของ 
ยุโรป คริสตจักรที่กรุงโรมได้พยายามต่อต้าน 
ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นด้วยวิธีต่างๆ ได้แก่
1. ศาสนจักรได้จัดการประชุมสังคายนาพระศาสนาที่เมือง 
เทรนต์(The Council of Trent) ใน ค.ศ.1545 การประชุม 
ดังกล่าวใช้เวลาถึง 18 ปี สิ้นสุดใน ค.ศ.1563 โดยมี 
บทสรุปดังนี้ 
- สันตะปาปาทรงเป็นประมุขของคริสต์ศาสนา 
- การประกาศหลักธรรมทางศาสนาต้องให้ศาสน 
จักรเป็นผู้ประกาศแก่ศาสนิกชน 
- คัมภีร์ไบเบิลยังต้องเป็นภาษาละติน
- ยกเลิกการขายใบยกโทษบาปและตา แหน่งทางศาสนา 
มีการกา หนดระเบียบวินัย มาตรฐานของการศึกษาของพระ 
และให้ใช้ภาษาพื้นเมืองในการสอนศาสนา 
จัดการประชุมสังคายนาพระศาสนาที่เมืองเทรนต์
2. การจัดต้งัสมาคมเยซูอิทซ์(The Jesuits) ที่เน้นการศึกษา 
วิทยาการใหม่เพื่อปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมและให้ 
การศึกษาให้แก่บุตรหลานชาวคาทอลิก เพื่อจะได้ไม่เปลี่ยนไป 
เป็นโปรเตสแตนต์ 
อิกนาทิอุส โลโยลา (Ignatius Loyola) Loyola คุกเข่าต่อ 
พระสันตปาปาพอลที่3
3. ศาสนจักรได้ต้งัศาลศาสนาเพื่อลงโทษพวกนอกศาสนา โดย 
ศาลศาสนาได้พิจารณาความผิดของพวกนอกศาสนาคาทอลิก 
และชาวคาทอลิกที่มีความคิดเห็นแตกต่างจาก ศาสนจักร ซึ่งมี 
การลงโทษโดยการเผาคนผิดทั้งเป็น
การต่อต้านการปฏิรูปศาสนาของคริสตจักรที่กรุง 
โรมกระทา ได้ผล คือ นิกายโรมันคาทอลิกสามารถป้องกัน 
ไม่ให้ศาสนิกชนโรมันคาทอลิกหันไปนับถือนิกาย 
โปรเตสแตนต์ เพิ่มขึ้น แต่ก็ไม่สามารถดึงศาสนิกชน 
โปรเตสแตนต์ให้กลับมานับถือนิกายโรมันคาทอลิกได้
ผลของการปฏิรูปศาสนา 
การปฏิรูปศาสนาได้ก่อให้เกิดผลกระทบที่สาคัญต่อ 
ชาติต่างๆในยุโรป ได้แก่
1. คริสตจักรตะวันตกแตกแยกออกเป็น 2 นิกาย คือ 
1.1 นิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่กรุง 
โรม มีสันตะปาปาเป็นประมุข 
1.2 นิกายโปรเตสแตนต์ ซึ่งแยกเป็นนิกายต่างๆ ใน 
ประเทศทางภาคเหนือของยุโรป ความเป็นเอกภาพทาง 
ศาสนาของยุโรปสิ้นสุดลง 
2. เกิดกระแสชาตินิยมในประเทศต่างๆเช่น กรณีที่มาร์ติน 
ลูเทอร์หนุนให้เจ้าผู้ครองรัฐต่างๆ ในเยอรมันต่อต้าน 
จักรพรรดิแห่งอาณาจักรโรมันอันศักด์ิสิทธ์ิ ผู้ที่นับถือนิกาย 
คาลวินในเนเธอร์แลนด์ส่วนที่เป็นเจ้าของสเปนต่อต้าน 
กษัตริย์สเปนจะได้รับเอกราช
3. เกิดการแข่งขันระหว่างนิกายต่างๆการ 
ปรับปรุงสิ่งที่บกพร่องเพื่อเรียก ศรัทธาและก่อให้เกิด 
ขันติธรรมในการอยู่ร่วมกับผู้นับถือนิกายต่างกัน 
4. สภาพสังคมเปลี่ยนแปลงไป นิกาย 
โปรเตสแตนต์ได้สนับสนุนการประกอบอาชีพด้าน 
การค้าและอุตสาหกรรม ทา ให้ระบบทุนนิยมในยุโรป 
เจริญเติบโต
5. ระบอบรัฐชาติแข็งแกร่งขึ้น การเกิดนิกาย 
โปรเตสแตนต์ได้ส่งเสริมวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่น เช่น 
การแปลคัมภีร์เป็นภาษาท้องถิ่น และยังส่งเสริมอา นาจของ 
ผู้ปกครอง ได้แก่ กษัตริย์ในฐานะตัวแทนของพระเป็นเจ้า 
ในการปกครองประเทศ จึงเท่ากับส่งเสริมระบอบ 
สมบูรณาญาสิทธิราชย์โดยปริยาย
6. ผลของการแตกแยกทาง 
ศาสนา ทา ให้เกิดสงครามศาสนาขึ้น 
ในยุโรปหลายครั้ง เช่น สงคราม 
ศาสนาในเยอรมนีสงครามศาสนา 
ในประเทศฝรั่งเศส สงครามสามสิบ 
ปี การเกิดสงครามศาสนาทา ให้ 
สถาบันกษัตริย์มีอา นาจเหนือ 
คริสตจักรในที่สุด เพราะสันตะปาปา 
ต้องอาศัยอา นาจของกษัตริย์ที่นับถือ 
คาทอลิกทา การต่อต้าน กษัตริย์ที่นับ 
ถือโปรเตสแตนต์
แผนที่สงครามสามสิบปี
สงครามสามสิบปี 
สงครามศาสนาที่ฝรั่งเศส
1. นางสาวจิราพัชร จีระพิวัฒน์ เลขที่ 42 
2. นางสาวสุภัฎฎา โพธ์ิแก้ว เลขที่49 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6.5 
เสนอ 
อาจารย์ปรางค์สุวรรณ ศักด์ิโสภณกุล

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมัน
Jungko
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
Pannaray Kaewmarueang
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
Suksawat Sanong
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
JulPcc CR
 
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลางประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
Premo Int
 

Was ist angesagt? (20)

อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมัน
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialismลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติ
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชียผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
 
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลางประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
 

การปฏิรูปศาสนา