SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 49
Downloaden Sie, um offline zu lesen
คูมือการจัดสอบ




        การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
   เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน ปการศึกษา 2554




                สํานักทดสอบทางการศึกษา
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
                  กุมภาพันธ พ.ศ. 2555
                          35
คํานํา
      สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดดําเนินการประเมินผลสัมฤทธิ์นักเรียนระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน ปการศึกษา 2554 ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3
และมัธยมศึกษาปที่ 2 เพื่อใหไดผลการประเมิน ใชเปนขอมูลสําคัญที่สะทอนคุณภาพการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการปรับปรุง
พัฒนา และการเตรียมความพรอมของผูเรียน เพื่อรองรับการประเมินระดับชาติ (O-NET) ใหคุนเคยกับ
ขอสอบที่เนนการคิดวิเคราะห และรูปแบบขอสอบที่หลากหลาย
        คูมือการจัดสอบ การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน
ปการศึกษา 2554 นี้ ประกอบดวยรายละเอียดและขั้นตอนตาง ๆ ที่สําคัญ สําหรับเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ยึดเปนแนวปฏิบัติ จึงจําเปนที่เขตพื้นที่การศึกษา ฯ ตองศึกษาและทําความ
เขา ใจในรายละเอียด ขั้นตอนตา ง ๆ ที่กําหนดในคูมือนี้ เพื่อใหการประเมิน ฯ เปนไปอยา งบริสุทธิ์
ยุติธรรม โปรงใส ตรวจสอบได มีมาตรฐานเดียวกันทั้งประเทศ ผลการประเมินเชื่อถือได




                                                                    สํานักทดสอบทางการศึกษา
                                                      สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน




                                               36
สารบัญ
                                                                              หนา

1. เหตุผลและความสําคัญ                                                          1
2. วัตถุประสงค                                                                 3
3. สาระ/เครื่องมือการประเมิน                                                    3
      โครงสรางและรูปแบบของเครื่องมือ                                           4
      ตารางสอบ                                                                 12
4. แผนและวิธีการประเมิน                                                        11
      สวนกลาง                                                                 13
      เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษา                                  15
      แผนปฏิบัติงานระหวางสวนกลางกับเขตพื้นที่การศึกษา                        18
      การจัดพิมพขอสอบชั้นประถมศึกษาปที่ 3 และมัธยมศึกษาปที่ 2              20
      การจัดสอบ                                                                21
      การตั้งกรรมการตรวจใหคะแนนขอสอบแบบเขียนตอบ และบันทึกขอมูล              28
      แตงตั้งศูนยประสานการสอบ สนามสอบ และกรรมการกํากับหองสอบ                31
  การรายงานผลใหนักเรียน โรงเรียน                                              32
  การนําผลไปใช                                                                32
ภาคผนวก                                                                        34
     ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการปฏิบัตของผูกํากับการสอบ พ.ศ. 2548
                                                 ิ                             35
     คําสั่งสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน ที่ 2/2555 เรื่องแตงตั้ง
                                               ้                               37
     คณะกรรมการดําเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการ
     ประกันคุณภาพผูเรียน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ปการศึกษา 2554
    การรวบรวมและนําสงกระดาษคําตอบ                                             39




                                     37
คูมือการจัดสอบ
  การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน
  ปการศึกษา 2554

1.เหตุผลและความสําคัญ
          การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) กําหนดวิสัยทัศน ใหคนไทยไดเรียนรู
ตลอดชีวิตอยา งมีคุณภาพ และเปา หมาย ปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรูอยา งเปนระบบ โดยเนน
ประเด็นหลักสามประการ คือ 1) คุณ ภาพและมาตรฐานการศึกษาและเรียนรูของคนไทย โอกาส
ทางการศึกษาและเรียนรู เพื่อพัฒนาผูเรียน สถานศึกษา แหลงเรียนรู สภาพแวดลอม หลักสูตร และ
เนื้อหา พัฒนาวิชาชีพครูใหเปนวิชาชีพที่มีคุณคา สามารถดึงดูดคนเกงดีและมีใจรัก มาเปนครูคณาจารย
ไดอยางยั่งยืน ภายใตระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ 2) เพิ่มโอกาสการศึกษาและเรียนรูอยางทวถง       ่ั ึ
และมีคุณภาพ เพื่อใหประชาชนทุกคน ทุกเพศทุกวัยมีโอกาสเขาถึงการศึกษาและเรียนรูอยางตอเนื่อง
ตลอดชีวิต 3) สงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวนของสังคม ในการบริหารและจัดการศึกษา โดยเพิ่ม
บทบาทของผู ที่ อ ยู ภ ายนอกระบบการศึ ก ษาด ว ย และข อ เสนอการปฏิ รู ป การศึ ก ษาของ
กระทรวงศึกษาธิการตอคณะรัฐมนตรี “.....ใหส ถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติและสํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดํา เนินการประกันการเรียนรูและรับรองมาตรฐานผูเรียน โดย
ประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนในชั้นเรียนสุดทายของแตละชวงชั้นใหเปนการวัดผลระดับชาติ เพื่อให
สามารถใชการวัดประเมินผลที่เปนมาตรฐาน สามารถเทียบเคียงกันได เปนกลไกในการประกันการเรียนรู
และรับรองมาตรฐานผูเรียนแตละชวงชั้น......”
           จากวิสัยทัศน เปาหมายและขอเสนอดังกลาว สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึง
ได กํ า หนดจุ ด เน น การพั ฒ นาคุ ณ ภาพผู เ รี ย นเพื่ อ ให ส อดคล อ งกั บ นโยบาย ในด า นทั ก ษะและ
ความสามารถ คือชั้น ป.1-3 นักเรียนมีทักษะความสามารถในการอานออก เขียนได คิดเลขเปน มี
ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ป.4-6 อานคลอง เขียนคลอง คิดเลขคลอง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ม.1-3
แสวงหาความรู ดวยตนเอง ใช เทคโนโลยี เพื่ อการเรี ยนรู มีทั กษะการคิดขั้นสูง ทักษะชี วิต ม.4-6
แสวงหาความรูเพื่อแกปญหา ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู ใชภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีทักษะ
การคิดขั้นสูง รวมทั้งมีทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารตามชวงวัยในทุกชวงชั้น ประกอบกับหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่ไดกํา หนดใหการวัดและประเมินผลการเรียนรู
เปนสวนหนึ่งของการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อใหไดขอมูลสารสนเทศที่จําเปนในการพิจารณาวา
ผูเรียนเกิดคุณภาพการเรียนรูตามผลการเรียนรูของหลักสูตร สะทอนจุดเนนการพัฒนาผูเรียนหรือไม
ซึ่งกําหนดใหมีการวัดและประเมินผลการเรียนรูใน 4 ระดับ ไดแก ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ โดยมีเจตนารมณเชนเดียวกัน คือ ตองการสะทอนภาพการ
จัดการศึกษาวาสามารถพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนดไดมากนอยเพียงใด การวัด
และประเมินผลการเรียนรูทั้ง 4 ระดับ จึงเปนกิจกรรมที่สําคัญยิ่ง ที่จะสะทอนถึงผลการจัดการศึกษา
ชวยใหผูเรียนไดรูถึงศักยภาพในสมรรถนะความสามารถ หรือผลสัมฤทธิ์ของตนเองไดเปนอยางดี รูถึง
สมรรถนะ ความสามารถ ตลอดจนศักยภาพที่ตนมี วาตองไดรับการปรับปรุงแกไข หรือพัฒนาในเรื่องใด
ที่จําเปนสมควรไดรับการพัฒนาใหดียิ่งขึ้น ซึ่งจะเปนการสงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาตนเองไดเต็มตาม
ศักยภาพ รวมทั้งยังมุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาตอและ
ประกอบอาชีพ
        เปาหมายและตัวบงชี้การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองของคณะกรรมการนโยบายปฏิรูป
การศึ กษาในทศวรรษที่ ส อง (กนป.) เปา หมายที่ 1 ใหค นไทยและการศึก ษาไทยมีคุณ ภาพและได
มาตรฐานระดั บ สากล โดยมี ตั ว บ ง ชี้ แ ละค า เป า หมายที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ผลสั ม ฤทธิ์ ข องผู เ รี ย นคื อ
1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลัก จากการทดสอบระดับชาติมีคะแนนเฉลี่ยมากกวารอยละ 50
2) ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาดานคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรเพิ่มขึ้นเปนไมต่ํากวาคาเฉลี่ยนานาชาติ
(ผลทดสอบ PISA) 3) ความสามารถดานภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้นรอยละ 3 ตอป จากเปาหมายและตัวบงชี้
ดังกลาว จุดเนนของการวัดและประเมินผลการเรียนรูของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จะประเมินเพื่อศึกษาและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ผูเรียนใหเขาสูมาตรฐาน เพื่อเปนหลักประกันการเรียนรู
(Accountability) และเตรียมการใหผูเรียนมีความพรอมสําหรับรองรับการประเมิน ทั้งการทดสอบ
ระดับชาติหรือระดับนานาชาติ โดยจะมุงประเมินผลสัมฤทธิ์ในกลุมสาระการเรียนรูวิชาหลัก เริ่มตั้งแต
ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 (และจะเพิ่มการตรวจสอบความพรอม ในทักษะการอาน เขียน คิดคํานวณ ซึ่ง
ถือเปนเครื่องมือพืนฐานเบื้องตนสําคัญ ที่ใชในการเรียนรู) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เพื่อเปนการกระตุน
                   ้
และเตรียมความพรอมใหกับผูเรียนลวงหนาในการรองรับการทดสอบระดับชาติหรือ O-NET ชั้น ม.3
จากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ (องคการมหาชน) และการประเมินระดับนานาชาติ (PISA
2012) ที่มีรูปแบบการประเมินที่หลากหลาย ตอบสนองตามเปาหมายของการปฏิรูปในทศวรรษที่สอง
ผลการประเมิ น ที่ ไ ด จ ะเป น ข อ มู ล สํ า คั ญ ที่ ส ะท อ นคุ ณ ภาพการดํ า เนิ นงานการจั ด การศึ กษาของ
สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่จําเปนตองมีขอมูล
ผลการเรียนรู เพื่อปรับปรุง/พัฒนาและการเตรียมความพรอมของผูเรียน และเปนตัวบงชี้คุณภาพ
การศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวม เพื่อใชเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจในการกําหนดนโยบาย และการ
วางแผนในการพั ฒ นาคุ ณภาพการศึ กษาระดับ สถานศึ ก ษา ระดับ เขตพื้ นที่ การศึก ษา และระดั บ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน


                                                        2
ตามเหตุผลและความจําเปนดังกลาว ในปการศึกษา 2554 (งบประมาณป 2555) สํานักทดสอบ
ทางการศึกษา จึงไดดําเนินโครงการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้ฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน
ปการศึกษา 2554
2. วัตถุประสงค
        1. เพื่อตรวจสอบทักษะความสามารถของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ในดานการอาน เขียน
คิดคํา นวณ และผลสัมฤทธิ์ 3 กลุมสาระหลักคือกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย คณิตศาสตร และ
วิทยาศาสตร
       2. เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ใน 5 กลุมสาระหลัก คือกลุมสาระ
การเรียนรูภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศึกษา ฯ ภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) และเพื่อ
เตรียมความพรอมในการประเมินระดับชาติ (O-NET) ปการศึกษา 2555
3. สาระ / เครื่องมือการประเมิน
       การประเมิ น จะใช เ ครื่อ งมื อ เปน แบบทดสอบปรนั ย ชนิด เลื อ กตอบ (Multiple choices)
แบบทดสอบภาคปฏิบัติ (Performance Test) การอาน และแบบทดสอบชนิดเขียนตอบ (การเขียน
และการคิดคํานวณ) โดยประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนตามจุดมุงหมายของหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
       1) ชั้นประถมศึก ษาปที่ 3 ประเมินผลสัมฤทธิ์นักเรียนทุกคนทุกโรงเรียน สังกัดสํา นักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในกลุมสาระภาษาไทย คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร และสอบ
ภาคปฏิบัติความสามารถทางการอาน การเขียน การคิดคํานวณ
       2) ชั้นมั ธยมศึก ษาปที่ 2 ประเมิ นผลสัม ฤทธิ์นัก เรียนทุกคนทุ กโรงเรียนสั งกัดสํา นักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคม
ศึกษา ฯ และภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ)




                                               3
เครื่องมือที่ใชในการสอบ แสดงรายละเอียด ดังตาราง


                                                      เลือกตอบ เวลา                  ภาคปฏบต/
                                                                                            ิ ัิ              เวลา
          ชั้น               กลุมสาระฯที่สอบ                                         เขียนตอบ
                                                         (ขอ) (นาที)                                        (นาที)
                                                                                การอาน 1 ฉบับ                  5
                           ภาษาไทย                        30           40       การเขียน 1 ฉบับ                40
 ชั้นประถมศึกษาปที่
         3           คณิตศาสตร                           30           60       การคิดคํานวณ 2 ขอ              50
                           วิทยาศาสตร                    30           50                   -                    -
                           คณิตศาสตร                     40           90                   -                    -
                           สังคมศึกษา ฯ                   40           60                   -                    -
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาษาอังกฤษ                          40           60                   -                    -
                           วิทยาศาสตร                    40           90                   -                    -
                           ภาษาไทย                        40           60                   -                    -


โครงสรางและรูปแบบของเครื่องมือ
       ในแตล ะกลุมสาระการเรียนรูได กํา หนดน้ํ า หนักในแตล ะสาระเพื่อ ใชเปน สถานการณส รา ง
ขอสอบ โดยคณะกรรมการประกอบด วยครูผู ส อน ศึ กษานิเ ทศก นั กวัดผล และนั กวิชาการศึกษา
หลักการกําหนดน้ําหนักสาระ ยึดความสําคัญ/ปริมาณของสาระ จํานวนคาบในการเรียนการสอน และ
มาตรฐานการเรี ย นรู ตั ว ชี้ วั ด ช ว งชั้ น ตั ว ชี้ วั ด ชั้ น ป ตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน
พุทธศักราช 2551 ไดโครงสรางของแบบทดสอบสําหรับใชประเมินคุณภาพการศึกษา ปการศึกษา 2554
ดังนี้

โครงสรางแบบทดสอบชั้นประถมศึกษาปที่ 3
แบบทดสอบชนิดเลือกตอบ วัด 3 กลุมสาระการเรียนรู
         1. กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
         2. กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
         3. กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
                                                         4
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้น ป.3

                                                    รูปแบบขอสอบ
             สาระ                                                                      รวม
                                   เลือกตอบ         ขอที่    จับคู          ขอที่
1. การอาน (ท 1.1)                     ท9           1-9         -               -      9
2. การเขียน (ท 2.1)                     -             -         4            27-30     4
3. การฟง การดู และการพูด
(ท 3.1)                                4            10-13          -            -      4
4. หลักการใชภาษา (ท 4.1)              8            14-21          -            -      8
5. วรรณคดี และวรรณกรรม
(ท5.1)                                 5            22-26          -            -       5
              รวม                             26                         4             30

      กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้น ป.3

                                                      รูปแบบขอสอบ
              สาระ                                                                     รวม
                                    เลือกตอบ         ขอที่     จับคู       ขอที่
1. จํานวนและการดําเนินการ
(ค 1.1)                                 2           31-32                               2
(ค 1.2)                                 7           33-39          3         58-60     10
2. การวัด
(ค 2.1)                                 6          40-45,47                             6
(ค 2.2)                                 2           46,48                               2
3. เรขาคณิต
(ค 3.1)                                 3           49-51                               3
4. พีชคณิต
(ค 4.1)                                 3          52,54-55                             3
5. การวิเคราะหขอมูลและ
   ความนาจะเปน (ค 5.1)                3         53,56-57                              3
               รวม                              27                       3             30

                                              5
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ชั้น ป.3


                   สาระ                      เลือกตอบ เลือกหลายคําตอบ กลุมสัมพนธ รวม
                                                                                 ั
                                               (ขอที่)    (ขอที)
                                                                 ่      (ขอที่)
1. สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต (ว 1.2) 61-65            -            89        6
2. สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม
(ว 2.1)                                        66-67          -             -        2
(ว 2.2)                                        68-71          -             -        4
3. สารและสมบัติของสาร
(ว 3.1)                                        73,76          -            90        3
(ว 3.2)                                      72,74,75         -             -        3
4. แรงและการเคลื่อนที่ (ว 4.1)                 77-79         86             -        4
5. พลังงาน (ว 5.1)                             80-82         87             -        4
6. กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก (ว 6.1) 83-85                  88                      4
                       รวม                       25          3              2       30




                                             6
แบบทดสอบภาคปฏิบัติการอานออกเสียง/ชนิดเขียนตอบ
      กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้น ป.3

                              แบบทดสอบ                        จํานวนฉบับ
 1. สอบภาคปฏิบัติ ความสามารถในการอานออกเสียง                     1
 (กลุมคําละ 5 คะแนน รวม 45 คะแนน)
 - คําที่ไมมีตัวสะกด            - คําที่มีตัวสะกดตรงมาตรา
 - คําที่มีตัวสะกดไมตรงมาตรา - คําที่ประสมกับสระลดรูป
 - คําที่ประสมกับสระเปลี่ยนรูป - คําควบกล้ํา
 - คําอักษรนํา - คําที่มีรูปวรรณยุกต - คําที่มีตัวการันต
  2. ความสามารถในการเขียน (เขียนตอบ 20 คะแนน)                     1
 - ชื่อเรื่อง (2)         - การเขียนเรื่อง (10)
 - การใชภาษา (4)          - การนําเสนอเนื้อเรื่อง (4)
                                  รวม                             2



      ตอนที่ 2 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้น ป.3

                             แบบทดสอบ                         จํานวนขอ
 ความสามารถในการคิดคํานวณ (เขียนตอบ 20 คะแนน)                     2
 - ขั้นวิเคราะหโจทย (4,4) - ขั้นแสดงวิธีคิดหาคําตอบ (4,5)
 - ขั้นแสดงคําตอบ (2,1)
                                  รวม                             2




                                              7
โครงสรางขอสอบชนมัธยมศกษาปที่ 2
                ้ั     ึ

      กระดาษคําตอบแผนที่ 1
                               กลุมสาระการเรียนรูคณตศาสตร
                                                      ิ
                                กลุมสาระการเรียนรูสังคมศกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                                                          ึ
                                กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
      กลุมสาระการเรียนรูคณตศาสตร ม.2
                            ิ

                                                     รูปแบบขอสอบ
                 สาระ                     เลือกตอบ          ระบายคําตอบ   รวม
                                              (ขอที่          ขอที่)
 1. จํานวนและการดําเนินการ
 (ค 1.1)                                       1-7              31        8
 (ค 1.2)                                       8-9                        2
 (ค 1.3)                                       10                         1
 (ค 1.4)                                       11                         1
 2. การวัด
 (ค 2.1)                                   12-13                32        3
 (ค 2.2)                                                        33        1
 3. เรขาคณิต (ค 3.2)                       14-25               34-37      16
 4. พีชคณิต   (ค 4.2)                      26-29               38-39      6
 5. การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน
                 
 (ค 5.1)                                                        40        1
 (ค 5.2)                                       30                         1
                 รวม                           30               10        40



                                          8
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ม.2
                             ึ

                                             รูปแบบขอสอบ
                   สาระ              เลือกตอบ        กลุมสัมพนธ
                                                              ั     รวม
                                         (ขอที่)        (ขอที่)
1. ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
(ส 1.1)                                  41-42           71-72      4
(ส 1.2)                                  43-47                      5
2. หนาที่พลเมือง วัฒนธรรม ฯ
(ส 2.1)                                  48-50           73-74      5
(ส 2.2)                                  51-52                      2
3. เศรษฐศาสตร
(ส 3.1)                                  53-56           75-76      6
(ส 3.2)                                  57-58                      2
4. ประวัติศาสตร
(ส 4.1)                                    59               77      2
(ส 4.2)                                  60-62              78      4
(ส 4.3)                                  63-65                      3
5. ภูมิศาสตร
(ส 5.1)                                  66-68           79-80      5
(ส 5.2)                                  69-70                      2
                   รวม                     30               10      40




                                     9
กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ม.2

                                                 รูปแบบขอสอบ
                 สาระ                       เลือกตอบ     กลุมสัมพนธ
                                                                  ั     รวม
                                              (ขอที่)      (ขอที่)
1. ภาษาเพื่อการสื่อสาร
(ต 1.1)                                       81-87        111-112      9
(ต 1.2)                                       88-95        114-118      13
(ต 1.3)                                     96, 99-101     119-120      6
2. ภาษาและวัฒนธรรม
(ต 2.1)                                 97-98,102-103            -      4
(ต 2.2)                                      104-109             -      6
3. ภาษากับความสัมพันธกับชุมชนและโลก
(ต 4.1)                                        110              113     2
                  รวม                           30              10      40




                                       10
กระดาษคําตอบที่ 2 กลุมสาระการเรยนรูวิทยาศาสตร
                                      ี
                             กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

      กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ม.2

                                                     รูปแบบขอสอบ
               สาระ                    เลือกตอบ เลือกหลายคําตอบ กลุมสัมพนธ รวม
                                                                         ั
                                        (ขอที่)       (ขอที่)     (ขอที่)
1. สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต
(ว 1.1)                                   1-7          31-32          37       10
3. สารและสมบัติของสาร
(ว 3.1)                                 8-9, 13        33, 35         38       6
(ว 3.2)                                10-12, 14                               4
4. แรงและการเคลื่อนที่ (ว 4.1)          15-19              -           -       5
5. พลังงาน (ว 5.1)                      20-23              -          39       5
6. กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
(ว 6.1)                                 24-30          34, 36         40       10
                รวม                       30               6           4       40




                                                11
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ม.2

                                                      รูปแบบขอสอบ
                 สาระ                                                              รวม
                                                 เลือกตอบ          กลุมสัมพนธ
                                                                            ั
  1. การอาน (ท 1.1)                            41-46, 48             71-72            9
  2. การเขียน (ท 2.1)                       49-51, 53-54, 57-58       73-74            9
  3. การฟง การดู และการพูด (ท 3.1)           47, 52, 56, 59          75-76            6
  4. หลักการใชภาษา (ท 4.1)                  55, 61-63, 65-67        77-78,80          10
  5. วรรณคดีและวรรณกรรม (ท 5.1)                60, 64, 68-70           79              6
                 รวม                                 30                10              40


ตารางสอบ
      การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯ ปการศึกษา 2554 ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 กําหนด
สอบ 2 วันวันที่ 8-9 มีนาคม 2555 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 สอบวันที่ 8 มีนาคม 2555 รายละเอียด
กําหนดสอบ ตามตารางสอบดังนี้


        วันสอบ              ชั้นที่สอบ       ภาคเชา                           ภาคบาย
                                    - ภาษาไทย                          - การเขียน
                  ประถมศึกษาปที่ 3 - คณิตศาสตร                       - การคิดคํานวณ
                                    - วิทยาศาสตร
    8 มีนาคม 2555
                                    - คณิตศาสตร                       - วิทยาศาสตร
                  มัธยมศึกษาปที่ 2 - สังคมศึกษา ฯ                     - ภาษาไทย
                                    - ภาษาอังกฤษ
    9 มีนาคม 2555                            แบบทดสอบภาคปฏิบัติการอานออกเสียง
                        ประถมศึกษาปที่ 3
                                             หมายเหตุ ดําเนินการสอบใหแลวเสร็จภายในวันเดียว


                                                12
4. แผน และวิธีการประเมิน
        งานการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯ ปการศึกษา 2554 ของเขตพื้นที่การศึกษา
รวมมือกับสวนกลางในการวางแผนการประเมิน การแตงตั้งคณะอนุกรรมการ/คณะทํางานชุดตาง ๆ
เพื่อรองรับงานประเมิน การจัดพิมพ/ทําสําเนาเครื่องมือ การจัดสอบ การกํากับ ติดตามการประเมิน
การรวบรวมกระดาษคํ า ตอบเพื่ อ นํ า ส ง ส ว นกลาง การสอบภาคปฏิ บั ติ ก ารอ า น การตรวจ
กระดาษคํา ตอบแบบเขียนตอบ ตลอดจนการนําผลการประเมินไปปรับปรุง พัฒนาคุณ ภาพการจัด
การเรียนการสอน ของเขตพื้นที่การศึกษา โรงเรียน และนักเรียนเปนรายบุคคล จึงจําเปนตองจัดระบบ
การบริหารจัดการใหรัดกุม เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ในทุกพื้นที่ของเขตพื้นที่การศึกษา
          ภาระที่สํ า คัญ ในการจัดการประเมิน ประการหนึ่ง คือการบริห ารจั ดการใหมีค วามคลอ งตั ว
รองรับระบบการประเมินไดอยางมีประสิทธิภาพ เขตพื้นที่การศึกษาจึงควรแบงภาระรับผิดชอบออกเปน               
ศู น ย ป ระสานการสอบ ซึ่ ง อาจแบ ง เป น ศู น ย ต ามอํ า เภอต า ง ๆ ในเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา โดยรอง
ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาแตละทาน ที่รับผิดชอบการจัดการศึกษาในแตละพื้นที่ (Area
Based) เปนผูรับผิดชอบดูแล บริหารจัดการศูนยประสานการสอบในพื้นที่ที่ตนรับผิดชอบ
การดําเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน ปการศึกษา 2554
ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 และมัธยมศึกษาปที่ 2 ไดกําหนดแผน และวิธีการประเมิน โดยสํา นักทดสอบ
ทางการศึกษา รวมกับสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ดังนี้
สวนกลาง
         1. เพื่อใหการดําเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน
ปการศึกษา 2554 มีประสิทธิภาพ มีความเปนมาตรฐาน สอดคลองกับนโยบาย สพฐ. วิธีดําเนินการ
ประเมินเพื่อตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน การรายงานความกาวหนาดานผลสัมฤทธิ์
ของนักเรียน ใหเกิดการพัฒนาและปรับปรุงการเรียนการสอน และใชเปนขอมูลสงเสริม สนับสนุน และ
พัฒนาการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอยา งตอเนื่อง จึงได
แตงตั้งคณะกรรมการตาง ๆ ดังตอไปนี้
               1.1 คณะกรรมการการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพ
ผูเรียน ปการศึกษา 2554 โดยมีเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปนที่ปรึกษา
รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (นางเบญจลักษณ น้ําฟา) เปนประธานกรรมการ
ที่ปรึกษา สพฐ. ผูเ ชี่ยวชาญ สพฐ. ผูอํา นวยการสํา นั ก/ผูแ ทนหนว ยงานใน สพฐ. เปนกรรมการ
ผูอํา นวยการสํา นักทดสอบทางการศึกษา เปนกรรมการและเลขานุการ มีหนา ที่พิจ ารณากํา หนด
รูปแบบ หลักการและแนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษา เพื่อตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษา
                                                   13
ขั้นพื้นฐาน และรายงานความกาวหนาดานผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน รวมทั้งการสงเสริม สนับสนุน การ
นําผลไปใช และพัฒนาการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอยางตอเนื่อง เสนอแนะ
แนวทางการปฏิบัติ งาน การพัฒ นาคุณ ภาพและมาตรฐานการประเมิ น ของสํา นักงานเขตพื้น ที่
การศึกษา และสถานศึกษา ใหคําแนะนํา กํากับ ดูแล เรงรัด ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงานการ
ประเมินคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งระบบ และแตงตั้งคณะกรรมการ (เพิ่มเติม)
คณะอนุกรรมการ หรือคณะทํางานเฉพาะเรื่อง ตามความจําเปนและเห็นสมควร เพื่อปฏิบัติงานตาม
หนาที่ที่คณะกรรมการมอบหมาย
                  1.2 คณะกรรมการดําเนินงานประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ปการศึกษา 2554 โดย ผูอํานวยการสํา นักงานเขตพื้นที่การศึกษา เปน
ประธานกรรมการ รองผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่รับผิดชอบการประเมิน เปนรอง
ประธานกรรมการ รองผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกคน ผูอํานวยการกลุมในสํานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาทุกกลุม ผูทรงคุณวุฒิจากคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศ
การจัดการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ผูแทนสถานศึกษาระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ผูแทน
สถานศึกษาอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ศึกษานิเทศกทุกทานเปนกรรมการ ผูอํานวยการกลุมนิเทศ ติดตามและ
ประเมินผลการศึกษา เปนกรรมการและเลขานุการ ศึกษานิเทศกกลุมงานวัดและประเมินผลฯ และ
ศึ ก ษานิ เ ทศก ก ลุ ม งานส ง เสริ ม พั ฒ นาระบบการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา เป น กรรมการและ
ผูชวยเลขานุการ มีหนาที่กําหนดแผนดําเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ในเขตพื้นที่การศึกษา ตามนโยบาย หลักการและแนวทางที่คณะกรรมการการประเมินคุณภาพ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯ (สวนกลาง) กําหนด ใหคําแนะนํา กํากับ ดูแล เรงรัด ติดตามประเมินผลการ
ปฏิ บัติ งานประเมิ นคุ ณภาพการศึ กษาในเขตพื้น ที่ก ารศึก ษาที่รั บผิ ดชอบฯ แต งตั้ งคณะกรรมการ
(เพิ่มเติม) คณะอนุกรรมการ คณะทํางานเฉพาะเรื่อง ตามความจําเปนและเห็นสมควร เพื่อปฏิบัติงาน
ตามหนาที่ที่คณะกรรมการดําเนินการประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา มอบหมาย
          2. ประชุมคณะกรรมการการประเมินคุณ ภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯ เพื่อพิจารณากําหนด
รูปแบบ หลักการ และแนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษา เพื่อตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน
          3. ประชุมปฏิบัติการคณะกรรมการดําเนินงานระดับเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อกําหนดแผนปฏิบัติ
งานประเมินการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯ ปการศึกษา 2554 ระหวาง
สวนกลาง กับเขตพื้นที่การศึกษา
          4. แตงตั้งคณะอนุกรรมการ/คณะทํางาน เพื่อปฏิบัติงาน ตามกิจกรรมในแผนการประเมิน


                                               14
5. จัดสรรงบประมาณการดําเนินงานประเมินใหเขตพื้นที่การศึกษา โดยจัดสรรงบประมาณตาม
สัดสวน โรงเรียน และจํานวนนักเรียน ของแตละเขตพื้นที่การศึกษา
        6. จัดทําตนฉบับแบบทดสอบและเอกสารประกอบ
        7. จัดสงตนฉบับแบบทดสอบและเอกสารประกอบใหเขตพื้นที่การศึกษาทางระบบ EPCC เพื่อ
จัดทําสําเนาใชสอบ
        8. จัดสงกระดาษคําตอบแบบปรนัย ชั้น ป.3 และ ม.2 ใหเขตพื้นที่การศึกษา
        9. คณะติดตามและประเมินผลการดําเนินงานการประเมินจากสวนกลาง ติดตอประสานการ
ดําเนินการสอบกับเขตพื้นที่การศึกษา กําหนดการติดตามการปฏิบัติงานกอนวันสอบ วันสอบ และหลัง
สอบ เพื่อใหคําแนะนํา แกปญหาอุปสรรคที่เกิดจากการปฏิบัติงาน และรายงานผลการติดตามการ
ปฏิบัติงานประเมินใหกับ สพฐ.
        10. รับกระดาษคําตอบแบบปรนัยจากเขตพื้นที่การศึกษา
        11. รับผลการตรวจใหคะแนนแบบทดสอบภาคปฏิบัติการอาน การเขียน การคิดคํานวณจาก
เขตพื้นที่การศึกษา ทางระบบ EPCC ตรวจสอบขอมูล และหลอมรวมขอมูลทั้งหมดเปนภาพรวมของ
สพฐ.
        12. ตรวจกระดาษคําตอบ วิเคราะห ประมวลผลขอมูล และรายงานผล
        13. รายงานผลการประเมิ นคุณ ภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณ ภาพผู เรี ยน
ปการศึกษา 2554
        14. ติดตาม สนับสนุนเขตพื้นที่การศึกษา/สถานศึกษาทุกแหง นําผลการประเมินไปใชเพื่อ
แกไขจุดออนดอยของนักเรียนเปนรายบุคคล การวางแผน และปรับปรุงการเรียนการสอนของเขต และ
โรงเรียน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษา
        เพื่อใหการดําเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน
ปการศึกษา 2554 ของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษา มีประสิทธิภาพ และ
มาตรฐานเดียวกันทุกเขตพื้นที่การศึกษา ควรมีแนวดําเนินการ ดังนี้
        1. จั ด เตรี ย มแผนการประเมิ น ฯ ของเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา สํ า รวจข อ มู ล นั ก เรี ย นตาม
กลุมเปาหมาย พรอมเขา ระบบ EPCC ดําเนินการปรับปรุงแกไขขอมูลจํา นวนนักเรียน โรงเรียน ให
ถูกตองเรียบรอยและเปนปจจุบัน




                                                 15
2. ประชุมรวมกับสํานักทดสอบทางการศึกษา เพื่อกําหนดแผนปฏิบัติงานประเมินการประเมิน
คุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯ ปการศึกษา 2554 และตรวจสอบจํานวนนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 และมัธยมศึกษาปที่ 2
        3. ประชุมชี้แจงคณะกรรมการดําเนินงานประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษาฯ เพื่อกําหนดแผน
ดําเนินงาน ตามนโยบายหลักการ และแนวทางที่คณะกรรมการการประเมินคุณภาพการศึกษา ฯ
(สวนกลาง) กําหนด
        4. แตงตั้งคณะอนุกรรมการ/คณะทํางานชุดตางๆ ตามความจําเปน เพื่อรองรับและปฏิบัติงาน
ประเมิน และจัดประชุมเพื่อกําหนดมาตรการ แนวปฏิบัติการจัดสอบ รวมทั้งการประชาสัมพันธ แจง
ใหโรงเรียนทุกโรงทราบ
        5. แต งตั้ งคณะกรรมการดํ า เนิน งานจั ด ทํา สํา เนาข อ สอบ (จั ดพิ ม พข อสอบ) และเอกสาร
ประกอบ
        6. แตงตั้งสนามสอบและศูนยตาง ๆ เพื่อรองรับการดําเนินงานประเมิน ดังนี้
                 6.1 แตงตั้งโรงเรียนที่มีนักเรียนเขาสอบเปนสนามสอบ
                 6.2 แต ง ตั้ ง ศู น ย ป ระสานการสอบ สํ า หรั บ รั บ – ส ง แบบทดสอบและเอกสาร
ประกอบการสอบ ระหวางเขตพื้นที่การศึกษากับสนามสอบ ศูนยตรวจใหคะแนนกระดาษคําตอบชนิด
เขียนตอบ และบันทึกผล
        7. แตงตั้งคณะอนุกรรมการชุดตาง ๆ เพื่อรับผิดชอบงานการจัดสอบ ไดแก
                 7.1 คณะอนุกรรมการประสานการประเมินฯ กับสวนกลางดวยโปรแกรม EPCC
                         7.2 คณะอนุกรรมการศูนยประสานการสอบระหวาง สพท. กับสนามสอบใน
การรั บ - ส ง แบบทดสอบ และเอกสารประกอบการสอบ (ผู รั บ ผิด ชอบในการรั บ – ส ง ควรเป น
ขาราชการระดับ 7 ขึ้นไป)
                 7.3 คณะอนุกรรมการสนามสอบ โดยใหผูบริหารโรงเรียนเปนประธานสนามสอบ
                 7.4 คณะอนุ กรรมการกํา กั บการสอบแบบทดสอบปรนัย หองสอบละ 2 คน สลั บ
โรงเรียน
                 7.5 คณะอนุกรรมการกํากับการสอบแบบทดสอบปฏิบัติการอาน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3
(โดยแตงตั้งจากครูซึ่งมีประสบการณการสอนภาษาไทย สลับโรงเรียน)
                 7.6 คณะอนุกรรมการรวบรวม-นําสงกระดาษคําตอบแบบปรนัย
                 7.7 คณะอนุก รรมการตรวจให คะแนนแบบทดสอบเขี ย นตอบ (การเขี ยน การคิ ด
คํ า นวณ) ชั้ น ประถมศึ ก ษาป ที่ 3 (โดยแต ง ตั้ ง จากครู ซึ่ ง มี ป ระสบการณ ก ารสอนภาษาไทย และ
คณิตศาสตร สลับโรงเรียน)

                                                16
7.8 คณะอนุกรรมการบันทึกคะแนนผลการสอบภาคปฏิบัติการอาน และเขียนตอบลง
ในแบบบันทึกคะแนนรวม
                 7.9 คณะอนุกรรมการ ติดตาม ตรวจเยี่ยม และประเมินผลการจัดสอบของโรงเรียน/
สนามสอบ
                                  …………….. ฯลฯ ……………..
         8. รับตนฉบับแบบทดสอบและเอกสารประกอบการสอบทางระบบ EPCC ทั้งชั้นประถมศึกษา
ปที่ 3 และมัธยมศึกษาปที่ 2 รับกระดาษคําตอบแบบปรนัยจากสวนกลาง
         9. จัดทําสําเนา (พิมพ) แบบทดสอบ และเอกสารประกอบการสอบชั้นประถมศึกษาปที่ 3 และ
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ใหเพียงพอตอการดําเนินการสอบ บรรจุแบบทดสอบและกระดาษคําตอบตาม
จํานวนนักเรียนของแตละหองสอบ ลงซองปดผนึกใหเรียบรอยนําไปเก็บไวในลักษณะเอกสารลับทาง
ราชการ
         10. เขตพื้นที่การศึกษาที่จัดสอบภาคปฏิบัติการอาน ป.3 จัดประชุมอบรมกรรมการกํากับการ
สอบภาคปฏิบัติการอาน ในเรื่องวิธีดําเนินการสอบ และการใหคะแนนตามเกณฑ
         11. ประชาสัมพันธการจัดสอบใหกับ ครู/อาจารย นักเรียน ผูปกครอง ชุมชน และผูเกี่ยวของ
ใหทราบถึงวัตถุประสงคและความสําคัญของการสอบ
         12. กําหนดวัน เวลาสอบตามชวงเวลาที่สวนกลางกําหนดให และดําเนินการสอบตามคูมือการ
จัดสอบ การประเมินคุณภาพการศึกษา ฯ ปการศึกษา 2554
         13. เขตพื้นที่การศึกษาที่จัดสอบเขียนตอบ ป.3 จัดประชุมอบรมกรรมการตรวจใหคะแนน
แบบทดสอบ แบบทดสอบเขียนตอบ (การเขียน การคิดคํานวณ) ภายหลังวันสอบ และดําเนินการ
ตรวจใหคะแนน
         14. รายงานผลสอบภาคปฏิบัตการอาน การเขียน การคิดคํานวณ ใหโรงเรียน และสงขอมูลผล
                                       ิ
สอบทั้งหมดใหกับสวนกลางตามรูปแบบที่กําหนด ทางระบบ EPCC
         15. รับผลการสอบชั้น ป.3 และ ม.2 จากสวนกลาง ในภาพรวมระดับสพฐ. เขตพื้นที่การศึกษา
โรงเรียน และรายบุคคล รายงานผลใหกับโรงเรียน
         16. สรุปผลและจัดทํารายงานผลการดําเนินงานประเมินของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตอ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน




                                              17
แผนปฏิบติงานระหวางสวนกลางกบเขตพื้นที่การศกษา
                        ั                    ั              ึ

      ชวงเวลา        สํานักทดสอบทางการศึกษา                  เขตพื้นทการศกษา
                                                                      ่ี ึ
ตุลาคม 2554           วางแผนการดํ า เนิ น งาน            สพป./สพม. สํ า รวจข อ มู ล
                       ประเมิน ป.3 และ ม.2                 รายชื่ อ โรงเรี ย น/จํ า นวน
                      จั ด ทํ า ฐานข อ มู ล รายชื่ อ     นักเรียนตามกลุมเปา หมาย
                       โรงเรียน/จํ า นวนนักเรีย น          ป.3 และ ม.2
                       ป.3 และ ม.2
พฤศจิกายน 2554        เสนอคําสั่งแตงตั้ง                เตรียมการ จัดทําโครงการ
                       คณะกรรมการดํ าเนิ นการ              วางแผนการดํ า เนิ น งาน
                       ระดั บ สพ ฐ.(กรรมกา ร               ประเมิน
                       อํานวยการ)
ธันวาคม 2554          ประชุมคณะกรรมการ                   ปรับปรุงขอมูลโรงเรียนและ
                       ดําเนินการระดับสพฐ.                 จํา นวนนั กเรียน ทางระบบ
                       (กรรมการอํานวยการ)                  EPCC
                      ประสานการดําเนินงานกับ
                       เขตพื้นที่การศึกษา
                      จัดเตรียมตนฉบับ
                       แบบทดสอบ ป.3 และ ม.2
                       เอกสารประกอบการสอบ
                       และกําหนดเกณฑการ
                       ประเมิน
มกราคม 2555           ประชุมปฏิบัติการ                   ประชุมกับสํานักทดสอบฯ
                       คณะกรรมการอํานวยการ                 เพื่อจัดทําแผน ดําเนินงาน
                       ระดับ สพท. ตรวจสอบ                  ระดับ สพท.
                       ขอมูลและประสาน                    ประชุมชี้แจงคณะกรรมการ
                       แผนการประเมินฯของเขต                ดําเนินงานประเมินระดับ
                       พื้นที่การศึกษา                     สพท.


                                           18
ชวงเวลา           สํานักทดสอบทางการศึกษา                 เขตพื้นทการศกษา
                                                                         ่ี ึ
                          จัดสรรงบประมาณสอบ                 ตั้งศูนยประสานการสอบ/
                           ให สพท.                           สนามสอบ
                                                             ตั้งคณะทํางาน/ ตั้งกรรมการ
                                                              กํากับการสอบ/กรรมการ
                                                              ตรวจขอสอบ
                                                             ติดตาม การเตรียม
                                                              ความพรอม
                                                               - การเตรียมหองสอบ /
                                                                  การควบคุมหองสอบ
                                                               - ซักซอมความเขาใจ
                                                                  การกรอกรหัส
                                                             สพท. ประชุมอบรม
                                                              กรรมการสอบอาน ป.3
                                                             ประชาสัมพันธการสอบ
กุมภาพันธ 2555           สงต นฉบับขอสอบ/เกณฑ           จั ด พิ ม พ แ บบทดสอบและ
                           การให ค ะแนนการสอบ                เอกสารประกอบการสอบ/
                           ภาคปฏิ บั ติ ก ารอ า นและ         สงตนฉบับขอสอบ ป.5 ม.2
                           เอกสารประกอบการสอบ                 ใหโรงเรียน
                           ให สพท.ทางระบบ EPCC              ค ว บ คุ ม กํ า กั บ ก า ร
                                                              ดําเนินการจัดพิมพ
มีนาคม 2555               ป ร ะ ส า น ง า น /ติ ด ต า ม     รับ/สงแบบทดสอบให
                           ประเมินการสอบ                      สนามสอบ ผานศูนย
(ป.3 สอบ 8-9 มี.ค.2555    รั บ กระดาษคํ า ตอบแบบ             ประสานการสอบ
ม.2 สอบ 8 มี.ค. 2555)
                           ป ร นั ย จ า ก เ ข ต พื้ น ที่    ดําเนินการสอบ
                           การศึกษา และตรวจสอบ               ออกติดตาม ตรวจเยี่ยมการ
                           ความสมบูรณถูกตอง                 ดําเนินการสอบ
                          จัดสงเกณฑการตรวจให


                                               19
ชวงเวลา          สํานักทดสอบทางการศึกษา                เขตพื้นทการศกษา
                                                                        ่ี ึ
                             คะแนนการเขียน การคิด  ส ง กระดาษคํ า ตอบแบบ
                             คํานวณ ใหเขตพื้นที่            ปรนัยใหสวนกลาง
                             การศึกษาสําหรับตรวจ            สพท. ประชุมอบรมกรรมการ
                             ประมวลผล และ                    ตรวจใหคะแนนแบบ
                             รายงานผล                        เขียนตอบ
                                                            ตรวจคําตอบแบบเขียนตอบ
 เมษายน – พฤษภาคม  วิเคราะห/ประมวลผล ชั้น  สงผลการประเมิน การอา น
 2555                        ป.3 (ป.5 ม.2 ในภาพรวม)          การเขี ย น การคิ ด คํ า นวณ
                                                             จาก สพท.ใหกับสวนกลาง/
                                                             โรงเรียน
                                                            รวบรวม/สงผลการสอบ ป.5
                                                             ม.2
  มิถุนายน - กรกฎาคม  รายงานผลการประเมิ น  รั บ ผ ล ก า ร ปร ะ เ มิ น จ า ก
 2555                        ใหกับ สพท.                     สวนกลางทางระบบ EPCC
                                                            รายงานผลใหกับโรงเรียน
 สิ ง หา คม - กั น ยาย น  เขียนรายงาน                      นํา ผลประเมินไปใชกํา หนด
 2555                     จั ด พิ ม พ ผ ล ป ร ะ เ มิ น /   แผนการปรั บปรุ งการเรีย น
                             เผยแพร                         การสอน
                          ติดตามการนําผลประเมิน  ดํา เนินการ กํา กับ ติดตาม
                             ไปใช                           การนําผลการประเมินไปใช

การจัดพิมพขอสอบชั้นประถมศึกษาปที่ 3 และมัธยมศึกษาปที่ 2
         ใหเขตพื้นที่การศึกษาดําเนินการจัดพิมพในลักษณะของการรักษาความลับของทางราชการ โดย
มีมาตรการเรื่องการรักษาความลับ ความปลอดภัย การเก็บรักษาเครื่องมือ ดังนั้นการดําเนินการใหมี
มาตรฐานเดียวกันทุกเขตดังนี้
         1. แตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดทําสําเนาขอสอบ(จัดพิมพขอสอบ) และเอกสารประกอบ
โดยผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เปนประธาน รองผูอํานวยการเขตพื้นที่การศึกษาที่รับ

                                              20
มอบหมาย เปนรองประธาน ผูอํานวยการกลุมทุกกลุม เปนกรรมการ ผูอํานวยการกลุมนิเทศ ติดตาม
และประเมินผลการจัดการศึกษา เปนกรรมการและเลขานุการ ศึกษานิเทศกรับผิดชอบงานวัดผลเปน
กรรมการและผูชวยเลขานุการ มีอํานาจหนาที่ กําหนดแผน แนวทางการปฏิบัติงาน ดําเนินการ
ควบคุม กํากับ ติดตาม การจัดพิมพเครื่องมือ และเอกสารประกอบ อยางเครงครัด ในลักษณะรักษา
ความลับ ความปลอดภัย และการเก็บรักษาเครื่องมือ ใหมีประสิทธิภาพ และแตงตั้งคณะอนุกรรมการ
ตาง ๆ ตามความจําเปนเพื่อดําเนินการ
        2. แตงตั้งคณะอนุกรรมการ/คณะทํางานชุดตาง ๆ ตามความจําเปน เชน
                - คณะอนุกรรมการ/คณะทํางานจัดพิมพขอสอบ
                - คณะอนุกรรมการ/คณะทํางานตรวจนับ จัดบรรจุขอสอบ/กระดาษคําตอบ
                - คณะอนุ ก รรมการ/คณะทํ า งานตรวจทานความถู ก ต อ งสมบู ร ณ ข องข อ สอบ/
กระดาษคําตอบ
                - คณะอนุกรรมการ/คณะทํางานจัดเก็บรักษา จายขอสอบใหกับศูนยสอบ/สนามสอบ
                - ฯลฯ
        3. คณะอนุ ก รรมการ/คณะทํ า งานจั ด พิ ม พ ข อ สอบ ดํ า เนิ น การจั ด พิ ม พ ต ามจํ า นวนและ
ระยะเวลา ที่คณะกรรมการ ฯ กําหนดอยางเครงครัด สงตอใหกับคณะอนุกรรมการ/คณะทํางานตรวจ
นับ จัด บรรจุข อสอบ/กระดาษคํา ตอบ ดํา เนินการตรวจนับบรรจุซองปดผนึ ก ประทับตราครุฑ ให
เรียบรอยตามจํานวนหองสอบ สนามสอบ เพื่อสงตอใหกับคณะอนุกรรมการ/คณะทํางานตรวจทาน
ความถูกตองสมบูรณของขอสอบ/กระดาษคําตอบ และคณะอนุกรรมการ/คณะทํางานจัดเก็บรักษา
จายขอสอบ ตอไป
หมายเหตุ เนื่องจากบางเขตพื้นที่การศึกษาไมสะดวก/ไมพรอมในการดําเนินการจัดพิมพ อาจจัด
รวมกลุมเขตตามกลุมจังหวัด(ภาคผนวก) แลวตั้งเปนคณะกรรมการรวมดําเนินการได ทั้งนี้ใหยึดหลัก
ของการดําเนินการในลักษณะการเก็บรักษาความลับ ความปลอดภัย ของเอกสารลับทางราชการ
การจัดสอบ แตงตั้งศูนยประสานการสอบ สนามสอบ และกรรมการกํากับหองสอบ
       การจัดสอบ
              1. แนวปฏิ บั ติ ก ารสอบแบบทดสอบปรนั ย (ป.3 และ ม.2) และข อ สอบ ป.3
การเขียน การคิดคํานวณ
              ใหมีกรรมการกํากับหองสอบหองละ 2 คน ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วา
ดวยการปฏิบัติของผูกํากับการสอบ พ.ศ. 2548 อยางเครงครัด ใหจัดหองสอบมีที่นั่งสอบไมเกิน 35
คนตอหอง ในกรณีทโรงเรียนมีหองเรียนหองเดียวและมีนักเรียนเกิน 35 คน แตไมเกิน 40 คน อาจจัด
                    ี่
                                                 21
หองสอบเปนหองเดียวกันได แตควรจัดโตะใหมีระยะหางกันพอสมควร และไมควรจัดโตะใหอยูนอก
หองสอบ กรณีจํานวนผูเขาสอบเกิน 40 คน ใหจัดหองสอบเพิ่ม ประกาศรายชื่อนักเรียนและแผนผังที่
นั่งสอบติดที่หนา หองสอบทุกหอง พรอมขอมูล รายละเอียดของนักเรียนแตล ะคนที่ตองระบายใน
กระดาษคําตอบ เชน รหัสโรงเรียน รหัสประจําตัวประชาชนของนักเรียน 13 หลัก จัดเตรียมดินสอ
2B และยางลบใหนักเรียน หรือกําชับนักเรียนใหเตรียมติดตัวมาในวันสอบ ดําเนินการสอบตามลําดับ
ขั้นตอนดังนี้
                1) ใหกรรมการกํากับหองสอบ ดําเนินการสอบตามตารางสอบที่กําหนดไว กอนเวลา
เริ่มการสอบ ใหเปดซองบรรจุแบบทดสอบและกระดาษคําตอบ กอนเปดใหตรวจสอบความเรียบรอย
ของซอง (หากพบความผิดปกติใหรีบแจง และบันทึกเหตุการณตอประธานสนามสอบเพื่อแจงศูนย
ประสานการสอบ) โดยเรียกตัวแทนนักเรียนที่เขาสอบเปนพยาน และลงลายมือชื่อความเรียบรอยของ
ซองบรรจุ จึ ง ให ก รรมการกํ า กั บ ห อ งสอบแจกกระดาษคํ า ตอบและแบบทดสอบโดยคว่ํ า หน า
แบบทดสอบไวบนโตะที่นั่งสอบของนักเรียนจนครบ
               2) ใหก รรมการกํา กับ หอ งสอบแจกกระดาษคํา ตอบ และอธิบ ายการกรอกรหั ส
รายการตาง ๆ ที่ดานหนากระดาษคําตอบและชี้แจงวิธีการเขียนหรือระบายรหัสลงในชอง ตรงกับ
ตัวเลขรหัส ที่กรอกไว
               กระดาษคําตอบ
                       ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 จะมีจํา นวน 1 แผน สํา หรับตอบคํา ถาม ภาษาไทย
คณิตศาสตร วิทยาศาสตร
                       ชั้น มัธ ยมศึก ษาปที่ 2 จะมีจํา นวน 2 แผน โดยแผน ที่ 1 ใชต อบคํา ถาม
คณิต ศาสตร สัง คมศึก ษาฯ และภาษาอัง กฤษ แผน ที่ 2 ใชต อบคํา ถาม วิท ยาศาสตร และ
ภาษาไทย
               3) กรรมการกํากับหองสอบแจกแบบทดสอบที่ละกลุมสาระการเรียนรูตามตารางสอบ
ยกตัวอยา งชั้นประถมศึกษาปที่ 3 เริ่มดวยการแจกแบบทดสอบภาษาไทย เริ่มสอบใหนักเรียนเปด
แบบทดสอบพรอมกัน เมื่อหมดเวลาสอบเก็บแบบทดสอบภาษาไทย แจกแบบทดสอบคณิตศาสตร
เมื่อหมดเวลาสอบเก็บแบบทดสอบคณิตศาสตร แจกแบบทดสอบวิทยาศาสตร
               4) ใหกรรมการกํากับหองสอบย้ําเรื่องเวลาที่ใชในการสอบ
               5) ในขณะที่นักเรียนกําลังทําขอสอบ ใหกรรมการกํากับหองสอบตรวจความเรียบรอย
และปองกันการทุจริต โดยยืนที่มุมใดมุมหนึ่งภายในหอง ในกรณีที่มีผูสงสัยใหยกมือขึ้น เพื่อที่กรรมการ
กํากับหองสอบจะไดอธิบายขอสงสัยเปนรายบุคคลดวยเสียงเบา ๆ หรือถาขอสงสัยนั้นเปนสิ่งที่จะตอง


                                                22
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามวชิรญาณ์ พูลศรี
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2teerachon
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2dnavaroj
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนatunya2530
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 

Was ist angesagt? (20)

ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
 
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
 
Pat2 53
Pat2 53Pat2 53
Pat2 53
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 

Ähnlich wie คู่มือการสอบNt

คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55Patchanida Yadawong
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ NtNirut Uthatip
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลnarongsak promwang
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552Nang Ka Nangnarak
 
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษามาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษาkruthai40
 
สอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูสอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูSarawut Rajchakit
 
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรBest practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรsomdetpittayakom school
 
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51krupornpana55
 
Quality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBUQuality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBUPises Tantimala
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1Pimpisut Plodprong
 
บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1luanrit
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษาjeabjeabloei
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์Jutatip Ni
 
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.nang_phy29
 
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)krupornpana55
 

Ähnlich wie คู่มือการสอบNt (20)

คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ Nt
 
คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
 
2552 high school performance standards.9
2552 high school performance standards.92552 high school performance standards.9
2552 high school performance standards.9
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
 
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษามาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
 
สอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูสอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครู
 
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรBest practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
 
Quality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBUQuality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBU
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
 
บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1
 
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, ThailandSchool Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
 
๑ภาพรวมชุดฝึกวัดผล
๑ภาพรวมชุดฝึกวัดผล๑ภาพรวมชุดฝึกวัดผล
๑ภาพรวมชุดฝึกวัดผล
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์
 
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
 
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
 

Mehr von สุมิตรา จิตต์ศรัทธา (8)

Wisdom2
Wisdom2Wisdom2
Wisdom2
 
Wisdom1
Wisdom1Wisdom1
Wisdom1
 
กลุ่มมะยม ภูมิปัญญาด้านการแต่งกาย
กลุ่มมะยม ภูมิปัญญาด้านการแต่งกายกลุ่มมะยม ภูมิปัญญาด้านการแต่งกาย
กลุ่มมะยม ภูมิปัญญาด้านการแต่งกาย
 
1 asean
1 asean1 asean
1 asean
 
คู่มือwordpress
คู่มือwordpressคู่มือwordpress
คู่มือwordpress
 
940
940940
940
 
ตารางสอบ
ตารางสอบตารางสอบ
ตารางสอบ
 
การสอบประเมินการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การสอบประเมินการศึกษาขั้นพื้นฐานการสอบประเมินการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การสอบประเมินการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 

คู่มือการสอบNt

  • 1. คูมือการจัดสอบ การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน ปการศึกษา 2554 สํานักทดสอบทางการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ กุมภาพันธ พ.ศ. 2555 35
  • 2. คํานํา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดดําเนินการประเมินผลสัมฤทธิ์นักเรียนระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน ปการศึกษา 2554 ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3 และมัธยมศึกษาปที่ 2 เพื่อใหไดผลการประเมิน ใชเปนขอมูลสําคัญที่สะทอนคุณภาพการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการปรับปรุง พัฒนา และการเตรียมความพรอมของผูเรียน เพื่อรองรับการประเมินระดับชาติ (O-NET) ใหคุนเคยกับ ขอสอบที่เนนการคิดวิเคราะห และรูปแบบขอสอบที่หลากหลาย คูมือการจัดสอบ การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน ปการศึกษา 2554 นี้ ประกอบดวยรายละเอียดและขั้นตอนตาง ๆ ที่สําคัญ สําหรับเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ยึดเปนแนวปฏิบัติ จึงจําเปนที่เขตพื้นที่การศึกษา ฯ ตองศึกษาและทําความ เขา ใจในรายละเอียด ขั้นตอนตา ง ๆ ที่กําหนดในคูมือนี้ เพื่อใหการประเมิน ฯ เปนไปอยา งบริสุทธิ์ ยุติธรรม โปรงใส ตรวจสอบได มีมาตรฐานเดียวกันทั้งประเทศ ผลการประเมินเชื่อถือได สํานักทดสอบทางการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 36
  • 3. สารบัญ หนา 1. เหตุผลและความสําคัญ 1 2. วัตถุประสงค 3 3. สาระ/เครื่องมือการประเมิน 3 โครงสรางและรูปแบบของเครื่องมือ 4 ตารางสอบ 12 4. แผนและวิธีการประเมิน 11 สวนกลาง 13 เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษา 15 แผนปฏิบัติงานระหวางสวนกลางกับเขตพื้นที่การศึกษา 18 การจัดพิมพขอสอบชั้นประถมศึกษาปที่ 3 และมัธยมศึกษาปที่ 2 20 การจัดสอบ 21 การตั้งกรรมการตรวจใหคะแนนขอสอบแบบเขียนตอบ และบันทึกขอมูล 28 แตงตั้งศูนยประสานการสอบ สนามสอบ และกรรมการกํากับหองสอบ 31 การรายงานผลใหนักเรียน โรงเรียน 32 การนําผลไปใช 32 ภาคผนวก 34 ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการปฏิบัตของผูกํากับการสอบ พ.ศ. 2548 ิ 35 คําสั่งสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน ที่ 2/2555 เรื่องแตงตั้ง ้ 37 คณะกรรมการดําเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการ ประกันคุณภาพผูเรียน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ปการศึกษา 2554 การรวบรวมและนําสงกระดาษคําตอบ 39 37
  • 4. คูมือการจัดสอบ การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน ปการศึกษา 2554 1.เหตุผลและความสําคัญ การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) กําหนดวิสัยทัศน ใหคนไทยไดเรียนรู ตลอดชีวิตอยา งมีคุณภาพ และเปา หมาย ปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรูอยา งเปนระบบ โดยเนน ประเด็นหลักสามประการ คือ 1) คุณ ภาพและมาตรฐานการศึกษาและเรียนรูของคนไทย โอกาส ทางการศึกษาและเรียนรู เพื่อพัฒนาผูเรียน สถานศึกษา แหลงเรียนรู สภาพแวดลอม หลักสูตร และ เนื้อหา พัฒนาวิชาชีพครูใหเปนวิชาชีพที่มีคุณคา สามารถดึงดูดคนเกงดีและมีใจรัก มาเปนครูคณาจารย ไดอยางยั่งยืน ภายใตระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ 2) เพิ่มโอกาสการศึกษาและเรียนรูอยางทวถง ่ั ึ และมีคุณภาพ เพื่อใหประชาชนทุกคน ทุกเพศทุกวัยมีโอกาสเขาถึงการศึกษาและเรียนรูอยางตอเนื่อง ตลอดชีวิต 3) สงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวนของสังคม ในการบริหารและจัดการศึกษา โดยเพิ่ม บทบาทของผู ที่ อ ยู ภ ายนอกระบบการศึ ก ษาด ว ย และข อ เสนอการปฏิ รู ป การศึ ก ษาของ กระทรวงศึกษาธิการตอคณะรัฐมนตรี “.....ใหส ถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติและสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดํา เนินการประกันการเรียนรูและรับรองมาตรฐานผูเรียน โดย ประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนในชั้นเรียนสุดทายของแตละชวงชั้นใหเปนการวัดผลระดับชาติ เพื่อให สามารถใชการวัดประเมินผลที่เปนมาตรฐาน สามารถเทียบเคียงกันได เปนกลไกในการประกันการเรียนรู และรับรองมาตรฐานผูเรียนแตละชวงชั้น......” จากวิสัยทัศน เปาหมายและขอเสนอดังกลาว สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึง ได กํ า หนดจุ ด เน น การพั ฒ นาคุ ณ ภาพผู เ รี ย นเพื่ อ ให ส อดคล อ งกั บ นโยบาย ในด า นทั ก ษะและ ความสามารถ คือชั้น ป.1-3 นักเรียนมีทักษะความสามารถในการอานออก เขียนได คิดเลขเปน มี ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ป.4-6 อานคลอง เขียนคลอง คิดเลขคลอง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ม.1-3 แสวงหาความรู ดวยตนเอง ใช เทคโนโลยี เพื่ อการเรี ยนรู มีทั กษะการคิดขั้นสูง ทักษะชี วิต ม.4-6 แสวงหาความรูเพื่อแกปญหา ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู ใชภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีทักษะ การคิดขั้นสูง รวมทั้งมีทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารตามชวงวัยในทุกชวงชั้น ประกอบกับหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่ไดกํา หนดใหการวัดและประเมินผลการเรียนรู เปนสวนหนึ่งของการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อใหไดขอมูลสารสนเทศที่จําเปนในการพิจารณาวา ผูเรียนเกิดคุณภาพการเรียนรูตามผลการเรียนรูของหลักสูตร สะทอนจุดเนนการพัฒนาผูเรียนหรือไม ซึ่งกําหนดใหมีการวัดและประเมินผลการเรียนรูใน 4 ระดับ ไดแก ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา
  • 5. ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ โดยมีเจตนารมณเชนเดียวกัน คือ ตองการสะทอนภาพการ จัดการศึกษาวาสามารถพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนดไดมากนอยเพียงใด การวัด และประเมินผลการเรียนรูทั้ง 4 ระดับ จึงเปนกิจกรรมที่สําคัญยิ่ง ที่จะสะทอนถึงผลการจัดการศึกษา ชวยใหผูเรียนไดรูถึงศักยภาพในสมรรถนะความสามารถ หรือผลสัมฤทธิ์ของตนเองไดเปนอยางดี รูถึง สมรรถนะ ความสามารถ ตลอดจนศักยภาพที่ตนมี วาตองไดรับการปรับปรุงแกไข หรือพัฒนาในเรื่องใด ที่จําเปนสมควรไดรับการพัฒนาใหดียิ่งขึ้น ซึ่งจะเปนการสงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาตนเองไดเต็มตาม ศักยภาพ รวมทั้งยังมุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาตอและ ประกอบอาชีพ เปาหมายและตัวบงชี้การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองของคณะกรรมการนโยบายปฏิรูป การศึ กษาในทศวรรษที่ ส อง (กนป.) เปา หมายที่ 1 ใหค นไทยและการศึก ษาไทยมีคุณ ภาพและได มาตรฐานระดั บ สากล โดยมี ตั ว บ ง ชี้ แ ละค า เป า หมายที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ผลสั ม ฤทธิ์ ข องผู เ รี ย นคื อ 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลัก จากการทดสอบระดับชาติมีคะแนนเฉลี่ยมากกวารอยละ 50 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาดานคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรเพิ่มขึ้นเปนไมต่ํากวาคาเฉลี่ยนานาชาติ (ผลทดสอบ PISA) 3) ความสามารถดานภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้นรอยละ 3 ตอป จากเปาหมายและตัวบงชี้ ดังกลาว จุดเนนของการวัดและประเมินผลการเรียนรูของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จะประเมินเพื่อศึกษาและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ผูเรียนใหเขาสูมาตรฐาน เพื่อเปนหลักประกันการเรียนรู (Accountability) และเตรียมการใหผูเรียนมีความพรอมสําหรับรองรับการประเมิน ทั้งการทดสอบ ระดับชาติหรือระดับนานาชาติ โดยจะมุงประเมินผลสัมฤทธิ์ในกลุมสาระการเรียนรูวิชาหลัก เริ่มตั้งแต ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 (และจะเพิ่มการตรวจสอบความพรอม ในทักษะการอาน เขียน คิดคํานวณ ซึ่ง ถือเปนเครื่องมือพืนฐานเบื้องตนสําคัญ ที่ใชในการเรียนรู) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เพื่อเปนการกระตุน ้ และเตรียมความพรอมใหกับผูเรียนลวงหนาในการรองรับการทดสอบระดับชาติหรือ O-NET ชั้น ม.3 จากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ (องคการมหาชน) และการประเมินระดับนานาชาติ (PISA 2012) ที่มีรูปแบบการประเมินที่หลากหลาย ตอบสนองตามเปาหมายของการปฏิรูปในทศวรรษที่สอง ผลการประเมิ น ที่ ไ ด จ ะเป น ข อ มู ล สํ า คั ญ ที่ ส ะท อ นคุ ณ ภาพการดํ า เนิ นงานการจั ด การศึ กษาของ สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่จําเปนตองมีขอมูล ผลการเรียนรู เพื่อปรับปรุง/พัฒนาและการเตรียมความพรอมของผูเรียน และเปนตัวบงชี้คุณภาพ การศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวม เพื่อใชเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจในการกําหนดนโยบาย และการ วางแผนในการพั ฒ นาคุ ณภาพการศึ กษาระดับ สถานศึ ก ษา ระดับ เขตพื้ นที่ การศึก ษา และระดั บ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2
  • 6. ตามเหตุผลและความจําเปนดังกลาว ในปการศึกษา 2554 (งบประมาณป 2555) สํานักทดสอบ ทางการศึกษา จึงไดดําเนินโครงการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้ฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน ปการศึกษา 2554 2. วัตถุประสงค 1. เพื่อตรวจสอบทักษะความสามารถของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ในดานการอาน เขียน คิดคํา นวณ และผลสัมฤทธิ์ 3 กลุมสาระหลักคือกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย คณิตศาสตร และ วิทยาศาสตร 2. เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ใน 5 กลุมสาระหลัก คือกลุมสาระ การเรียนรูภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศึกษา ฯ ภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) และเพื่อ เตรียมความพรอมในการประเมินระดับชาติ (O-NET) ปการศึกษา 2555 3. สาระ / เครื่องมือการประเมิน การประเมิ น จะใช เ ครื่อ งมื อ เปน แบบทดสอบปรนั ย ชนิด เลื อ กตอบ (Multiple choices) แบบทดสอบภาคปฏิบัติ (Performance Test) การอาน และแบบทดสอบชนิดเขียนตอบ (การเขียน และการคิดคํานวณ) โดยประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนตามจุดมุงหมายของหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 1) ชั้นประถมศึก ษาปที่ 3 ประเมินผลสัมฤทธิ์นักเรียนทุกคนทุกโรงเรียน สังกัดสํา นักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในกลุมสาระภาษาไทย คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร และสอบ ภาคปฏิบัติความสามารถทางการอาน การเขียน การคิดคํานวณ 2) ชั้นมั ธยมศึก ษาปที่ 2 ประเมิ นผลสัม ฤทธิ์นัก เรียนทุกคนทุ กโรงเรียนสั งกัดสํา นักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคม ศึกษา ฯ และภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 3
  • 7. เครื่องมือที่ใชในการสอบ แสดงรายละเอียด ดังตาราง เลือกตอบ เวลา ภาคปฏบต/ ิ ัิ เวลา ชั้น กลุมสาระฯที่สอบ เขียนตอบ (ขอ) (นาที) (นาที) การอาน 1 ฉบับ 5 ภาษาไทย 30 40 การเขียน 1 ฉบับ 40 ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 คณิตศาสตร 30 60 การคิดคํานวณ 2 ขอ 50 วิทยาศาสตร 30 50 - - คณิตศาสตร 40 90 - - สังคมศึกษา ฯ 40 60 - - ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาษาอังกฤษ 40 60 - - วิทยาศาสตร 40 90 - - ภาษาไทย 40 60 - - โครงสรางและรูปแบบของเครื่องมือ ในแตล ะกลุมสาระการเรียนรูได กํา หนดน้ํ า หนักในแตล ะสาระเพื่อ ใชเปน สถานการณส รา ง ขอสอบ โดยคณะกรรมการประกอบด วยครูผู ส อน ศึ กษานิเ ทศก นั กวัดผล และนั กวิชาการศึกษา หลักการกําหนดน้ําหนักสาระ ยึดความสําคัญ/ปริมาณของสาระ จํานวนคาบในการเรียนการสอน และ มาตรฐานการเรี ย นรู ตั ว ชี้ วั ด ช ว งชั้ น ตั ว ชี้ วั ด ชั้ น ป ตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุทธศักราช 2551 ไดโครงสรางของแบบทดสอบสําหรับใชประเมินคุณภาพการศึกษา ปการศึกษา 2554 ดังนี้ โครงสรางแบบทดสอบชั้นประถมศึกษาปที่ 3 แบบทดสอบชนิดเลือกตอบ วัด 3 กลุมสาระการเรียนรู 1. กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 2. กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 3. กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร 4
  • 8. กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้น ป.3 รูปแบบขอสอบ สาระ รวม เลือกตอบ ขอที่ จับคู ขอที่ 1. การอาน (ท 1.1) ท9 1-9 - - 9 2. การเขียน (ท 2.1) - - 4 27-30 4 3. การฟง การดู และการพูด (ท 3.1) 4 10-13 - - 4 4. หลักการใชภาษา (ท 4.1) 8 14-21 - - 8 5. วรรณคดี และวรรณกรรม (ท5.1) 5 22-26 - - 5 รวม 26 4 30 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้น ป.3 รูปแบบขอสอบ สาระ รวม เลือกตอบ ขอที่ จับคู ขอที่ 1. จํานวนและการดําเนินการ (ค 1.1) 2 31-32 2 (ค 1.2) 7 33-39 3 58-60 10 2. การวัด (ค 2.1) 6 40-45,47 6 (ค 2.2) 2 46,48 2 3. เรขาคณิต (ค 3.1) 3 49-51 3 4. พีชคณิต (ค 4.1) 3 52,54-55 3 5. การวิเคราะหขอมูลและ ความนาจะเปน (ค 5.1) 3 53,56-57 3 รวม 27 3 30 5
  • 9. กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ชั้น ป.3 สาระ เลือกตอบ เลือกหลายคําตอบ กลุมสัมพนธ รวม ั (ขอที่) (ขอที) ่ (ขอที่) 1. สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต (ว 1.2) 61-65 - 89 6 2. สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม (ว 2.1) 66-67 - - 2 (ว 2.2) 68-71 - - 4 3. สารและสมบัติของสาร (ว 3.1) 73,76 - 90 3 (ว 3.2) 72,74,75 - - 3 4. แรงและการเคลื่อนที่ (ว 4.1) 77-79 86 - 4 5. พลังงาน (ว 5.1) 80-82 87 - 4 6. กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก (ว 6.1) 83-85 88 4 รวม 25 3 2 30 6
  • 10. แบบทดสอบภาคปฏิบัติการอานออกเสียง/ชนิดเขียนตอบ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้น ป.3 แบบทดสอบ จํานวนฉบับ 1. สอบภาคปฏิบัติ ความสามารถในการอานออกเสียง 1 (กลุมคําละ 5 คะแนน รวม 45 คะแนน) - คําที่ไมมีตัวสะกด - คําที่มีตัวสะกดตรงมาตรา - คําที่มีตัวสะกดไมตรงมาตรา - คําที่ประสมกับสระลดรูป - คําที่ประสมกับสระเปลี่ยนรูป - คําควบกล้ํา - คําอักษรนํา - คําที่มีรูปวรรณยุกต - คําที่มีตัวการันต 2. ความสามารถในการเขียน (เขียนตอบ 20 คะแนน) 1 - ชื่อเรื่อง (2) - การเขียนเรื่อง (10) - การใชภาษา (4) - การนําเสนอเนื้อเรื่อง (4) รวม 2 ตอนที่ 2 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้น ป.3 แบบทดสอบ จํานวนขอ ความสามารถในการคิดคํานวณ (เขียนตอบ 20 คะแนน) 2 - ขั้นวิเคราะหโจทย (4,4) - ขั้นแสดงวิธีคิดหาคําตอบ (4,5) - ขั้นแสดงคําตอบ (2,1) รวม 2 7
  • 11. โครงสรางขอสอบชนมัธยมศกษาปที่ 2 ้ั ึ กระดาษคําตอบแผนที่ 1  กลุมสาระการเรียนรูคณตศาสตร ิ กลุมสาระการเรียนรูสังคมศกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ึ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) กลุมสาระการเรียนรูคณตศาสตร ม.2 ิ รูปแบบขอสอบ สาระ เลือกตอบ ระบายคําตอบ รวม (ขอที่ ขอที่) 1. จํานวนและการดําเนินการ (ค 1.1) 1-7 31 8 (ค 1.2) 8-9 2 (ค 1.3) 10 1 (ค 1.4) 11 1 2. การวัด (ค 2.1) 12-13 32 3 (ค 2.2) 33 1 3. เรขาคณิต (ค 3.2) 14-25 34-37 16 4. พีชคณิต (ค 4.2) 26-29 38-39 6 5. การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน  (ค 5.1) 40 1 (ค 5.2) 30 1 รวม 30 10 40 8
  • 12. กลุมสาระการเรียนรูสังคมศกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ม.2 ึ รูปแบบขอสอบ สาระ เลือกตอบ กลุมสัมพนธ ั รวม (ขอที่) (ขอที่) 1. ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม (ส 1.1) 41-42 71-72 4 (ส 1.2) 43-47 5 2. หนาที่พลเมือง วัฒนธรรม ฯ (ส 2.1) 48-50 73-74 5 (ส 2.2) 51-52 2 3. เศรษฐศาสตร (ส 3.1) 53-56 75-76 6 (ส 3.2) 57-58 2 4. ประวัติศาสตร (ส 4.1) 59 77 2 (ส 4.2) 60-62 78 4 (ส 4.3) 63-65 3 5. ภูมิศาสตร (ส 5.1) 66-68 79-80 5 (ส 5.2) 69-70 2 รวม 30 10 40 9
  • 13. กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ม.2 รูปแบบขอสอบ สาระ เลือกตอบ กลุมสัมพนธ ั รวม (ขอที่) (ขอที่) 1. ภาษาเพื่อการสื่อสาร (ต 1.1) 81-87 111-112 9 (ต 1.2) 88-95 114-118 13 (ต 1.3) 96, 99-101 119-120 6 2. ภาษาและวัฒนธรรม (ต 2.1) 97-98,102-103 - 4 (ต 2.2) 104-109 - 6 3. ภาษากับความสัมพันธกับชุมชนและโลก (ต 4.1) 110 113 2 รวม 30 10 40 10
  • 14. กระดาษคําตอบที่ 2 กลุมสาระการเรยนรูวิทยาศาสตร ี กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ม.2 รูปแบบขอสอบ สาระ เลือกตอบ เลือกหลายคําตอบ กลุมสัมพนธ รวม ั (ขอที่) (ขอที่) (ขอที่) 1. สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต (ว 1.1) 1-7 31-32 37 10 3. สารและสมบัติของสาร (ว 3.1) 8-9, 13 33, 35 38 6 (ว 3.2) 10-12, 14 4 4. แรงและการเคลื่อนที่ (ว 4.1) 15-19 - - 5 5. พลังงาน (ว 5.1) 20-23 - 39 5 6. กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก (ว 6.1) 24-30 34, 36 40 10 รวม 30 6 4 40 11
  • 15. กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ม.2 รูปแบบขอสอบ สาระ รวม เลือกตอบ กลุมสัมพนธ ั 1. การอาน (ท 1.1) 41-46, 48 71-72 9 2. การเขียน (ท 2.1) 49-51, 53-54, 57-58 73-74 9 3. การฟง การดู และการพูด (ท 3.1) 47, 52, 56, 59 75-76 6 4. หลักการใชภาษา (ท 4.1) 55, 61-63, 65-67 77-78,80 10 5. วรรณคดีและวรรณกรรม (ท 5.1) 60, 64, 68-70 79 6 รวม 30 10 40 ตารางสอบ การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯ ปการศึกษา 2554 ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 กําหนด สอบ 2 วันวันที่ 8-9 มีนาคม 2555 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 สอบวันที่ 8 มีนาคม 2555 รายละเอียด กําหนดสอบ ตามตารางสอบดังนี้ วันสอบ ชั้นที่สอบ ภาคเชา ภาคบาย - ภาษาไทย - การเขียน ประถมศึกษาปที่ 3 - คณิตศาสตร - การคิดคํานวณ - วิทยาศาสตร 8 มีนาคม 2555 - คณิตศาสตร - วิทยาศาสตร มัธยมศึกษาปที่ 2 - สังคมศึกษา ฯ - ภาษาไทย - ภาษาอังกฤษ 9 มีนาคม 2555 แบบทดสอบภาคปฏิบัติการอานออกเสียง ประถมศึกษาปที่ 3 หมายเหตุ ดําเนินการสอบใหแลวเสร็จภายในวันเดียว 12
  • 16. 4. แผน และวิธีการประเมิน งานการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯ ปการศึกษา 2554 ของเขตพื้นที่การศึกษา รวมมือกับสวนกลางในการวางแผนการประเมิน การแตงตั้งคณะอนุกรรมการ/คณะทํางานชุดตาง ๆ เพื่อรองรับงานประเมิน การจัดพิมพ/ทําสําเนาเครื่องมือ การจัดสอบ การกํากับ ติดตามการประเมิน การรวบรวมกระดาษคํ า ตอบเพื่ อ นํ า ส ง ส ว นกลาง การสอบภาคปฏิ บั ติ ก ารอ า น การตรวจ กระดาษคํา ตอบแบบเขียนตอบ ตลอดจนการนําผลการประเมินไปปรับปรุง พัฒนาคุณ ภาพการจัด การเรียนการสอน ของเขตพื้นที่การศึกษา โรงเรียน และนักเรียนเปนรายบุคคล จึงจําเปนตองจัดระบบ การบริหารจัดการใหรัดกุม เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ในทุกพื้นที่ของเขตพื้นที่การศึกษา ภาระที่สํ า คัญ ในการจัดการประเมิน ประการหนึ่ง คือการบริห ารจั ดการใหมีค วามคลอ งตั ว รองรับระบบการประเมินไดอยางมีประสิทธิภาพ เขตพื้นที่การศึกษาจึงควรแบงภาระรับผิดชอบออกเปน  ศู น ย ป ระสานการสอบ ซึ่ ง อาจแบ ง เป น ศู น ย ต ามอํ า เภอต า ง ๆ ในเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา โดยรอง ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาแตละทาน ที่รับผิดชอบการจัดการศึกษาในแตละพื้นที่ (Area Based) เปนผูรับผิดชอบดูแล บริหารจัดการศูนยประสานการสอบในพื้นที่ที่ตนรับผิดชอบ การดําเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน ปการศึกษา 2554 ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 และมัธยมศึกษาปที่ 2 ไดกําหนดแผน และวิธีการประเมิน โดยสํา นักทดสอบ ทางการศึกษา รวมกับสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ดังนี้ สวนกลาง 1. เพื่อใหการดําเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน ปการศึกษา 2554 มีประสิทธิภาพ มีความเปนมาตรฐาน สอดคลองกับนโยบาย สพฐ. วิธีดําเนินการ ประเมินเพื่อตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน การรายงานความกาวหนาดานผลสัมฤทธิ์ ของนักเรียน ใหเกิดการพัฒนาและปรับปรุงการเรียนการสอน และใชเปนขอมูลสงเสริม สนับสนุน และ พัฒนาการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอยา งตอเนื่อง จึงได แตงตั้งคณะกรรมการตาง ๆ ดังตอไปนี้ 1.1 คณะกรรมการการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพ ผูเรียน ปการศึกษา 2554 โดยมีเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปนที่ปรึกษา รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (นางเบญจลักษณ น้ําฟา) เปนประธานกรรมการ ที่ปรึกษา สพฐ. ผูเ ชี่ยวชาญ สพฐ. ผูอํา นวยการสํา นั ก/ผูแ ทนหนว ยงานใน สพฐ. เปนกรรมการ ผูอํา นวยการสํา นักทดสอบทางการศึกษา เปนกรรมการและเลขานุการ มีหนา ที่พิจ ารณากํา หนด รูปแบบ หลักการและแนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษา เพื่อตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษา 13
  • 17. ขั้นพื้นฐาน และรายงานความกาวหนาดานผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน รวมทั้งการสงเสริม สนับสนุน การ นําผลไปใช และพัฒนาการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอยางตอเนื่อง เสนอแนะ แนวทางการปฏิบัติ งาน การพัฒ นาคุณ ภาพและมาตรฐานการประเมิ น ของสํา นักงานเขตพื้น ที่ การศึกษา และสถานศึกษา ใหคําแนะนํา กํากับ ดูแล เรงรัด ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงานการ ประเมินคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งระบบ และแตงตั้งคณะกรรมการ (เพิ่มเติม) คณะอนุกรรมการ หรือคณะทํางานเฉพาะเรื่อง ตามความจําเปนและเห็นสมควร เพื่อปฏิบัติงานตาม หนาที่ที่คณะกรรมการมอบหมาย 1.2 คณะกรรมการดําเนินงานประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ปการศึกษา 2554 โดย ผูอํานวยการสํา นักงานเขตพื้นที่การศึกษา เปน ประธานกรรมการ รองผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่รับผิดชอบการประเมิน เปนรอง ประธานกรรมการ รองผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกคน ผูอํานวยการกลุมในสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาทุกกลุม ผูทรงคุณวุฒิจากคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศ การจัดการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ผูแทนสถานศึกษาระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษา ผูแทน สถานศึกษาอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ศึกษานิเทศกทุกทานเปนกรรมการ ผูอํานวยการกลุมนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการศึกษา เปนกรรมการและเลขานุการ ศึกษานิเทศกกลุมงานวัดและประเมินผลฯ และ ศึ ก ษานิ เ ทศก ก ลุ ม งานส ง เสริ ม พั ฒ นาระบบการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา เป น กรรมการและ ผูชวยเลขานุการ มีหนาที่กําหนดแผนดําเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตพื้นที่การศึกษา ตามนโยบาย หลักการและแนวทางที่คณะกรรมการการประเมินคุณภาพ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯ (สวนกลาง) กําหนด ใหคําแนะนํา กํากับ ดูแล เรงรัด ติดตามประเมินผลการ ปฏิ บัติ งานประเมิ นคุ ณภาพการศึ กษาในเขตพื้น ที่ก ารศึก ษาที่รั บผิ ดชอบฯ แต งตั้ งคณะกรรมการ (เพิ่มเติม) คณะอนุกรรมการ คณะทํางานเฉพาะเรื่อง ตามความจําเปนและเห็นสมควร เพื่อปฏิบัติงาน ตามหนาที่ที่คณะกรรมการดําเนินการประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา มอบหมาย 2. ประชุมคณะกรรมการการประเมินคุณ ภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯ เพื่อพิจารณากําหนด รูปแบบ หลักการ และแนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษา เพื่อตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 3. ประชุมปฏิบัติการคณะกรรมการดําเนินงานระดับเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อกําหนดแผนปฏิบัติ งานประเมินการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯ ปการศึกษา 2554 ระหวาง สวนกลาง กับเขตพื้นที่การศึกษา 4. แตงตั้งคณะอนุกรรมการ/คณะทํางาน เพื่อปฏิบัติงาน ตามกิจกรรมในแผนการประเมิน 14
  • 18. 5. จัดสรรงบประมาณการดําเนินงานประเมินใหเขตพื้นที่การศึกษา โดยจัดสรรงบประมาณตาม สัดสวน โรงเรียน และจํานวนนักเรียน ของแตละเขตพื้นที่การศึกษา 6. จัดทําตนฉบับแบบทดสอบและเอกสารประกอบ 7. จัดสงตนฉบับแบบทดสอบและเอกสารประกอบใหเขตพื้นที่การศึกษาทางระบบ EPCC เพื่อ จัดทําสําเนาใชสอบ 8. จัดสงกระดาษคําตอบแบบปรนัย ชั้น ป.3 และ ม.2 ใหเขตพื้นที่การศึกษา 9. คณะติดตามและประเมินผลการดําเนินงานการประเมินจากสวนกลาง ติดตอประสานการ ดําเนินการสอบกับเขตพื้นที่การศึกษา กําหนดการติดตามการปฏิบัติงานกอนวันสอบ วันสอบ และหลัง สอบ เพื่อใหคําแนะนํา แกปญหาอุปสรรคที่เกิดจากการปฏิบัติงาน และรายงานผลการติดตามการ ปฏิบัติงานประเมินใหกับ สพฐ. 10. รับกระดาษคําตอบแบบปรนัยจากเขตพื้นที่การศึกษา 11. รับผลการตรวจใหคะแนนแบบทดสอบภาคปฏิบัติการอาน การเขียน การคิดคํานวณจาก เขตพื้นที่การศึกษา ทางระบบ EPCC ตรวจสอบขอมูล และหลอมรวมขอมูลทั้งหมดเปนภาพรวมของ สพฐ. 12. ตรวจกระดาษคําตอบ วิเคราะห ประมวลผลขอมูล และรายงานผล 13. รายงานผลการประเมิ นคุณ ภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณ ภาพผู เรี ยน ปการศึกษา 2554 14. ติดตาม สนับสนุนเขตพื้นที่การศึกษา/สถานศึกษาทุกแหง นําผลการประเมินไปใชเพื่อ แกไขจุดออนดอยของนักเรียนเปนรายบุคคล การวางแผน และปรับปรุงการเรียนการสอนของเขต และ โรงเรียน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษา เพื่อใหการดําเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน ปการศึกษา 2554 ของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/มัธยมศึกษา มีประสิทธิภาพ และ มาตรฐานเดียวกันทุกเขตพื้นที่การศึกษา ควรมีแนวดําเนินการ ดังนี้ 1. จั ด เตรี ย มแผนการประเมิ น ฯ ของเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา สํ า รวจข อ มู ล นั ก เรี ย นตาม กลุมเปาหมาย พรอมเขา ระบบ EPCC ดําเนินการปรับปรุงแกไขขอมูลจํา นวนนักเรียน โรงเรียน ให ถูกตองเรียบรอยและเปนปจจุบัน 15
  • 19. 2. ประชุมรวมกับสํานักทดสอบทางการศึกษา เพื่อกําหนดแผนปฏิบัติงานประเมินการประเมิน คุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯ ปการศึกษา 2554 และตรวจสอบจํานวนนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 และมัธยมศึกษาปที่ 2 3. ประชุมชี้แจงคณะกรรมการดําเนินงานประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษาฯ เพื่อกําหนดแผน ดําเนินงาน ตามนโยบายหลักการ และแนวทางที่คณะกรรมการการประเมินคุณภาพการศึกษา ฯ (สวนกลาง) กําหนด 4. แตงตั้งคณะอนุกรรมการ/คณะทํางานชุดตางๆ ตามความจําเปน เพื่อรองรับและปฏิบัติงาน ประเมิน และจัดประชุมเพื่อกําหนดมาตรการ แนวปฏิบัติการจัดสอบ รวมทั้งการประชาสัมพันธ แจง ใหโรงเรียนทุกโรงทราบ 5. แต งตั้ งคณะกรรมการดํ า เนิน งานจั ด ทํา สํา เนาข อ สอบ (จั ดพิ ม พข อสอบ) และเอกสาร ประกอบ 6. แตงตั้งสนามสอบและศูนยตาง ๆ เพื่อรองรับการดําเนินงานประเมิน ดังนี้ 6.1 แตงตั้งโรงเรียนที่มีนักเรียนเขาสอบเปนสนามสอบ 6.2 แต ง ตั้ ง ศู น ย ป ระสานการสอบ สํ า หรั บ รั บ – ส ง แบบทดสอบและเอกสาร ประกอบการสอบ ระหวางเขตพื้นที่การศึกษากับสนามสอบ ศูนยตรวจใหคะแนนกระดาษคําตอบชนิด เขียนตอบ และบันทึกผล 7. แตงตั้งคณะอนุกรรมการชุดตาง ๆ เพื่อรับผิดชอบงานการจัดสอบ ไดแก 7.1 คณะอนุกรรมการประสานการประเมินฯ กับสวนกลางดวยโปรแกรม EPCC 7.2 คณะอนุกรรมการศูนยประสานการสอบระหวาง สพท. กับสนามสอบใน การรั บ - ส ง แบบทดสอบ และเอกสารประกอบการสอบ (ผู รั บ ผิด ชอบในการรั บ – ส ง ควรเป น ขาราชการระดับ 7 ขึ้นไป) 7.3 คณะอนุกรรมการสนามสอบ โดยใหผูบริหารโรงเรียนเปนประธานสนามสอบ 7.4 คณะอนุ กรรมการกํา กั บการสอบแบบทดสอบปรนัย หองสอบละ 2 คน สลั บ โรงเรียน 7.5 คณะอนุกรรมการกํากับการสอบแบบทดสอบปฏิบัติการอาน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 (โดยแตงตั้งจากครูซึ่งมีประสบการณการสอนภาษาไทย สลับโรงเรียน) 7.6 คณะอนุกรรมการรวบรวม-นําสงกระดาษคําตอบแบบปรนัย 7.7 คณะอนุก รรมการตรวจให คะแนนแบบทดสอบเขี ย นตอบ (การเขี ยน การคิ ด คํ า นวณ) ชั้ น ประถมศึ ก ษาป ที่ 3 (โดยแต ง ตั้ ง จากครู ซึ่ ง มี ป ระสบการณ ก ารสอนภาษาไทย และ คณิตศาสตร สลับโรงเรียน) 16
  • 20. 7.8 คณะอนุกรรมการบันทึกคะแนนผลการสอบภาคปฏิบัติการอาน และเขียนตอบลง ในแบบบันทึกคะแนนรวม 7.9 คณะอนุกรรมการ ติดตาม ตรวจเยี่ยม และประเมินผลการจัดสอบของโรงเรียน/ สนามสอบ …………….. ฯลฯ …………….. 8. รับตนฉบับแบบทดสอบและเอกสารประกอบการสอบทางระบบ EPCC ทั้งชั้นประถมศึกษา ปที่ 3 และมัธยมศึกษาปที่ 2 รับกระดาษคําตอบแบบปรนัยจากสวนกลาง 9. จัดทําสําเนา (พิมพ) แบบทดสอบ และเอกสารประกอบการสอบชั้นประถมศึกษาปที่ 3 และ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ใหเพียงพอตอการดําเนินการสอบ บรรจุแบบทดสอบและกระดาษคําตอบตาม จํานวนนักเรียนของแตละหองสอบ ลงซองปดผนึกใหเรียบรอยนําไปเก็บไวในลักษณะเอกสารลับทาง ราชการ 10. เขตพื้นที่การศึกษาที่จัดสอบภาคปฏิบัติการอาน ป.3 จัดประชุมอบรมกรรมการกํากับการ สอบภาคปฏิบัติการอาน ในเรื่องวิธีดําเนินการสอบ และการใหคะแนนตามเกณฑ 11. ประชาสัมพันธการจัดสอบใหกับ ครู/อาจารย นักเรียน ผูปกครอง ชุมชน และผูเกี่ยวของ ใหทราบถึงวัตถุประสงคและความสําคัญของการสอบ 12. กําหนดวัน เวลาสอบตามชวงเวลาที่สวนกลางกําหนดให และดําเนินการสอบตามคูมือการ จัดสอบ การประเมินคุณภาพการศึกษา ฯ ปการศึกษา 2554 13. เขตพื้นที่การศึกษาที่จัดสอบเขียนตอบ ป.3 จัดประชุมอบรมกรรมการตรวจใหคะแนน แบบทดสอบ แบบทดสอบเขียนตอบ (การเขียน การคิดคํานวณ) ภายหลังวันสอบ และดําเนินการ ตรวจใหคะแนน 14. รายงานผลสอบภาคปฏิบัตการอาน การเขียน การคิดคํานวณ ใหโรงเรียน และสงขอมูลผล ิ สอบทั้งหมดใหกับสวนกลางตามรูปแบบที่กําหนด ทางระบบ EPCC 15. รับผลการสอบชั้น ป.3 และ ม.2 จากสวนกลาง ในภาพรวมระดับสพฐ. เขตพื้นที่การศึกษา โรงเรียน และรายบุคคล รายงานผลใหกับโรงเรียน 16. สรุปผลและจัดทํารายงานผลการดําเนินงานประเมินของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตอ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 17
  • 21. แผนปฏิบติงานระหวางสวนกลางกบเขตพื้นที่การศกษา ั ั ึ ชวงเวลา สํานักทดสอบทางการศึกษา เขตพื้นทการศกษา ่ี ึ ตุลาคม 2554  วางแผนการดํ า เนิ น งาน  สพป./สพม. สํ า รวจข อ มู ล ประเมิน ป.3 และ ม.2 รายชื่ อ โรงเรี ย น/จํ า นวน  จั ด ทํ า ฐานข อ มู ล รายชื่ อ นักเรียนตามกลุมเปา หมาย โรงเรียน/จํ า นวนนักเรีย น ป.3 และ ม.2 ป.3 และ ม.2 พฤศจิกายน 2554  เสนอคําสั่งแตงตั้ง  เตรียมการ จัดทําโครงการ คณะกรรมการดํ าเนิ นการ วางแผนการดํ า เนิ น งาน ระดั บ สพ ฐ.(กรรมกา ร ประเมิน อํานวยการ) ธันวาคม 2554  ประชุมคณะกรรมการ  ปรับปรุงขอมูลโรงเรียนและ ดําเนินการระดับสพฐ. จํา นวนนั กเรียน ทางระบบ (กรรมการอํานวยการ) EPCC  ประสานการดําเนินงานกับ เขตพื้นที่การศึกษา  จัดเตรียมตนฉบับ แบบทดสอบ ป.3 และ ม.2 เอกสารประกอบการสอบ และกําหนดเกณฑการ ประเมิน มกราคม 2555  ประชุมปฏิบัติการ  ประชุมกับสํานักทดสอบฯ คณะกรรมการอํานวยการ เพื่อจัดทําแผน ดําเนินงาน ระดับ สพท. ตรวจสอบ ระดับ สพท. ขอมูลและประสาน  ประชุมชี้แจงคณะกรรมการ แผนการประเมินฯของเขต ดําเนินงานประเมินระดับ พื้นที่การศึกษา สพท. 18
  • 22. ชวงเวลา สํานักทดสอบทางการศึกษา เขตพื้นทการศกษา ่ี ึ  จัดสรรงบประมาณสอบ  ตั้งศูนยประสานการสอบ/ ให สพท. สนามสอบ  ตั้งคณะทํางาน/ ตั้งกรรมการ กํากับการสอบ/กรรมการ ตรวจขอสอบ  ติดตาม การเตรียม ความพรอม - การเตรียมหองสอบ / การควบคุมหองสอบ - ซักซอมความเขาใจ การกรอกรหัส  สพท. ประชุมอบรม กรรมการสอบอาน ป.3  ประชาสัมพันธการสอบ กุมภาพันธ 2555  สงต นฉบับขอสอบ/เกณฑ  จั ด พิ ม พ แ บบทดสอบและ การให ค ะแนนการสอบ เอกสารประกอบการสอบ/ ภาคปฏิ บั ติ ก ารอ า นและ สงตนฉบับขอสอบ ป.5 ม.2 เอกสารประกอบการสอบ ใหโรงเรียน ให สพท.ทางระบบ EPCC  ค ว บ คุ ม กํ า กั บ ก า ร ดําเนินการจัดพิมพ มีนาคม 2555  ป ร ะ ส า น ง า น /ติ ด ต า ม  รับ/สงแบบทดสอบให ประเมินการสอบ สนามสอบ ผานศูนย (ป.3 สอบ 8-9 มี.ค.2555  รั บ กระดาษคํ า ตอบแบบ ประสานการสอบ ม.2 สอบ 8 มี.ค. 2555) ป ร นั ย จ า ก เ ข ต พื้ น ที่  ดําเนินการสอบ การศึกษา และตรวจสอบ  ออกติดตาม ตรวจเยี่ยมการ ความสมบูรณถูกตอง ดําเนินการสอบ  จัดสงเกณฑการตรวจให 19
  • 23. ชวงเวลา สํานักทดสอบทางการศึกษา เขตพื้นทการศกษา ่ี ึ คะแนนการเขียน การคิด  ส ง กระดาษคํ า ตอบแบบ คํานวณ ใหเขตพื้นที่ ปรนัยใหสวนกลาง การศึกษาสําหรับตรวจ  สพท. ประชุมอบรมกรรมการ ประมวลผล และ ตรวจใหคะแนนแบบ รายงานผล เขียนตอบ  ตรวจคําตอบแบบเขียนตอบ เมษายน – พฤษภาคม  วิเคราะห/ประมวลผล ชั้น  สงผลการประเมิน การอา น 2555 ป.3 (ป.5 ม.2 ในภาพรวม) การเขี ย น การคิ ด คํ า นวณ จาก สพท.ใหกับสวนกลาง/ โรงเรียน  รวบรวม/สงผลการสอบ ป.5 ม.2 มิถุนายน - กรกฎาคม  รายงานผลการประเมิ น  รั บ ผ ล ก า ร ปร ะ เ มิ น จ า ก 2555 ใหกับ สพท. สวนกลางทางระบบ EPCC  รายงานผลใหกับโรงเรียน สิ ง หา คม - กั น ยาย น  เขียนรายงาน  นํา ผลประเมินไปใชกํา หนด 2555  จั ด พิ ม พ ผ ล ป ร ะ เ มิ น / แผนการปรั บปรุ งการเรีย น เผยแพร การสอน  ติดตามการนําผลประเมิน  ดํา เนินการ กํา กับ ติดตาม ไปใช การนําผลการประเมินไปใช การจัดพิมพขอสอบชั้นประถมศึกษาปที่ 3 และมัธยมศึกษาปที่ 2 ใหเขตพื้นที่การศึกษาดําเนินการจัดพิมพในลักษณะของการรักษาความลับของทางราชการ โดย มีมาตรการเรื่องการรักษาความลับ ความปลอดภัย การเก็บรักษาเครื่องมือ ดังนั้นการดําเนินการใหมี มาตรฐานเดียวกันทุกเขตดังนี้ 1. แตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดทําสําเนาขอสอบ(จัดพิมพขอสอบ) และเอกสารประกอบ โดยผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เปนประธาน รองผูอํานวยการเขตพื้นที่การศึกษาที่รับ 20
  • 24. มอบหมาย เปนรองประธาน ผูอํานวยการกลุมทุกกลุม เปนกรรมการ ผูอํานวยการกลุมนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา เปนกรรมการและเลขานุการ ศึกษานิเทศกรับผิดชอบงานวัดผลเปน กรรมการและผูชวยเลขานุการ มีอํานาจหนาที่ กําหนดแผน แนวทางการปฏิบัติงาน ดําเนินการ ควบคุม กํากับ ติดตาม การจัดพิมพเครื่องมือ และเอกสารประกอบ อยางเครงครัด ในลักษณะรักษา ความลับ ความปลอดภัย และการเก็บรักษาเครื่องมือ ใหมีประสิทธิภาพ และแตงตั้งคณะอนุกรรมการ ตาง ๆ ตามความจําเปนเพื่อดําเนินการ 2. แตงตั้งคณะอนุกรรมการ/คณะทํางานชุดตาง ๆ ตามความจําเปน เชน - คณะอนุกรรมการ/คณะทํางานจัดพิมพขอสอบ - คณะอนุกรรมการ/คณะทํางานตรวจนับ จัดบรรจุขอสอบ/กระดาษคําตอบ - คณะอนุ ก รรมการ/คณะทํ า งานตรวจทานความถู ก ต อ งสมบู ร ณ ข องข อ สอบ/ กระดาษคําตอบ - คณะอนุกรรมการ/คณะทํางานจัดเก็บรักษา จายขอสอบใหกับศูนยสอบ/สนามสอบ - ฯลฯ 3. คณะอนุ ก รรมการ/คณะทํ า งานจั ด พิ ม พ ข อ สอบ ดํ า เนิ น การจั ด พิ ม พ ต ามจํ า นวนและ ระยะเวลา ที่คณะกรรมการ ฯ กําหนดอยางเครงครัด สงตอใหกับคณะอนุกรรมการ/คณะทํางานตรวจ นับ จัด บรรจุข อสอบ/กระดาษคํา ตอบ ดํา เนินการตรวจนับบรรจุซองปดผนึ ก ประทับตราครุฑ ให เรียบรอยตามจํานวนหองสอบ สนามสอบ เพื่อสงตอใหกับคณะอนุกรรมการ/คณะทํางานตรวจทาน ความถูกตองสมบูรณของขอสอบ/กระดาษคําตอบ และคณะอนุกรรมการ/คณะทํางานจัดเก็บรักษา จายขอสอบ ตอไป หมายเหตุ เนื่องจากบางเขตพื้นที่การศึกษาไมสะดวก/ไมพรอมในการดําเนินการจัดพิมพ อาจจัด รวมกลุมเขตตามกลุมจังหวัด(ภาคผนวก) แลวตั้งเปนคณะกรรมการรวมดําเนินการได ทั้งนี้ใหยึดหลัก ของการดําเนินการในลักษณะการเก็บรักษาความลับ ความปลอดภัย ของเอกสารลับทางราชการ การจัดสอบ แตงตั้งศูนยประสานการสอบ สนามสอบ และกรรมการกํากับหองสอบ การจัดสอบ 1. แนวปฏิ บั ติ ก ารสอบแบบทดสอบปรนั ย (ป.3 และ ม.2) และข อ สอบ ป.3 การเขียน การคิดคํานวณ ใหมีกรรมการกํากับหองสอบหองละ 2 คน ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วา ดวยการปฏิบัติของผูกํากับการสอบ พ.ศ. 2548 อยางเครงครัด ใหจัดหองสอบมีที่นั่งสอบไมเกิน 35 คนตอหอง ในกรณีทโรงเรียนมีหองเรียนหองเดียวและมีนักเรียนเกิน 35 คน แตไมเกิน 40 คน อาจจัด ี่ 21
  • 25. หองสอบเปนหองเดียวกันได แตควรจัดโตะใหมีระยะหางกันพอสมควร และไมควรจัดโตะใหอยูนอก หองสอบ กรณีจํานวนผูเขาสอบเกิน 40 คน ใหจัดหองสอบเพิ่ม ประกาศรายชื่อนักเรียนและแผนผังที่ นั่งสอบติดที่หนา หองสอบทุกหอง พรอมขอมูล รายละเอียดของนักเรียนแตล ะคนที่ตองระบายใน กระดาษคําตอบ เชน รหัสโรงเรียน รหัสประจําตัวประชาชนของนักเรียน 13 หลัก จัดเตรียมดินสอ 2B และยางลบใหนักเรียน หรือกําชับนักเรียนใหเตรียมติดตัวมาในวันสอบ ดําเนินการสอบตามลําดับ ขั้นตอนดังนี้ 1) ใหกรรมการกํากับหองสอบ ดําเนินการสอบตามตารางสอบที่กําหนดไว กอนเวลา เริ่มการสอบ ใหเปดซองบรรจุแบบทดสอบและกระดาษคําตอบ กอนเปดใหตรวจสอบความเรียบรอย ของซอง (หากพบความผิดปกติใหรีบแจง และบันทึกเหตุการณตอประธานสนามสอบเพื่อแจงศูนย ประสานการสอบ) โดยเรียกตัวแทนนักเรียนที่เขาสอบเปนพยาน และลงลายมือชื่อความเรียบรอยของ ซองบรรจุ จึ ง ให ก รรมการกํ า กั บ ห อ งสอบแจกกระดาษคํ า ตอบและแบบทดสอบโดยคว่ํ า หน า แบบทดสอบไวบนโตะที่นั่งสอบของนักเรียนจนครบ 2) ใหก รรมการกํา กับ หอ งสอบแจกกระดาษคํา ตอบ และอธิบ ายการกรอกรหั ส รายการตาง ๆ ที่ดานหนากระดาษคําตอบและชี้แจงวิธีการเขียนหรือระบายรหัสลงในชอง ตรงกับ ตัวเลขรหัส ที่กรอกไว กระดาษคําตอบ ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 จะมีจํา นวน 1 แผน สํา หรับตอบคํา ถาม ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร ชั้น มัธ ยมศึก ษาปที่ 2 จะมีจํา นวน 2 แผน โดยแผน ที่ 1 ใชต อบคํา ถาม คณิต ศาสตร สัง คมศึก ษาฯ และภาษาอัง กฤษ แผน ที่ 2 ใชต อบคํา ถาม วิท ยาศาสตร และ ภาษาไทย 3) กรรมการกํากับหองสอบแจกแบบทดสอบที่ละกลุมสาระการเรียนรูตามตารางสอบ ยกตัวอยา งชั้นประถมศึกษาปที่ 3 เริ่มดวยการแจกแบบทดสอบภาษาไทย เริ่มสอบใหนักเรียนเปด แบบทดสอบพรอมกัน เมื่อหมดเวลาสอบเก็บแบบทดสอบภาษาไทย แจกแบบทดสอบคณิตศาสตร เมื่อหมดเวลาสอบเก็บแบบทดสอบคณิตศาสตร แจกแบบทดสอบวิทยาศาสตร 4) ใหกรรมการกํากับหองสอบย้ําเรื่องเวลาที่ใชในการสอบ 5) ในขณะที่นักเรียนกําลังทําขอสอบ ใหกรรมการกํากับหองสอบตรวจความเรียบรอย และปองกันการทุจริต โดยยืนที่มุมใดมุมหนึ่งภายในหอง ในกรณีที่มีผูสงสัยใหยกมือขึ้น เพื่อที่กรรมการ กํากับหองสอบจะไดอธิบายขอสงสัยเปนรายบุคคลดวยเสียงเบา ๆ หรือถาขอสงสัยนั้นเปนสิ่งที่จะตอง 22