SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 19
Downloaden Sie, um offline zu lesen
๑

กระแสโลกกับความอยูรอดของท้องถิ่น๑
่
บทนา
เมื่อกลางเดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งอยู่ในระหว่างช่วงฤดูฝน เป็นช่วงฤดูทาไร่ทานา
ของชาวเกษตรกร ประเทศไทยได้ รั บ ลมมรสุ ม ที่ พั ด พาเอาฝน ที่ นั ก อุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาให้ ชื่ อ ว่ า พายุ
ดีเฟรชชั่น ซึ่งขึ้นฝั่งมาจากเวียตนาม ส่งผลให้ประเทศไทยคือภาคอีสานตอนล่างได้รับผลกระทบอย่าง
รุนแรง ก่อให้เกิดอุทกภัยคือน้าท่วมอาณาบริเวณที่ทากิน ทางคมนาคมขาดไม่สามารถสัญจรไปมาได้
บ้านเรือนที่อยู่อาศัยเจิ่งนองไปด้วยน้า จังหวัดสุรินทร์ซึ่งมีชาวบ้านบางกลุ่มประกอบอาชีพเพาะเลี้ยง
ลูกปลาขาย ได้รับผลกระทบอย่างหนัก บ่อเลี้ยงปลาเต็มได้ด้วยสายน้า ปลาทั้งขนาดเล็กขนาดใหญ่หนี
ออกจากบ่อไปจนหมด ประเมินค่าเสียหายต่อรายไม่ต่ากว่าหนึ่งแสนบาท ผลกระทบในครั้งนี้ไม่เว้น
แม้ ก ระทั่ งภิ ก ษุส งฆ์ส ามเณรเถรชี ที่ มีอ าวาสอยู่ ใ นเขตพื้น ที่ เสี่ ย งภั ย จากน้าท่ ว ม ไม่ ส ามารถออก
ภิกขาจารได้ (บิณฑบาต) ญาติโยมซึ่งได้รับผลกระทบอยู่แล้วต้องคอยดูแลพระสงฆ์ให้ได้รับภัตตาหาร
จากเหตุอุทกภัยในครั้งนี้ นับเป็นเหตุการณ์ในประวัติการณ์ของจังหวัดสุรินทร์ ต่อไปข้างหน้าจาเป็นที่
ทุกภาคส่วนที่มีส่วนเกี่ยวข้องและรับผิดชอบ ต้องมีการทบทวนบทบาทและมีมาตรการการป้ องกัน
การแก้ ไ ขปั ญ หาน้ าท่ ว ม ซึ่ ง อาจจะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคตอี ก และที่ ส าคั ญ ภาคเอกชนก็ ค วรมี ค วาม
รับผิดชอบ มีวัฒนธรรม (Culture) ในการประกอบอาชีพของตน ที่ต้องคานึงถึงประเด็น ท้องถิ่นนิยม
(Local lism) ว่า ประชาชนในพื้นที่ต้องการอะไร วาทกรรม (Discourse) ระหว่างประชาชนกับ
ผู้ประกอบการควรเป็นอย่างไร
เหตุการณ์อุทกภัยที่จังหวัดในภาคอีสานตอนล่างโดยเฉพาะจังหวัดสุรินทร์ ประสบเมื่อ
กลางเดือนกันยายนที่ผ่านมา ผู้เขียนต้องการเปรียบเทียบและเป็นการเชื่อมโยงในประเด็นต่างๆ ให้มี
ความสอดคล้องกับประเด็น หรือกลุ่มคาที่อาจารย์ผู้สอนได้กาหนดให้ คาว่า “อุทกภัย” เหตุการณ์ที่
เกิดขึ้นนี้ก็คือกระแสโลก อุทกภัย ก็คือผลที่ได้จากกระแสโลก และสาเหตุที่ทาให้เกิดอุทกภัยก็คือ
กิ จ กรรม หรื อ ระบบต่ า งๆ ที่ พ ลวั ฒ น์ ใ ห้ โ ลกหมุ น ไป จนในที่ สุ ด น าไปสู่ ค วามเป็ น โลกาภิ วั ฒ น์
(Globalization) เมื่อโลกไม่สามารถหยุดนิ่งได้มีแต่จะทวีความหมุนให้เร็วขึ้นไปเรื่อยๆ จาเป็นที่คนผู้
อาศัยอยู่ต้องมีการปรับเปลี่ยน หรือการปรับตัว (Adaptation) ใหม่ เพราะโลกในปัจจุบันนี้ได้มีกลไก
การกระชับแน่นแห่งเวลา (Time and Space) มากยิ่งขึ้น ในอดีตคนที่อยู่ตามชายขอบจะมาติดต่อ
ธุระต่างๆ ในเมืองใหญ่ๆ ต้องใช้เวลาเป็นเดือนในการเดินทาง แต่ปัจจุบันนี้สังคมเปลี่ยนไปกลายเป็น
สังคมเสมือนจริง (Social Visual) คืออยู่ในโลกส่วนตัว จะยืน เดิน นั่ง นอน อยู่จุดใดในโลกนี้ก็ตาม
สามารถติดต่อกันได้ทันที เพราะการแพร่กระจาย (Diffusion) ด้วยเทคโนโลยีที่จัดเป็นนวัตกรรมใหม่
ที่เกิดขึ้นบนโลกที่มนุษยชาติได้สรรค์สร้างขึ้นมา เพียงใช้นิ้วจิ่มหรือสัมผัสที่หน้าจอคอมพิวเตอร์ หรือ
โทรศัพท์สมาร์ทโฟนก็สามารถพูดคุย มองเห็นใบหน้ากันได้แล้ว

๑

พระมหาเฉลิมเกียรติ แก้วหอม. นักศึกษาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาวะผู้นาและการบริหาร, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสุรนทร์. ๒๕๕๖
ิ
โลกที่ เราอาศั ย อยู่ นี้ มีวิ วัฒ นาการไปเรื่ อยๆ ทุก ภูมิ ภ าค (Regional) ในสั งคมโลกมี ก าร
ปรับตัว (Adaptation) เพื่อความอยู่รอด ดังเช่นมีกลุ่มนักวิชาการ นักวิจัยทางสังคมศาสตร์ของไทย
ได้ศึกษาและเฝ้าสังเกตสังคมโลกที่ซึ่งกาลังมีการเปลี่ยนแปลงในทุกมิติ มีการร่วมมือ การจัดตั้งกลุ่ม
ประเทศ การจัดตั้งเขตการค้าเสรีที่ปลดแอกภาระด้านภาษี ภายใต้โครงการว่า “บูรพาภิวัตน์” แม้ใน
ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่ จ ะมี ก ารเปิ ด ประตู่ สู่ อ าเซี ย น ก็ เ ป็ น ผลพวงมาจากกระแส โลกาภิ วั ฒ น์
(Globalization) ทุกประเทศที่เข้าร่วมล้วนมี ทุนทางสังคม (Social Capital) ของตน มีวัฒนธรรม
(Culture) อั น เป็ น อั ต ลั ก ษณ์ เ ฉพาะ มุ่ ง เน้ น การท าธุ ร กิ จ หรื อ เศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ (Creative
Ecology) ที่สามารถบูรณาการ (Integration) ความหลากหลาย (Diversity ต่างๆ ที่มีอยู่ในภูมิภาคได้
อย่างมีประสิทธิภาพ ที่ต้องปฏิเสธระบบทุนนิยม (Capitalism) การร่วมกลุ่มกันของกลุ่มประเทศต้อง
คานึงถึงแนวโน้ม (Trend) ที่จะเป็นไปได้และสภาพบริบท (Context) ทางสังคมที่เหมือนกัน และ
ร่วมกันกาหนดนโยบาย (Policy) ขึ้นเพื่อเป็นกรอบในการปฏิวัติตนเอง ปัจจุบันหลายประเทศให้
ความสนใจยุคหลังสมัยใหม่ (Post Modern) ดังคากล่าวที่มักได้ยินว่า “เมื่อพัฒนาถึงขีดสูงสุด ทุก
อย่างจะเริ่มหันมาสนใจความเป็นตัวตนดั้งเดิมของตน” ความเป็นสมัยใหม่ไม่สามารถคงอยู่ได้นาน
แต่ถ้าความเป็นสมัยใหม่บูรณาการ (Integration) หรือผสมผสานการปรับตัว (Adaptation) เข้ากับ
ยุคหลังสมัยใหม่ได้เมื่อไหร่ ทุกอย่างจะลงตัวมีความเป็นเอกลักษณ์และเข้าสู่ยุคคลาสสิคทันที
ท้องถิ่น เป็ น คาที่แทนทุกสิ่ งทุกอย่างที่มีอยู่ในสั งคม ซึ่งมีความเหมือนกัน ดังนั้น คาว่า
ท้องถิ่นไม่ได้หมายถึงความล้าหลัง ความเป็นคนบ้านนอก แต่เป็นตัวแทน คน สัตว์ ที่ สิ่งของ ที่มีอยู่ใน
กลุ่ม หลักจากนี้ไปทุกคนต้องมองออกจากท้องถิ่นของตนแต่ก็อาศัยท้ องถิ่นของตนนั่นแหละในการ
เป็นอยู่ มองเพียงเพื่อรู้จักการเอาตัวรอด รู้จักการป้องกัน รู้จักการปรับตัว (Adaptation) และรู้ที่จะ
เอาของดีในท้องถิ่นของตนที่ปัจจุบันนิยมเรียกว่า “ทุนทางสังคม (Social Capital)” มาใช้ ในอดีต
เจ้าชายสิทธัตถะได้เรียนรู้ตนเอง โดยอาศัยกระแสโลกที่เรียกว่า “เทวทูต” เพื่อหาทางออก จนในที่สุด
ก็สามารถพัฒนาตนเป็นศาสดาเอกของโลกได้ การปรับตัว (Adaptation) เช่นนั้นเป็นกลไกทางนิเวศ
วัฒนธรรม (Culture Ecology) ที่เรียนรู้ความเจริญก้าวหน้าแล้ว ปรับตัว (Adaptation) ให้เข้ากับ
สภาพแวดล้อมต่างๆ ถึงเวลาแล้วที่ท้องถิ่นควรมีการมองไปข้างหน้าแต่เท้ายังยืนหยัดอยู่ความเป็น
ท้องถิ่นของตนให้เหนี่ยวแน่น ก็สามารถอยู่รอดปลอดภัยไม่ถูกครอบงาจากกระแสต่างๆ ที่เกิดขึ้น อัน
ที่จริงก็ไม่น่าวิตกกังวลอะไรเพียงแต่ว่าถ้าคิดจะก้าวไปข้างหน้าให้ทัดเทียมนานาอารยประเทศที่เจริญ
แล้วหรือที่กาลังจะพัฒนาเหมือนอย่างเรา ทุกคนก็ต้องตื่นตัว ยอมรับความเป็นจริง เรียนรู้ให้ทัน
เพราะทุกวันนี้เวลาโลกมีการกระชับแน่นแห่งเวลา ทาให้จากความยุ่งยากกลับกลายเป็นง่ายขึ้น เร็ว
ขึ้น และต้องระวังมากยิ่งขึ้นไปด้วย
ดังนั้น บทความเรื่อง “กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น ” นี้ ผู้เขียนมีความประสงค์
จะนาเสนอสภาพความเป็นจริงที่สังคมโลกกาลังเป็นอยู่ ซึ่งนับวันจะยิ่งทวีความพลวัตน์ จาเป็นที่
ผู้คนในสังคโลกจะต้องรู้เท่าทัน เพื่อการเรียนรู้ และปรับสภาพปรับตัว (Adaptation) ให้ทันกับยุค
สมัย ไม่ถูกกระแสโลกครอบงา กลายเป็นคนชายขอบที่ตกตะเข็บข่าวสาร บทความนี้อาจเป็นอีก
องค์ความรู้ หรือข้อเสนอเชิงนโยบายหนึ่งที่ช่วยชี้ทางออกให้สังคมได้นาไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมต่อไป

คาศัพท์เฉพาะ
๓

นิเวศวัฒนธรรม (Culture Ecology) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในสังคมที่เกิดจากความ
เจริญก้าวหน้าที่ต้องมีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมต่างๆ ซึ่งเป็นแนวคิดทางมานุษยวิทยาที่
สนใจศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม โดยเน้นถึงอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมว่าเป็นตัวกาหนด
กระบวนการวิวัฒนาการทาง สังคมวัฒนธรรม จูเลียน สจ๊วด (Julian Steward) นักมานุษยวิทยา
อเมริกัน ได้อธิบายแนวความคิดแบบนิเวศวิทยาวัฒนธรรมว่า เป็นการศึกษากระบวนการปรับตัวของ
สังคมภายใต้อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม โดยเน้นการศึกษาวิวัฒนาการหรือการเปลี่ยนแปลงอันเกิดจาก
การปรับตัว (adaptation) ของสังคม แนวความคิดนี้มองสังคมในลักษณะเป็นพลวัตหรือเปลี่ยนแปลง
อยู่ตลอดเวลา การเปลี่ยนแปลงเป็นผลมาจากการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม โดยมีพื้นฐาน
สาคัญคือ เทคโนโลยีการผลิต โครงสร้างสังคม และลักษณะของสภาพแวดล้อมธรรมชาติเป็นเงื่อนไข
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Ecology) ตามความหมายของสานักงานคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หมายถึง แนวคิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจบนพื้นฐานของการ
ใช้องค์ความรู้ (Knowledge) การศึกษา (Education) การสร้างสรรค์งาน (Creativity) และการใช้
ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property) ที่เชื่อมโยงกับพื้นฐานทางวัฒนธรรม (Culture) การ
สั่งสมความรู้ของสังคม (Wisdom) และเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่ (Technology and
Innovation) (อาคม เติมพิทยาไพสิฐ.อ้างใน จุฬาวิทยานุกรม. ๒๕๕๖ ตุลาคม ๒๑)
คาว่ าเศรษฐกิจ สร้ า งสรรค์เ ป็น คาภาษาไทยที่ใ ช้แทนคาในภาษาอัง กฤษหลายๆ คาดัง นี้
Creative Economy, Creative Industries, Cultural Industries โดยแต่ละคาในภาษาอังกฤษก็ถูก
บัญญัติขึ้นโดยหน่วยงานหลายๆ หน่วยงาน และมีความแพร่หลายในหลายๆ มิติ (Srisangnam. อ้าง
ในจุฬาวิทยานุกรม. ๒๕๕๖ ตุลาคม ๒๑) และในร่างกรอบทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ ซึ่งจะนามาใช้ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ ก็ได้มีการระบุยุทธศาสตร์และแนว
ทางการพัฒนาประเทศ ๗ ยุทธศาสตร์ และยุทธศาสตร์แรก "ยุทธศาสตร์การสร้างฐานการผลิตที่
ส่งเสริมการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจอย่างเข้มแข็งและสมดุล " ที่ได้มีการกล่าวถึงร่างแผนพัฒนาฯ
ฉบับที่ ๑๑ ก็เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์โดยตรง โดยสามารถสรุปใจความได้ดังนี้ ประเทศไทย
จะเน้นเป้าหมายการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทยให้อยู่บนแนวคิดของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
มีการกล่าวถึงการพัฒนาภาคการผลิตสินค้าและบริการบนฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยส่งเสริมการใช้
ความสร้างสรรค์เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าและบริการ การส่งเสริมและพัฒนาสาขาธุรกิจสร้างสรรค์ที่มี
ศักยภาพ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งแวดล้อมด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ พัฒนาบุคลากรให้
สามารถตอบสนองความต้องการของภาคการผลิตและบริการทั้งในระดับวิชาชีพเชิงสร้างสรรค์และ
ผู้ประกอบการให้มีความคิดสร้างสรรค์ ส่งเสริมการศึกษาวิจัยและพัฒนาเชิงลึกในสาขาเศรษฐกิจ
สร้ างสรรค์และทุน วัฒนธรรม (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ ,
๒๕๕๓)
สังคมเสมือนจริง (Social Visual) หมายถึง การที่ผู้คนสามารถทาความรู้จัก และ
เชื่อมโยงกันในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง หากเป็นเว็บไซต์ที่เรียกว่าเป็น เว็บ Social Network ก็คือ
เว็บไซต์ที่เชื่อมโยงผู้คนไว้ด้วยกัน เช่น MySpace, Hi5, Facebook เป็นรูปแบบของสังคมประเภท
หนึ่ ง ที่ ม าออนไลน์ อ ยู่ บ นอิ น เตอร์ เ น็ ต (หรื อ อา จจะเรี ย กได้ ว่ า เป็ น สั ง คมเสมื อ น “Virtual
Communities) หรืออาจจะเรียกว่า Online Community โดยที่สังคมที่เราใช้ชีวิตตอนนี้จะเรียกว่า
Offline สังคมดังกล่าว มีการขยายตัวแบบ Network หรือเครือข่าย หากสรุปตามความเข้าใจของคน
โดยทั่วไป Social Networking เป็นสังคมที่เราสามารถรู้จักเพื่อนๆของเพื่อน และทาให้เป็นเพื่อนของ
เราได้ อีกด้านหนึ่ง เพื่อนของเรา อยากรู้จักเพื่อนๆ ของเรา ก็สามารถทาได้เช่นกัน โดยเป็นการรู้จัก
กันต่อไปเป็นทอดๆ คล้ายเครือข่ายใยแมงมุม ที่โยงกันไปมาได้
จากพฤติกรรมดังกล่าวนี้ ส่งผลให้ผู้คนในสังคมมีวิถีชี วิตอยู่กันอย่างตัวใครตัวมัน ครอบครัว
ใครครอบครัวมันมากขึ้น สิ่งที่ตามมาคือ ความหวาดระแวงที่เข้ามาแทนที่ความไว้เนื้อเชื่อใจ ความ
เหงาที่กางปีกของมันปกคลุมผู้คนในโลกแห่งความเป็นจริง สังคมเสมือนจริงของคนที่หันหน้าเข้าหา
คอมพิวเตอร์อาจถือกาเนิดขึ้น โดยเหตุที่เพราะผู้คนที่มีชีวิตอยู่กับตัวเองเป็นส่วนใหญ่นั้นต้องการที่จะ
สังสรรค์กัน บ้าง พูดง่ายๆ ว่ามันคือการตอบสนองความต้องการพื้นฐานของคนที่ไม่ค่อยมีโ อกาส
สังสรรค์ทางสังคมในโลกแห่งความเป็นจริงสักเท่าไร แม้ว่าในสังคมเสมือนจริงนี้ ทุกคนจะรับรู้ได้ว่ามัน
ช่างเต็มไปด้วยความปลิ้นปล้อนตลบตะแลงพอๆ กับการสังสรรค์ทางสังคมในโลกแห่งความเป็นจริง
หรืออาจจะยิ่งกว่าเสียด้วยซ้าไป แต่ก็นั่นแหละเพราะว่าชีวิตของมนุษย์นั้นต้องการเพื่อน
การกระชับแน่นแห่งเวลา (Time and Space) หมายถึง ผลพวงจากการพัฒนาของ
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งทาให้เรากลับมีความรู้สึกว่าโลกใบนี้ถูกย่อส่วนให้เล็ก และรู้สึกว่าคน
ทั้งโลกเสมือนหนึ่งถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกันและต่างก็มีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันได้อย่างสะดวกสบาย
มากยิ่งขึ้นทั้งๆ ที่โลกใบนี้ซึ่งมีขนาดเท่าเดิม โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายหลังจากการสิ้นสุดของสงคราม
เย็น (Cold War)
แนวโน้ม (Trend) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงหรือสถานการณ์ที่คนส่วนมากนิยม มักเป็น
การเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาการที่เกิดขึ้นแก่การแต่งกาย แฟชั่น เสื้อผ้า เครื่องสาอาง เป็นต้น คนที่มี
ลักษณะอินเทร็นด์ คือ คนที่ทาตนตามสมัย ตามแฟชั่นอย่างใกล้ชิด หรืออยู่ในแนวของแฟชั่น คนที่ไม่
ตามแฟชั่น ไม่ทันสมัย
บริบท (Context) หมายถึง สิ่งที่เกี่ยวข้องโดยรอบ เช่นบริบทสังคม ก็คือ ภาคส่วนต่างๆ
ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ สั ง คม ถ้ า มองภาพใหญ่ คื อ ระบบ ๖ ระบบ คื อ ๑. การเมื อ ง ๒. เศรษฐกิ จ
๓. สาธารณสุข ๔. การศึกษา ๕. ศาสนาและความเชื่อ ๖. วัฒนธรรม
บริบทชุมชน
๑. ประวัติชุมชน ได้แก่ ความเป็นมาของหมู่บ้าน ประวัติป่า
๒. อาณาเขต ได้แก่ อาณาเขตติดต่อ พื้นที่หมู่บ้าน พื้นที่ป่า
๓. ลักษณะภูมิประเทศ ได้แก่ สัณฐานวิทยา ปฐพีวิทยา
๔. ลักษณะภูมิอากาศ ได้แก่ การแสดงอุณหภูมิและปริมาณน้าฝน
๕. จานวนประชากร
๖. โครงสร้างพื้นฐาน ได้แก่ การคมนาคม การไฟฟ้า การประปา
๕

๗. เศรษฐกิจ ได้แก่ การประกอบอาชีพ ฤดูการเก็บเกี่ยวผลผลิต
๘. ด้านสังคม กลุ่มองค์กรและเครือข่าย กลุ่มผู้นา
๙. ประเพณี พิธีกรรม ข้อห้าม กฎ ระเบียบของหมู่บ้านการใช้ประโยชน์จากป่า
๑๐. ผู้รู้หรือปราชญ์ท้องถิ่นและผู้นาชุมชน ได้แก่ ข้อมูลผู้รู้หรือปราชญ์ท้องถิ่น
๑๑. ข้อมูลการใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพจากป่าไม้ของชุมชน
นโยบาย (Policy) หมายถึง กลุ่มของข้อบังคับบนพฤติกรรมที่เป็นไปได้ของระบบ
เป้ าหมาย ซึ่ง จะแตกต่า งกั น ไปตามระบบที่ ส นใจ โดยมั กจะสร้ างด้ว ยภาษาธรรมชาติ (Natural
Language) หรือ หมายถึง การวางแผนทากิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งอย่างรอบคอบเพื่อนาไปสู่การ
ตัดสินใจ และเพื่อบรรลุเป้าหมายองค์กรอย่างมีเหตุผล นโยบายอาจใช้กับองค์กรภาครัฐระดับมหภาค
หรือองค์กรเอกชนระดับจุลภาค และอาจใช้กับกลุ่มคนระดับบุคคล
หลังสมัยใหม่ (Post Modern) เป็นคาคุณศัพท์ แปลว่า “หลังสมัยใหม่” แต่ที่มันยุ่งยาก
ซับซ้อน ก็เพราะว่าในโลกตะวันตก คาคานี้ใช้พูดถึงเรื่องสามเรื่องที่แตกต่างกัน
ความหมายแรก ใช้พูดถึงสภาพสังคม หมายความว่า สังคมร่วมสมัยทุกวันนี้มีส่วนหนึ่งตก
อยู่ในสภาพที่เรียกว่า สภาวะหลังสมัยใหม่ (postmodern condition หรือ postmodernity) ซึ่งเกิด
จากความแปรปรวนขึ้นในระบบคุณค่า เกิดความพร่าเลือนขึ้นในพรมแดนที่ใช้แยกแยะสิ่งต่างๆ ความ
แปรปรวนนี้แสดงออกให้เห็นให้เห็นในหลายๆ เรื่อง ที่เด่นเป็นพิเศษคือ ในวัฒนธรรมบริโภคนิยมร่วม
สมัยที่ผูกมากับระบบทุนนิยมขั้นล่าสุด คือ late capitalism
ความหมายที่สอง หมายถึง แนวทางการสร้างสรรค์ศิลปะวรรณกรรมแนวหนึ่ง ซึ่งลุ กขึ้นมา
ท้าทายคติและรสนิยมทางสุนทรียะของสังคมสมัยใหม่ หรือ modern เช่น ในเรื่องการแบ่งชั้นศิลปะ
เป็นสูงกับต่า เป็นต้น
ความหมายสุดท้าย “โพสต์โมเดิร์น” หรือ “หลังสมัยใหม่” เป็นคาที่ใช้อย่างลาลองเพื่อ
เรียกชื่อแนวคิดทางวิชาการด้านสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์แนวหนึ่ ง ซึ่งถ้าจะเรียกอย่างเคร่งครัด
คือแล้วก็คือ “poststruralism” หรือ “แนวหลังโครงสร้างนิยม” แนวคิดทางวิชาการที่ว่านี้มีลักษณะ
เฉพาะตัวตรงที่มักจะเสนอมุมมองใหม่ ๆ ที่เกิดจากตั้งคาถามต่อพวกทฤษฏีและองค์ความรู้ทั้งหลาย ที่
เชื่อถือกันมานานตั้งแต่ยุคแห่งความรู้แจ้ง (enlightment) และยังคงมีอิทธิพลอยู่ในปัจจุบัน
โลกาภิวัฒน์ (Globalization) หมายถึง ผลจากการพัฒ นาการติดต่อสื่ อสาร การ
คมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยีสารสนเทศ อันแสดงให้เห็นถึงการเจริญเติบโตของความสัมพันธ์ทาง
เศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงระหว่างปัจเจกบุคคล ชุมชน หน่วยธุรกิจ
และรัฐบาล ทั่วทั้งโลก
โลกาภิ วั ต น์ ตามพจนานุ ก รมฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ หมายถึ ง "การ
แพร่กระจายไปทั่วโลก การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับ
ผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศเป็น
ต้น" โลกาภิวัตน์ เป็นคาศัพท์เฉพาะที่บัญญัติขึ้นเพื่อตอบสนองปรากฏการณ์ของสังคมโลกที่เหตุการณ์
ทางเศรษฐกิจ การเมือง สิ่ งแวดล้ อม และวัฒ นธรรมที่เกิ ดขึ้นในส่ ว นหนึ่งของโลก ส่ งผลกระทบ
อันรวดเร็วและสาคัญต่อส่วนอื่นๆของโลก
โลกาภิวัตน์ หมายถึงกระบวนการที่ประชากรของโลกถูกหลอมรวมกลายเป็นสังคมเดี่ยว
กระบวนการนี้เกิดจากแรงของอิทธิพลร่วมทางเศรษฐกิจเทคโนโลยีและสังคม-วัฒนธรรมและการเมือง
โลกาภิวัตน์มีผลกระทบต่อโลกในหลายแง่มุม เช่น
อุตสาหกรรม การปรากฏของตลาดการผลิตที่เกิดขึ้นทั่วโลก และช่องทางเข้าถึงผลิตภัณฑ์
ต่างประเทศที่กว้างขึ้นสาหรับผู้บริโภคและบริษัท
การเงิน การปรากฏขึ้นของตลาดการเงินทั่วโลกและการเข้าถึงเงินลงทุนจากแหล่งภายนอก
ที่ง่ายและสะดวกขึ้นของบริษัทต่างๆ ประเทศและรัฐต่ากว่าประเทศที่ประสงค์ของกู้ยืม
เศรษฐกิจ การยอมรับตลาดร่วมของโลกบนพื้นฐานแห่งเสรีภาพในการแลกเปลี่ยนสินค้า
และทุน
การเมือง การเมืองโลกาภิวัตน์หมายถึงการสร้างสรรค์รัฐบาลโลกที่จะทาหน้าที่กากับดูแล
ความสัมพันธ์ระหว่างชาติและให้หลักประกันสิทธิ์ที่เกิดจากสังคมและเศรษฐกิจของโลกาภิวัตน์ในทาง
การเมือง สหรัฐฯ ได้รับประโยชน์จากการครองอานาจในโลกในหมู่ชาติมหาอานาจ ซึ่งส่วนหนึ่งมาจาก
ความเข้ มแข็งทางเศรษฐกิจ และความั่งคั่งของประเทศ ด้วยอิทธิพลของโลกาภิวัตน์และจากการ
ช่วยเหลือของสหรัฐฯ ประเทศจีนได้เจริญเติบโตอย่างมหาศาลในช่วงเพียงทศวรรษที่ผ่านมา หากจีนมี
ความเจริ ญเติบ โตในอัต ราตามแนวโน้มนี้ต่อไป เป็นไปได้ที่จะเกิดการเคลื่ อนย้ายศูนย์อานาจใน
ระหว่างประเทศผู้นาภายใน ๒๐ ปีข้างหน้า ประเทศจีนจะมีความมั่งคั่ง มีอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
ที่สามรถท้าทายสหรัฐฯ ในการเป็นประเทศมหาอานาจผู้นา
ข้อมูลข่าวสาร มีการเพิ่มการไหลบ่าของข้อมูลข่าวสารระหว่างพื้นหรือภูมิภาคที่อยู่ห่างไกล
กันมาก
วัฒนธรรม การเจริญเติบโตของการติดต่อสัมพันธ์ข้ามวัฒนธรรม เกิดมีประเภทใหม่ๆ ใน
ด้านความสานึกและเอกลักษณ์ เช่น “โลกาภิวัตน์นิยม” ซึ่งครอบคลุมการแพร่กระจายทางวัฒนธรรม
และการได้บริโภคผลิตภัณฑ์และความคิดจากต่างประเทศ การรับเทคโนโลยีใหม่มาใช้และการเข้าร่วม
ใน “วัฒนธรรมโลก”
นิเวศวิทยา การปรากฏขึ้นของความท้าทายในปัญหาสภาวะแวดล้อมในระดับโลกที่ไม่
สามารถแก้ปั ญหาได้โ ดยปราศจากความร่ว มระดับนานาชาติ เช่นปัญหา “การเปลี่ ยนแปลงของ
ภู มิ อ ากาศ” มลภาวะทางน้ าและอากาศที่ ค รอบคลุ ม หลายเขตประเทศ การท าประมงเกิ น ขี ด
๗

ความสามารถในการรองรับ การกระจายของพันธุ์พืชและสัตว์ที่ไม่พึงประสงค์ การสร้างโรงงานเป็น
จานวนมากในประเทศกาลังพัฒนาที่ก่อมลภาวะได้อย่างเสรี
สังคม ความสาเร็จในการบอกรับข่าวสารโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสาหรับประชาชนของทุกชาติ
ในโลก
การขนส่ ง การลดจ านวนลงไปเรื่ อ ยๆ ของรถยุ โ รปในถนนของยุ โ รป (อาจกล่ า วได้
เช่นเดียวกันสาหรับอเมริกา) และการสิ้นปัญหาเรื่องระยะทางที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีต่างๆ มาช่วย
ลดเวลาการเดินทาง
บูรณาการ (Integration) หมายถึง การรวมเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน มี ๒ ความหมาย
ความหมายที่ ๑ คือ ทาให้เป็นเนื้อเดียวกันโดยรวมหรือผสมผสานส่วนต่างๆ เข้าด้วยกัน
เช่น การสอนภาษาแบบบูรณาการ หมายถึง การรวมทักษะการพูด ฟัง อ่าน เขียน ไว้ในวิชาเดียวกัน
หรือหลักสูตรแบบบูรณาการสาหรับภิกษุสามเณร เป็นหลักสูตรที่รวมหลักสูตรธรรมศึกษา บาลีศึกษา
และสามัญศึกษา ให้เป็นหลักสูตรเดียว
ความหมายที่ ๒ หมายถึงเชื่อมหรือประสานกับสิ่งอื่นหรือหน่วยงานอื่น เช่น โรงเรียนหลาย
แห่งบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ากับศาสตร์สมัยใหม่ เพื่อให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ที่มีรากฐาน
จากความเป็นไทยและนาไปสู่การ พัฒนาประเทศที่ยั่งยืน
การแพร่กระจาย (Diffusion) Everett Roger (๑๙๙๕) เป็นบุคคลที่คิดค้นและได้พิสูจน์
ทฤษฎีการแพร่กระจายนวัตกรรม (Diffusion of Innovation Theory) โดยทฤษฎีนี้เน้นความเชื่อว่า
การเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรมเกิดขึ้นจากการแพร่กระจายของสิ่งใหม่ๆ จากสังคมหนึ่งไปยังอีก
สังคมหนึ่งและสังคมนั้นรับเข้าไปใช้สิ่งใหม่ๆ นี้ คือ นวัตกรรม ซึ่งเป็นทั้งความรู้ ความคิด เทคนิควิธีการ
และเทคโนโลยีใหม่ๆ โดยได้อธิบายทฤษฎีกระบวนการแพร่กระจายนวัตกรรมนี้ว่า มีตัวแปรหรือ
องค์ประกอบหลัก ที่สาคัญ ๔ ประการ (Four main element in the diffusion of innovations)
คื อ ๑. นวั ตกรรม (Innovation) หรื อสิ่ งใหม่ ที่ จะแพร่ กระจายไปสู่ สั งคมเกิ ดขึ้ น นวั ตกรรมที่ จะ
แพร่กระจายและเป็นที่ยอมรับของคนในสังคมนั้น โดยทั่วไปประกอบด้วยส่วนสาคัญ ๒ ส่วน คือ ส่วน
ที่เป็นความคิดและส่วนที่เป็นวัตถุ นวัตกรรมใดจะถูกยอมรับหรือไม่นั้น นอกจากจะเกี่ยวกับตัวผู้รับ
ระบบสังคม และรับการสื่อสารแล้ว ตัวของนวัตกรรมเองก็มีความสาคัญ ๒. การสื่อสารโดยผ่านสื่อทาง
ใดทางหนึ่ง (Types of Communication) เพื่อให้คนในสังคมได้รับรู้ระบบการสื่อสาร การสื่อสาร คือ การ
ติดต่อระหว่างผู้ ส่งข่าวสารกับผู้รั บข่าวสาร โดยผ่ านสื่อ หรือตัว กลางใดตัวกลางหนึ่งที่นวัตกรรมนั้น
แพร่กระจายจากแหล่งกาเนิดไปสู่ผู้ใช้หรือผู้รับนวัตกรรม อันเป็นกระบวนการกระทาระหว่างกันของ
มนุษย์ การสื่อสารจึงมีความสาคัญต่อการรับนวัตกรรมมาก ๓. เกิดในช่วงเวลาหนึ่ง (Time or Rate of
Adoption) เพื่อให้คนในสังคมได้รู้จักนวัตกรรม แนวความคิดใหม่หรือมีการใช้ประโยชน์จากสิ่งที่มีอยู่
แล้ ว มาใช้ ใ นรู ป แบบใหม่ เพื่ อ ท าให้ เ กิ ด ประโยชน์ ท างเศรษฐกิ จ และกระบวนการแพร่ ก ระจาย
นวัตกรรมต้องอาศัยระยะเวลาและมีลาดับขั้นตอนเพื่อให้บุคคลปรับตัวและยอมรับนวัตกรรมหรือ
แนวความคิดใหม่ (a given time period) ๔. ระบบสังคม (Social System) โดยการแพร่กระจายเข้าสู่
สมาชิกของสั งคม ระบบสังคมจะมีอิทธิพลต่ อการแพร่กระจายและการรับนวัตกรรม กล่ าวคือ สั งคม
สมั ยใหม่ระบบของสังคมจะเอื้อต่อการรั บนวัตกรรม ทั้งความรวดเร็วและปริ มาณที่จะรับ (Rate of
Adoption) เพราะมีบรรทัดฐานและรับค่านิยมของสั งคมที่สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและ
วัฒนธรรม ดังนั้น เมื่อมีการแพร่กระจาย สิ่งใหม่เข้ามา สังคมก็จะยอมรับได้ง่าย ส่วนสังคมโบราณหรือ
สังคมที่ติดยึดกับความเชื่อต่างๆ ซึ่งเป็นสังคมล้าหลังจะมีลักษณะตรงกันข้ามกับสังคมสมัยใหม่ ความ
รวดเร็วของการแพร่กระจายและปริมาณที่จะรับนวัตกรรมจึงเกิดได้ช้ากว่าและน้อยกว่าหรืออาจจะไม่
ยอมรับเลยก็ได้
ทุนทางสังคม (Social Capital) ในบริบทของสังคมไทยนาจะหมายถึง “ผลรวมของสิ่งดี
งามตางๆ ที่มีอยูในสังคม ทั้งในสวนที่ไดจากการสั่งสมและการตอยอด รวมถึงการรวมตัวของคนที่มี
คุณภาพเพื่อสรางประโยชนตอสวนรวม บนพื้นฐานของความไวเนื้อเชื่อใจ สายใยแหงความผกพูนและ
วัฒนธรรมที่ดีงาม” ซึ่งหากนามาพัฒนาและใชประโยชนอยางเหมาะสมแลวจะเปนปจจัยสาคัญในการ
พัฒนาประเทศชาติและสังคมใหสมดุลและยั่งยืน
ทุนทางสังคม (social capital) มีความหมาย ๒ อย่าง อย่างแรก คือ ระบบคุณค่า ซึ่ง
ประกอบด้วยตัวคุณค่าที่ร้อยรัดผู้คนเข้าด้วยกัน ให้อยู่ เป็นครอบครัว ชุมชน เป็นกฎเกณฑ์ ระเบียบ
จารีตประเพณี วิถีปฏิบัติของชุมชน จะเรียกว่า "ผี" "ขวัญ" หรืออะไรก็แล้วแต่ ซึ่งเชื่อมโยงคนกับ
ธรรมชาติ กับคนอื่น เป็นพี่เป็นน้อง เป็นกลุ่มเป็นก้อน ไม่อยู่แบบตัวใครตัวมัน
ทุนทางสังคมเป็นคุณธรรมต่างๆ ความไว้ใจกัน ความเอื้ออาทรต่อกัน การพึ่งพาอาศัยกัน
เป็นพรหมวิหารสี่ (เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา) ที่ทาให้มีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน
อย่างที่สอง ทุนทางสังคมเป็นรูปธรรมที่คุณค่าดีงามเหล่านั้นร้อยรัด จัดระเบียบให้ ปรากฏ
ออกมา เป็นสถาบันครอบครัว สถาบันชุมชน สถาบันหมู่บ้าน สถาบันศาสนา สถาบันพระมหากษัตริย์
วันนี้มีมากมายหลายสถาบันทางสังคม รวมถึงชมรม สมาคม ขบวนการ เครือข่าย ที่รวมเอาผู้คนเข้า
มาร่วมกันด้วยวัตถุประสงค์บางประการ และดาเนินกิจกรรมบางอย่างร่วมกัน
วาทกรรม (Discourse) หมายถึง รูปแบบของความคิด หรือกรอบความคิด เกี่ยวกับเรื่อง
ใดเรื่องหนึ่ง ที่มีลักษณะเป็น สถาบันและมีการสืบทอด "ซึ่งแสดงออกผ่านทางการพูดและเขียนอย่าง
จริงจัง/ประโยคหรือนิยามที่ใช้บ่อยๆ" เพื่อที่จะคงไว้ซึ่ง ลักษณะของวาทกรรม และการปรับเปลี่ ยน
ลักษณะของวาทกรรมนั้นๆ
วาทกรรมแต่ละเรื่องมีระบบความคิด และเหตุผลของตนในการอธิบายหรือมอง "ความจริง"
ซึ่งวาทกรรมเรื่องเดียวกัน แต่ต่างระบบความคิดและเหตุผลก็จะมีความแตกต่างกันออกไป ในการให้
๙

อรรถาธิบายต่อเรื่องนั้นๆ ดังนั้นในเรื่องเดียวกันจึงมีวาทกรรมหลายชุดที่เกี่ยวข้องและวาทกรรมแต่ละ
ชุดก็มีความขัดแย้ง หรือปฏิเสธ "ความจริง" ของวาทกรรมอีกชุดหนึ่งได้
นอกจากนี้ แ ล้ ว การเกิ ด ขึ้ น ของวาทกรรมแต่ ล ะชุ ด ในแต่ ล ะเรื่ อ งย่ อ มมี จุ ด ประสงค์
ตัวอย่างเช่นวาทกรรมของกลุ่มที่ต่อต้านเกย์ ก็มีจุดประสงค์เพื่อที่จะต่อต้านชายที่มีพฤติกรรมรักร่วม
เพศ และพยายามที่จะแสดงให้เห็นว่าพฤติกรรมรักร่วมเพศเป็นพฤติกรรมที่ขัดต่อ ศีลธรรมอันดีของ
สังคม และยังเป็นการละเมิดบรรทัดฐานของสังคม ตลอดจนถือว่าพฤติกรรมเช่นนี้เป็นสิ่งผิดปกติและ
สมควรที่จะได้รับการแก้ไขให้ถูกต้อง เป็นต้น
ความหลากหลาย (Diversity) หมายถึง ความรู้ความเข้าใจการยอมรับ และตระหนักใน
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ สังคม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี รวมทั้งความ
หลากหลาย ทางชีวภาพตลอดจนผลกระทบของสภาพแวดล้อมที่มีต่อเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
ส่วนความหลากหลายทางชีวภาพ (Biological Diversity) หมายถึง การมีชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
หลากหลายชนิดมาอยู่ร่วมกัน ณ สถานที่หนึ่งหรือระบบนิเวศใดระบบนิเวศหนึ่ง ซึ่งสามารถจัดแบ่ง
ความหลากหลายทางชีวภาพ ได้เป็น ๓ ลักษณะ คือ
๑. ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (species diversity) หมายถึงความหลากหลายของ
ชนิดของสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ในพื้นที่หนึ่งๆนักชีววิทยาวัดความหลากหลายของชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
๒. ในระบบนิเวศหนึ่งๆ จะประกอบด้วยกลุ่มสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด แม้ในสิ่งมีชีวิต
เดียวกันก็ยั งมีความหลากหลายทางพันธุกรรมที่ทาให้เกิดสายพันธุ์ต่างๆ อันเป็นรากฐานส าคัญที่
เอื้ออานวยให้สิ่งมีชีวิตสามารถดารงชีวิตให้สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมรอบๆ
ตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถดารงเผ่าพันธุ์ได้สืบไป
๓. ความหลากหลายของระบบนิเวศ (ecolosystem diversity) หมายถึง สภาวะ
แวดล้อมที่เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆรวมไปถึงสิ่งไม่มีชีวิตอื่นๆ ซึ่งจัดเป็นปัจจัยทาง
กายภาพ ได้แก่ อุณหภูมิ ความชื้น ดิน น้าเป็นต้นระบบนิเวศแต่ละระบบเป็นแหล่งของถิ่นที่อยู่อาศัย
(habitat)ของสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ
โจ เนลสันจากแสตมฟอร์ด เวอร์จิเนียเป็นผู้ทาให้วลี "วัฒนธรรมและความหลากหลาย"
เป็นที่รู้จักแพร่หลายในช่วงที่เขาอยู่ในแอฟริกา เป็นที่ถกเถียงกันว่าความแตกต่างเหล่านี้ เป็นเพียงสิ่ง
มนุษย์สร้างที่เกิดขึ้น
วัฒนธรรม (Culture) หมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิง สัญลักษณ์ที่
ทาให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสาคัญ วิถีการดาเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิต
สร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน
วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม
การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้า
บริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่า วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น
แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่ า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมายรวมถึง
กระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์
ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทาให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ในสายตาของนัก
มานุษยวิทยาจึงรวมไปถึงเทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีลธรรม
ท้องถิ่นนิยม (Local lism) หมายถึง พันธะผูกพันทางอารมณ์ที่มนุษย์ทั้งในระดับปัจเจก
บุคคล และระดับกลุ่มมีต่อถิ่นที่อยู่อาศัย ประวัติศาสตร์ วิถีชีวิต ประเพณี สัญลักษณ์และอัตลักษณ์
ทางวัฒ นธรรมต่างๆ ของตนเอง ซึ่ งหาใช่มี ความหมายเพียงหน่ว ยในการตั้งถิ่ นฐานตามเขตการ
ปกครองเท่านั้น กระบวนการท้องถิ่นนิยมที่เกิดขึ้นและกาลังเคลื่อนไหวในปัจจุบันพบได้ในหลากหลาย
แง่มุมด้วยกัน บ้างใช้เพื่อเรียกร้องการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บ้างรณรงค์ให้
ชุมชนหันมาอนุรักษ์หวงแหนวัฒนธรรมพื้นถิ่น (ภาษา, การแต่งกาย, ขนบธรรมเนียมปฏิบัติ ,
สถาปั ต ยกรรมท้องถิ่น ฯลฯ) หรื อ การที่พ รรคการเมืองบางพรรคนัก การเมื องบางคนเอามาเป็ น
ประเด็นสาคัญในการหาเสียง แม้กระทั่งในเกมกีฬาก็ไม่มีข้อยกเว้นแต่อย่างใด
การปรับตัว (Adaptation) นักจิตวิทยาได้ให้ความหมายการปรับตัวพอสรุปได้ดังนี้
๑. มาล์ม และเจมิสัน (Malm & Jamison) กล่าวว่า การปรับตัว หมายถึง วิธีการที่
คนเราปรับตัวให้เป็นไปตามความต้องการของตัวเอง ในสภาพแวดล้อม ซึ่งบางครั้งส่งเสริม บางครั้ง
ขัดขวาง และบางครั้งสร้างความทุกข์ทรมานแก่เรา กระบวนการปรับตัวนี้ เกิดขึ้นจากความจริงที่ว่า
มนุษย์ทุกคนมีความต้องการและเราสามารถใช้วิธีการแบบต่าง ๆ ในการดาเนิน การเพื่อให้บรรลุถึง
ความต้ อ งการนั้ น ๆ ในสภาวะแวดล้ อ มที่ ป กติ ธ รรมดา หรื อ มี อุ ป สรรคขั ด ขวางต่ า ง ๆ กั น ไป
๒. ลาซารัส (Lazarus) กล่าวว่า การปรับตัว ประกอบขึ้นด้วยกระบวนการหรือวิธีการ
ทั้ ง หลายทางจิ ต ซึ่ ง มนุ ษ ย์ ใ ช้ ใ นการเผชิ ญ ข้ อ เรี ย กร้ อ งหรื อ แรงผลั ก ดั น ภายนอกและภายใน
ต่อมาในปี ๑๙๘๑ โคลแมน และแฮมแมน (Coleman and Hamman) กล่าวว่า การ
ปรับตัว หมายถึง ผลของความพยายามของบุคคลที่พยายามปรับสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นแก่ตนเอง ไม่ว่า
ปั ญ หานั้ น จะเป็ น ปั ญ หาด้ า นบุ ค ลิ ก ภาพ ด้ า นความต้ อ งการหรื อ ด้ า นอารมณ์ ใ ห้ เ หมาะสมกั บ
สภาพแวดล้อม จนเป็นสถานการณ์ที่มีบุคคลนั้นสามารถอยู่ในสภาพแวดล้อมนั้นๆ
เช่ น เดี ย วกั บ พจนานุ ก รมทางพฤติ ก รรมศาสตร์ ได้ ใ ห้ ค วามหมายของการปรั บ ตั ว ว่ า
๑. เป็นความสัมพันธ์ที่สอดคล้องระหว่างสภาพแวดล้อมกับความต้องการของตนเองทั้ง
ทางด้านร่างกายและจิตใจ
๒. เป็นการปรับ และเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ จาเป็น เพื่อสนองความต้องการและความ
พึงพอใจอย่างสูงสุด โดยสร้างความสัมพันธ์ที่กลมกลืนกับสภาพแวดล้อม
๑๑

ทุนนิยม (Capitalism) หมายถึง ระบบเศรษฐกิจที่ซึ่งผลิตภัณฑ์และสินค้ามีการจาหน่าย
แลกเปลี่ยนซื้อขายโดยทางเอกชน บริษัท หรือกลุ่มธุรกิจ เพื่อสร้างผลกาไรให้กับหน่วยงาน โดยการ
แลกเปลี่ยนสินค้าและการบริการ ที่มีการรองรับทางกฎหมายและมีการแข่งขันการในเชิงการค้าเพื่อ
ทากาไรสูงสุด ซึ่งไม่ได้ควบคุมโดยหน่วยงานกลางหรือจากทางรัฐบาล หรือ ทุนนิยม (Capitalism)
หมายถึ ง ระบบเศรษฐกิ จ ที่ น ายจ้ า งคื อ เจ้ า ของปั จ จั ย การผลิ ต อั น ได้ แ ก่ ที่ ดิ น ทุ น และการ
ประกอบการ โดยมีเป้าหมายอยู่ที่ผลกาไรสูงสุด โดยใช้ปัจจัยการผลิตน้อยที่สุด ส่ว นแรงงานมีฐานะ
เป็นเพียงปัจจัยการผลิตอย่างหนึ่ง แรงงานจึงต้องพึ่งพานายจ้าง และด้วยจานวนแรงงานที่มีอย่าง
มากมาย จึงมักถูกกดขี่อย่างไร้มนุษยธรรม ระบบทุนนิยมมีลักษณะที่สาคัญดังนี้
๑. การมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินส่วนบุคคลเป็นปัจจัยที่สาคัญ ซึ่งหมายความรวมถึงการ
อนุญาตให้เอกชนสามารถถือครองทรัพย์สินได้มากเท่าที่จะหามาได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย
๒. การแข่งขันเสรี ลัทธิทุนนิยมสนับสนุนให้มีการแข่งขันเสรี ซึ่งจะทาให้ผู้ขายเสนอราคาที่
เหมาะสมที่สุดด้วยศักยภาพการผลิตที่ดีที่สุด คนที่ไม่เหมาะสมกับการผลิตประเภทนั้น ๆ จะถูกกดดัน
ออกจากตลาดและเหลือแต่ผู้ผลิตที่มีประสิทธิภาพ
๓. ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบตลาด ซึ่งหมายถึงระบบที่อนุญาตให้เอกชนสามารถลงทุนในการ
ผลิ ตหรื อใช้จ่ ายเงิน เพื่อหาซื้อสิ น ค้าและบริการได้ตามความสามารถและความต้องการ โดยไม่มี
กฎระเบียบหรือข้อบังคับจากรัฐบาล โดยเชื่อว่าในที่สุดจะทาให้ราคาของสินค้าและบริการอยู่ในจุด
สมดุล คือจุดที่ผู้ซื้อและผู้ผลิตมีความเห็นตรงกันว่าราคาอยู่ในช่วงที่เหมาะสม
๔. อิสระในการบริหาร ลัทธิทุนนิยมต้องการอิสระในการบริหารงานโดยปราศจากการ
แทรกแซงของรัฐบาล เพราะในความคิดของพวกทุนนิยมเชื่อว่ารัฐบาลไม่มีทางเข้าใจได้หมดว่าเอกชน
ต้องการอะไร
ทุน นิ ย มจะกล่ าวถึง ทุน และที่ดินเป็นสมบัติส่ ว นบุคคล การตัดสิ นใจทางเศรษฐกิจเป็น
กิจกรรมส่วนบุคคล ไม่ใช่การควบคุมบริหารโดยรัฐ และตลาดเสรีหรือเกือบเสรีจะเป็นตัวกาหนดราคา
ควบคุมและระบุทิศทางการผลิต รวมถึงเป็นที่สร้างรายรับ บางคนกล่าวว่าระบบเศรษฐกิจในปัจจุบั น
ของโลกตะวันตกคือระบบทุนนิยม ในขณะที่หลายคนมองว่าในบางประเทศก็มีระบบเศรษฐกิจเป็น
เศรษฐกิจแบบผสม กล่าวคือ มีลักษณะเฉพาะของทั้งทุนนิยมและรัฐนิยม
แนวคิดทุนนิยม จะมีแนวคิดตรงข้ามกับสังคมนิยม ที่มีความเห็นคัดค้านว่ากาไรที่เกิดขึ้นจะทา
ให้เกิดช่องว่างทางสังคมทาให้คนที่มีฐานะมั่งคั่งรวยมากขึ้น โดยกาไรควรจะมีการแบ่งปันให้กับสังคม
ในชั้นล่างลงมา
ภูมิภ าค (Regional) หมายถึง บริเวณหน่วยใดหน่วยหนึ่งของพื้นแผ่นดินในโลกที่มี
ลักษณะทางใดทางหนึ่งหรือหลายๆอย่างที่คล้ายคลึงกัน เช่น ในทางธรรมชาติ ทางเศรษฐกิจ ทาง
วัฒนธรรม ทางการเมือง หรือมีลักษณะสาคัญที่เด่นชัดเหมือนกันอย่างใดอย่างหนึ่งจนรวมเป็นภาค
เดียว บริเวณเดียวกัน และในขณะเดียวกันก็มลักษณะแตกต่างออกไป จากบริเวณใกล้เคียงโดยรอบ
ี
ประสิ ทธิ ภ าพ (Efficiency) หมายถึ ง ประสิ ทธิ ภ าพของกระบวนการเป็ นการวั ด
สมรรถนะในการใช้ทรัพยากรของกระบวนการ ว่าในการทางานให้เสร็จชิ้นหนึ่ง ๆ ต้องใช้ทรัพยากร
การผลิต ไปเท่าใด (Are we do it rightly)
Efficiency แปลเป็นภาษาไทยว่า ‘ประสิทธิภาพ’ ใช้สาหรับแสดงความสามารถในการแปร
รูป บางคนบอกว่า มันคือความสามารถเชิงทฤษฎี หรือความสามารถทางวิศวกรรม กล่าวคือ เป็นตัว
แสดง ‘ความสามารถในการแปรรูปทรัพยากรที่ใช้ ไปเป็นผลผลิตปลายทาง’
การมี Efficiency ที่ สู ง แสดงถึ ง กระบวนการมี ก ารใช้ ท รั พ ยากรในการผลิ ต งานหรื อ
ให้บ ริการอย่างคุ้มค่า ในทางตรงกันข้าม การมี Efficiency ที่ต่า แสดงถึงกระบวนการมีการใช้
ทรัพยากรในการผลิตงานหรือให้บริการไม่คุ้มค่า ซึ่งเกิดจากมี “ความสูญเสีย (Wastes)” เกิดขึ้นอยู่ใน
กระบวนการ

ประเด็นเนื้อหา
ปัจจุบันอุณหภูมิโลกสูงขึ้น มีการแข่งขันในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจ
ประเทศใดที่มีฐานเศรษฐกิจที่มั่นคงประเทศนั้นมักสามารถก้าวขึ้นเป็นอันดับหนึ่ง หรือเป็นประเทศ
ผู้นาโลก เช่น สหรัฐอเมริกา จีน ญี่ปุ่น เป็นต้น ปรากฏการณ์ทางสังคมเหล่านั้นเป็นตัวแปรที่สาคัญ
สาหรับประเทศที่กาลังพัฒนา หรือประเทศที่ด้อยพัฒนา เพราะตนไร้ทางต่อสู้ ไร้ขีดความสามารถ ไร้
สมรรถนะ ถ้าจะวัดหรือเปรียบเหมือนเส้นทางที่ทอดยาวไปข้างหน้า ประเทศที่ด้อยพัฒนาก็เหมื อนกับ
ระยะทางที่ย าวแสนยาว แต่ก็ส ามารถพัฒ นาได้ซึ่งต้องใช้เวลาหลายปี มีห ลายประเทศยอมเป็น
ประเทศขึ้นของประเทศที่เจริญแล้ว เพียงหวังเพื่อให้ประเทศของตนสามารถลืมตาอ้าปากได้ คนใน
ประเทศไม่อดตาย เช่น ประเทศที่เคยเป็นเมืองขึ้นของตะวันตกเป็นต้น
กระแสโลก อุณหภูมิโ ลก สถานการณ์โลก คาเหล่านี้คือ แนวโน้มที่เป็นสัญญาณให้คนใน
สังคมได้หันมาสนใจว่า ขณะนี้ตนอยู่ตรงไหน ทาอะไรอยู่ และจะมีอะไรให้เราได้ทาต่อไป เราไม่ได้
อยู่ตัวคนเดียวเหมือนอย่างที่ทุกคนเข้าใจครั้งในอดีตอีกต่อไปแล้ว ระบบนิเวศวัฒนธรรมของคนใน
สังคมกว้างขึ้น มีอีกหลายๆ สังคมกาลังเฝ้าดูเราอยู่ กาลังสารวจสภาพบริบทท้องถิ่นที่เราอาศัยอยู่
ถึ ง เวลาแล้ ว ที่ ทุ ก คนต้ อ งตระหนั ก ต้ อ งตื่ น ขึ้ น จากโลกแห่ ง ความฝั น เครื่ อ งมื อ ที่ ส าคั ญ ในการ
ติดต่อสื่อสารคือภาษา (วจนภาษา) ปัจจุบันมีอุปกรณ์ที่ช่วยให้การติดต่อสื่อสารของเรามีประสิทธิภาพ
มากยิ่งขึ้น คือเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลจานวนมหาศาลไว้บนโลกไซเบอร์
อยากรู้อะไรทุกคนสามารถเข้าไปศึกษาเรียนรู้ได้ตลอด สิ่งเหล่านี้เป็นกลไกในการกระชับแน่นแห่ง
เวลา ผู้ ค นในสั ง คมทุก ระดั บ ชั้ น ก็ เ ริ่ม มี วิ ถี ชีวิ ต ที่ เ ปลี่ ย นไป ทุ ก คนมี โ ลกส่ ว นตั ว มากขึ้ น มากจน
กลายเป็นโลกเสมือนจริง สามารถทาให้คนๆ นั้นร้องไห้ ดีใจ เสียเงิน ร่ารวย มีเพื่อน และมั่วสุม
ฯลฯ ได้หมด
ฉะนั้น บทความเรื่องนี้ผู้เขียนพยายามนาเสนอข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นบนโลกใบนี้ โดยเลือก
เฉพาะท้องถิ่นในภูมิภาคอุษาคเนย์ คือประเทศไทยและท้องถิ่นโดยรอบเป็นหลัก ซึ่งอาจจะไม่ครบทุก
ประเด็น ปัญหา แต่พยายามให้ครอบคลุมให้ได้มากที่สุ ด ซึ่งได้แยกเป็นประเด็นต่างๆ เพื่อง่ายต่อ
๑๓

การศึกษาและเป็นการตอกย้าให้ชัดในประเด็นนั้น ในตอนท้ายของบทความผู้เขียนได้เสนอยุทธศาสตร์
เพื่อความอยู่รอด หรือเพื่อให้ท้องถิ่นสามารถคงอยู่ไม่ถูกกระแสโลกานุวัตน์กระทบเกินไป

บริบทและแนวโน้มท้องถิน
่
อัตราส่วนระหว่างน้ากับพื้นดินบนโลกใบนี้ย่อมไม่เท่ากัน น้าย่อมมากกว่าในอัตราส่วน ๓
ต่อ ๑ ส่วน ดังนั้น พื้นดินที่เราอาศัยอยู่นี้จริงๆ แล้วน้อยมาก แต่กระนั้นผู้คนที่อาศัยอยู่ก็ไม่ล้นพื้นดิน
สักที ตามลักษณะของพื้นดินมีความแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับสภาพดิน ฟ้า อากาศ น้า บริเวณใดที่
ติดกับท้องทะเล พื้นดินแถบนั้นก็จะเป็นหาดเป็นชายฝั่งไปตามแนวของทะเล บริเวณใดที่มีสภาพ
อากาศดีมีฝนตกต่อเนื่ อง บริ เวณนั้นจะมีสภาพเป็นป่ามีความอุดมสมบูรณ์ด้ว ยระบบนิเวศต่างๆ
บริเวณใดที่มีสภาพอากาศที่ร้อนระอุฝนตกไม่มากนัก บริเวณนั้นก็จะเป็นที่โล่งมีสภาพเป็นทะเลทราย
ตอนกลางวันอากาศร้อนกลางคืนอากาศเย็นยะเยือก ลักษณะที่แตกต่างกันเช่นนี้จึงต้องมีการแบ่งเป็น
โซนตะวันออกตะวันตกโดยถือเอาเส้นศูนย์สูตเป็นหลัก และแบ่งย่อยไปอีกเป็นทวีป เป็นประเทศใน
ประเทศก็มีการแบ่งเป็นภูมิภาคตามลักษณะของภูมิศาสตร์ ในภูมิภาคก็มีการแบ่งเป็นท้องถิ่น เป็น
ชุมชน ตามพื้นที่ๆ มีผู้คนอาศัยอยู่ ท้องถิ่นจึงหมายถึงลักษณะของพื้นที่อาศัยของผู้คนในพื้นที่ดั้งเดิม
เป็นชุมชนเก่า มีวัฒนธรรมแบบเดียวกัน มีระบบนิเวศวัฒนธรรมที่ เหมือนกัน ดังนั้น คาว่าท้องถิ่น
จะมุ่งเอาเฉพาะกลุ่มเล็กๆ ไม่ได้ คาว่าท้องถิ่นอาจแทนชื่อประเทศก็ได้ เช่นท้องถิ่นไทย ก็หมายถึง
ประเทศไทยหรือคนไทยนั่นเอง
ในอดีตประเทศทั้งหลายในอาณาบริเวณลุ่มแม่น้าโขง หรือที่มีชื่อเรียกกลุ่มประเทศอินโดจีน
(อินโดไชน่า) เป็นประเทศปิด คือขาดการติดต่อกับนานาประเทศที่อยู่ไกลออกไปฝั่งซีกโลกตะวันตก มี
ระบบการปกครอง ระบบการเมือง ระบบเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ที่เป็นของตนและเราก็พอใจกับสิ่งที่
เราเป็นอยู่อย่างมาก ตัวอย่างเช่น การแต่งกายเมื่อก่อนกับสมัยปัจจุบันนี้แตกต่างกันอย่างชัดเจนที่สุด
เป็นเพราะสังคมมีการปรับตัว และอีกอย่างวัฒนธรรมจากตะวันตกที่มีความเชื่อว่าตนเป็นโลกที่เจริญ
แล้วแพร่กระจายมา
บริบทหลักของท้องถิ่นในอดีต คือ :๑. การเมือง ระบบการเมืองการปกครองในอดี ตเป็ นลั กษณะพ่ อปกครองลู ก (พ่ อขุน )
เรียกว่า การปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราช คนในท้ องถิ่นมีปัญหาอะไรสามารถไปเคาะระฆังหน้า
กาแพงเมืองได้ตลอดเวลา กษัตริย์ก็จะออกมาว่าความหรือคลายความทุกข์โศรกให้ กษัตริย์จะมี
บทบาทสาคัญมีหน้าที่สู้รบขยายอาณาเขตการปกครองไปได้เท่าไหร่ยิ่งเป็นการดี นโยบาย (Policy)
การปกครองในลักษณะนี้ดูเหมืองเป็นสังคมนิยมแต่ไม่ใช่ เป็นการมุ่งให้อาณาประชาราษฎร์มีความอยู่
ดี ผู้คนในท้องถิ่นมีลักษณะเป็นท้องถิ่นนิยม ซึ่งมีพัฒนาการไปเป็นกฎ หรือจารีตประเพณีในที่สุด
๒. เศรษฐกิจ ฐานเศรษฐกิจที่ดีที่สุดในยุคนี้คือ การทานา การเพาะปลูกเลี้ยงสัตว์ เช่น โค
กระเบื อ หมู ไก่ เป็ ด เป็ น ลั ก ษณะเศรษฐกิ จ ครั ว เรื อน หรื อถ้ าเป็ นสมัย ใหม่ เรี ย กว่ า “เศรษฐกิ จ
สร้างสรรค์ (Creative Ecology)” คือการสร้างเศรษฐกิจบนพื้นฐานวัฒนธรรม (Culture) ภูมิปัญญา
และทุนทางสังคม (Social Capital) ที่คนในท้องถิ่นมี ดังคากล่าวในศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงว่า
“ใครใคร่ค้าค้า ใครใคร่ปลูกปลูก ” เป็นต้น หรือ “ในน้ามีปลาในนามีข้าว” และกลุ่มประเทศต่างๆ
ใกล้เคียงกับท้องถิ่นไทยก็มีลักษณะทางเศรษฐกิจที่เหมือนกัน ที่เห็นได้ชัดเจนที่สุด คือชุมชนใดอยู่ใกล้
แม่น้า ชุมชนนั้นก็จะมีอาชีพหาปลา เพาะปลูก ที่เกี่ยวข้องกับน้าเป็นหลัก ชุมชนใดที่อยู่ใกล้ป่าก็จะมี
อาชีพหาของป่า ล่าสัตว์ ใครที่มีที่ทากินก็จะมีอาชีพเพาะปลูกทากสิกรรมและเกษตรกรรม ส่วนใครที่
ไม่มีอะไรเลยป่าไม่มี น้าก็ไม่มี ที่ก็หายาก มีเพียงสมองกับสองมือก็จะผันตัวเองเป็นพ่อค้าวาณิชย์ (เชื้อ
สายจีนโพ้นทะเล)
๓. สาธารณสุข ในอดีตระสาธารณสุขยังไม่ดี หมอที่เป็นมืออาชีพยังหายาก จะมีก็แต่หมอ
พื้นบ้านใช้ภูมิปัญญาที่ตนมี อาศัยการเรียนรู้จากธรรมชาติ อาศัยระบบนิเวศวัฒนธรรม (Culture
Ecology) ในการรักษาบูรณาการ (Integration) เข้ากับหลักความเชื่อ เช่น ผี เจ้าป่า ขวัญ ภูมิ เจ้าที่
เป็นต้น การรักษาผู้ป่วยสมัยก่อนใช้ ความหลากหลาย (Diversity) วิธี จากสิ่งต่างๆ เช่น สัตว์ ต้นไม้
วัชพืช ลม อากาศ ฝน ถ้าถึงขั้นที่สุดรักษาไม่ได้ก็ถือเป็นเรื่องของผี หรือกรรม ทุกคนก็สามารถทาใจ
ยอมรับได้
๔. การศึกษา คนสามัญชนทั่วไปไม่มีโอกาสได้รับการศึกษา รัฐไม่มี นโยบาย (Policy) เพื่อ
การศึกษาสาหรับราษฎร์ภายในประเทศ เห็นได้จากชาวบ้านที่มีถิ่นอาศัยอยู่รอบนอกเมือง ที่มีอายุ
๘๐ ปี ขึ้นไป จะไม่มีโอกาสได้เรียนหนังสือ แต่ลูกเจ้านายจะได้รับการศึกษาที่ดีเท่าที่สังคมเขายอมรับ
ว่าดี ปัญหาตรงนี้ถ้าพิจารณาดูให้ดีก็ไม่น่าเสียใจอะไร เพราะสภาพบริบท (Context) ที่อาศัยอยู่ยัง
ห่างไกลความเจริญมาก การสัญจรไปมาก็ยากเพราะอยู่ในป่าในเขา เปรียบเทียบดูแล้วจากอดีตมาสู่
ปัจจุบันที่คนไทยมีการศึกษาจนทุกวันนี้ก็ยังไม่สายเกินใจ ส่งผลให้คนสมัยก่อนมีความสามารถในการ
ด ารงชี พ แต่ ไ ม่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการแข่ ง ขั น กั บ โลกภายนอก ท าให้ ปั จ จุ บั น ระบบ ทุ น นิ ย ม
(Capitalism) การแพร่กระจาย (Diffusion) เข้ามามีบทบาทกล่อมเกลาผู้คนในสังคม ส่วนหนึ่งก็มา
จากการศึกษาของคนภายในชาตินั่งเอง
๕. ศาสนาและความเชื่อ ผี คือผู้ที่คนในสังคมดั้งเดิมรู้จักและเชื่อว่าถ้าดูแลผีดีชีวิตของตน
และครอบครัวก็จะดีขึ้น ศาสนาที่มีบทบาทสาคัญในยุคสมัยนี้ คือพราหม ฮินดู ส่วนพุทธศาสนาเฉพาะ
ในท้อ งถิ่น ไทยนั้ น พุท ธเถรวาทมีบทบาทส าคัญ ส่ ว นในภูมิ ภ าค (Regional) อื่น ๆ เป็นแบบพุท ธ
มหายาน ในประเทศไทยก่อนที่พุทธเถรวาทจะเข้ามานั้น คนในท้องถิ่นมีความนิยมนับถือผี เช่นผีป่า ผี
เรือน ผีบรรพบุรุษ ซึ่งแสงดออกในรูปพิธีกรรมต่างๆ เช่นแซนโฎนตา การเซ่นไหว้ดวงวิญญาณ เมื่อ
พุทธศาสนาเข้ามามีบทบาท ความคิดความเชื่อก็เริ่มเปลี่ยน และในที่สุดพุทธศาสนามีส่วนในการ
ดาเนินชีวิตของผู้คนในภูมิภาคนี้ได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะหลักคาสอนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่
เป็นความจริง มีปัญญา แทนที่จะสอนให้คนงมงายเชื่อแบบเดิม
๖. วัฒนธรรม ของคนในท้องถิ่นมีการปรับตัวครั้งใหญ่ หลังจากที่พระพุทธศาสนาเข้ามา
แทนที่ความเชื่อแบบเดิม พุทธศาสนาได้พัฒนาคนให้เป็นคนที่รู้จักบาป-บุญ คุณ-โทษ รู้จักผู้ใหญ่
รู้คุณของพ่อแม่ ครูบาอาจารย์ ศาสนาได้ล้อมรวมน้าใจของคนในสังคมให้เป็นคนอ่อนโยน มีความ
เมตตา วัฒนธรรมเหล่านี้ที่ปรากฏในสังคมได้กลายเป็น ทุนทางสังคม (Social Capital) ที่ได้รับการ
แพร่กระจาย (Diffusion) ไปทั่วโลกด้วยสื่อเทคโนโลยีต่างๆ เป็นวาทกรรม (Discourse) ที่คนในสังคม
เห็นพ้องต้องกันว่า ถ้าจะอยู่ในสังคมหรือท้องถิ่นนี้ทุกคนจะต้องปฏิบัติตนแบบนี้ๆ
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง daSaiiew
 
VB2013 - Security Research and Development Framework
VB2013 - Security Research and Development FrameworkVB2013 - Security Research and Development Framework
VB2013 - Security Research and Development FrameworkAmr Thabet
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาjuriporn chuchanakij
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืนWatcharin Chongkonsatit
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน  กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน FURD_RSU
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564ประพันธ์ เวารัมย์
 

Andere mochten auch (9)

L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
 
VB2013 - Security Research and Development Framework
VB2013 - Security Research and Development FrameworkVB2013 - Security Research and Development Framework
VB2013 - Security Research and Development Framework
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน  กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
 

Ähnlich wie กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น

ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่Poramate Minsiri
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวpraphol
 
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11Ong-art Chanprasithchai
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลีPrapatsorn Chaihuay
 
ไอเอส1
ไอเอส1ไอเอส1
ไอเอส10866589628
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์Jib Dankhunthot
 

Ähnlich wie กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น (8)

ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ต้นคิด   ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
ต้นคิด ฝ่าวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
 
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
 
ไอเอส1
ไอเอส1ไอเอส1
ไอเอส1
 
5
55
5
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์
 

Mehr von Kiat Chaloemkiat

ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้Kiat Chaloemkiat
 
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมแผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมKiat Chaloemkiat
 
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมแผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมKiat Chaloemkiat
 
กัยลาณธรรม
กัยลาณธรรมกัยลาณธรรม
กัยลาณธรรมKiat Chaloemkiat
 
เทวตาธรรม
เทวตาธรรมเทวตาธรรม
เทวตาธรรมKiat Chaloemkiat
 
เมตตาค้ำจุ่นโลก
เมตตาค้ำจุ่นโลกเมตตาค้ำจุ่นโลก
เมตตาค้ำจุ่นโลกKiat Chaloemkiat
 
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์Kiat Chaloemkiat
 
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔Kiat Chaloemkiat
 
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกKiat Chaloemkiat
 
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีKiat Chaloemkiat
 
ร่มเงาพระพุทธศาสนา
ร่มเงาพระพุทธศาสนาร่มเงาพระพุทธศาสนา
ร่มเงาพระพุทธศาสนาKiat Chaloemkiat
 
พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่Kiat Chaloemkiat
 
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์  อตุโลคำสอนของหลวงปู่ดูลย์  อตุโล
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์ อตุโลKiat Chaloemkiat
 
พระกู้เกียรติ กิตฺติโสภโณ
พระกู้เกียรติ  กิตฺติโสภโณพระกู้เกียรติ  กิตฺติโสภโณ
พระกู้เกียรติ กิตฺติโสภโณKiat Chaloemkiat
 
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดการบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดKiat Chaloemkiat
 
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)Kiat Chaloemkiat
 

Mehr von Kiat Chaloemkiat (17)

ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
 
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมแผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
 
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมแผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
 
กัยลาณธรรม
กัยลาณธรรมกัยลาณธรรม
กัยลาณธรรม
 
เทวตาธรรม
เทวตาธรรมเทวตาธรรม
เทวตาธรรม
 
เมตตาค้ำจุ่นโลก
เมตตาค้ำจุ่นโลกเมตตาค้ำจุ่นโลก
เมตตาค้ำจุ่นโลก
 
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
 
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
 
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
 
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
 
ร่มเงาพระพุทธศาสนา
ร่มเงาพระพุทธศาสนาร่มเงาพระพุทธศาสนา
ร่มเงาพระพุทธศาสนา
 
พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่
 
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์  อตุโลคำสอนของหลวงปู่ดูลย์  อตุโล
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล
 
พระกู้เกียรติ กิตฺติโสภโณ
พระกู้เกียรติ  กิตฺติโสภโณพระกู้เกียรติ  กิตฺติโสภโณ
พระกู้เกียรติ กิตฺติโสภโณ
 
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดการบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
 
โลกธรรม ๘
โลกธรรม ๘โลกธรรม ๘
โลกธรรม ๘
 
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
 

กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น

  • 1. ๑ กระแสโลกกับความอยูรอดของท้องถิ่น๑ ่ บทนา เมื่อกลางเดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งอยู่ในระหว่างช่วงฤดูฝน เป็นช่วงฤดูทาไร่ทานา ของชาวเกษตรกร ประเทศไทยได้ รั บ ลมมรสุ ม ที่ พั ด พาเอาฝน ที่ นั ก อุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาให้ ชื่ อ ว่ า พายุ ดีเฟรชชั่น ซึ่งขึ้นฝั่งมาจากเวียตนาม ส่งผลให้ประเทศไทยคือภาคอีสานตอนล่างได้รับผลกระทบอย่าง รุนแรง ก่อให้เกิดอุทกภัยคือน้าท่วมอาณาบริเวณที่ทากิน ทางคมนาคมขาดไม่สามารถสัญจรไปมาได้ บ้านเรือนที่อยู่อาศัยเจิ่งนองไปด้วยน้า จังหวัดสุรินทร์ซึ่งมีชาวบ้านบางกลุ่มประกอบอาชีพเพาะเลี้ยง ลูกปลาขาย ได้รับผลกระทบอย่างหนัก บ่อเลี้ยงปลาเต็มได้ด้วยสายน้า ปลาทั้งขนาดเล็กขนาดใหญ่หนี ออกจากบ่อไปจนหมด ประเมินค่าเสียหายต่อรายไม่ต่ากว่าหนึ่งแสนบาท ผลกระทบในครั้งนี้ไม่เว้น แม้ ก ระทั่ งภิ ก ษุส งฆ์ส ามเณรเถรชี ที่ มีอ าวาสอยู่ ใ นเขตพื้น ที่ เสี่ ย งภั ย จากน้าท่ ว ม ไม่ ส ามารถออก ภิกขาจารได้ (บิณฑบาต) ญาติโยมซึ่งได้รับผลกระทบอยู่แล้วต้องคอยดูแลพระสงฆ์ให้ได้รับภัตตาหาร จากเหตุอุทกภัยในครั้งนี้ นับเป็นเหตุการณ์ในประวัติการณ์ของจังหวัดสุรินทร์ ต่อไปข้างหน้าจาเป็นที่ ทุกภาคส่วนที่มีส่วนเกี่ยวข้องและรับผิดชอบ ต้องมีการทบทวนบทบาทและมีมาตรการการป้ องกัน การแก้ ไ ขปั ญ หาน้ าท่ ว ม ซึ่ ง อาจจะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคตอี ก และที่ ส าคั ญ ภาคเอกชนก็ ค วรมี ค วาม รับผิดชอบ มีวัฒนธรรม (Culture) ในการประกอบอาชีพของตน ที่ต้องคานึงถึงประเด็น ท้องถิ่นนิยม (Local lism) ว่า ประชาชนในพื้นที่ต้องการอะไร วาทกรรม (Discourse) ระหว่างประชาชนกับ ผู้ประกอบการควรเป็นอย่างไร เหตุการณ์อุทกภัยที่จังหวัดในภาคอีสานตอนล่างโดยเฉพาะจังหวัดสุรินทร์ ประสบเมื่อ กลางเดือนกันยายนที่ผ่านมา ผู้เขียนต้องการเปรียบเทียบและเป็นการเชื่อมโยงในประเด็นต่างๆ ให้มี ความสอดคล้องกับประเด็น หรือกลุ่มคาที่อาจารย์ผู้สอนได้กาหนดให้ คาว่า “อุทกภัย” เหตุการณ์ที่ เกิดขึ้นนี้ก็คือกระแสโลก อุทกภัย ก็คือผลที่ได้จากกระแสโลก และสาเหตุที่ทาให้เกิดอุทกภัยก็คือ กิ จ กรรม หรื อ ระบบต่ า งๆ ที่ พ ลวั ฒ น์ ใ ห้ โ ลกหมุ น ไป จนในที่ สุ ด น าไปสู่ ค วามเป็ น โลกาภิ วั ฒ น์ (Globalization) เมื่อโลกไม่สามารถหยุดนิ่งได้มีแต่จะทวีความหมุนให้เร็วขึ้นไปเรื่อยๆ จาเป็นที่คนผู้ อาศัยอยู่ต้องมีการปรับเปลี่ยน หรือการปรับตัว (Adaptation) ใหม่ เพราะโลกในปัจจุบันนี้ได้มีกลไก การกระชับแน่นแห่งเวลา (Time and Space) มากยิ่งขึ้น ในอดีตคนที่อยู่ตามชายขอบจะมาติดต่อ ธุระต่างๆ ในเมืองใหญ่ๆ ต้องใช้เวลาเป็นเดือนในการเดินทาง แต่ปัจจุบันนี้สังคมเปลี่ยนไปกลายเป็น สังคมเสมือนจริง (Social Visual) คืออยู่ในโลกส่วนตัว จะยืน เดิน นั่ง นอน อยู่จุดใดในโลกนี้ก็ตาม สามารถติดต่อกันได้ทันที เพราะการแพร่กระจาย (Diffusion) ด้วยเทคโนโลยีที่จัดเป็นนวัตกรรมใหม่ ที่เกิดขึ้นบนโลกที่มนุษยชาติได้สรรค์สร้างขึ้นมา เพียงใช้นิ้วจิ่มหรือสัมผัสที่หน้าจอคอมพิวเตอร์ หรือ โทรศัพท์สมาร์ทโฟนก็สามารถพูดคุย มองเห็นใบหน้ากันได้แล้ว ๑ พระมหาเฉลิมเกียรติ แก้วหอม. นักศึกษาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาวะผู้นาและการบริหาร, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ราชภัฏสุรนทร์. ๒๕๕๖ ิ
  • 2. โลกที่ เราอาศั ย อยู่ นี้ มีวิ วัฒ นาการไปเรื่ อยๆ ทุก ภูมิ ภ าค (Regional) ในสั งคมโลกมี ก าร ปรับตัว (Adaptation) เพื่อความอยู่รอด ดังเช่นมีกลุ่มนักวิชาการ นักวิจัยทางสังคมศาสตร์ของไทย ได้ศึกษาและเฝ้าสังเกตสังคมโลกที่ซึ่งกาลังมีการเปลี่ยนแปลงในทุกมิติ มีการร่วมมือ การจัดตั้งกลุ่ม ประเทศ การจัดตั้งเขตการค้าเสรีที่ปลดแอกภาระด้านภาษี ภายใต้โครงการว่า “บูรพาภิวัตน์” แม้ใน ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่ จ ะมี ก ารเปิ ด ประตู่ สู่ อ าเซี ย น ก็ เ ป็ น ผลพวงมาจากกระแส โลกาภิ วั ฒ น์ (Globalization) ทุกประเทศที่เข้าร่วมล้วนมี ทุนทางสังคม (Social Capital) ของตน มีวัฒนธรรม (Culture) อั น เป็ น อั ต ลั ก ษณ์ เ ฉพาะ มุ่ ง เน้ น การท าธุ ร กิ จ หรื อ เศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ (Creative Ecology) ที่สามารถบูรณาการ (Integration) ความหลากหลาย (Diversity ต่างๆ ที่มีอยู่ในภูมิภาคได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ที่ต้องปฏิเสธระบบทุนนิยม (Capitalism) การร่วมกลุ่มกันของกลุ่มประเทศต้อง คานึงถึงแนวโน้ม (Trend) ที่จะเป็นไปได้และสภาพบริบท (Context) ทางสังคมที่เหมือนกัน และ ร่วมกันกาหนดนโยบาย (Policy) ขึ้นเพื่อเป็นกรอบในการปฏิวัติตนเอง ปัจจุบันหลายประเทศให้ ความสนใจยุคหลังสมัยใหม่ (Post Modern) ดังคากล่าวที่มักได้ยินว่า “เมื่อพัฒนาถึงขีดสูงสุด ทุก อย่างจะเริ่มหันมาสนใจความเป็นตัวตนดั้งเดิมของตน” ความเป็นสมัยใหม่ไม่สามารถคงอยู่ได้นาน แต่ถ้าความเป็นสมัยใหม่บูรณาการ (Integration) หรือผสมผสานการปรับตัว (Adaptation) เข้ากับ ยุคหลังสมัยใหม่ได้เมื่อไหร่ ทุกอย่างจะลงตัวมีความเป็นเอกลักษณ์และเข้าสู่ยุคคลาสสิคทันที ท้องถิ่น เป็ น คาที่แทนทุกสิ่ งทุกอย่างที่มีอยู่ในสั งคม ซึ่งมีความเหมือนกัน ดังนั้น คาว่า ท้องถิ่นไม่ได้หมายถึงความล้าหลัง ความเป็นคนบ้านนอก แต่เป็นตัวแทน คน สัตว์ ที่ สิ่งของ ที่มีอยู่ใน กลุ่ม หลักจากนี้ไปทุกคนต้องมองออกจากท้องถิ่นของตนแต่ก็อาศัยท้ องถิ่นของตนนั่นแหละในการ เป็นอยู่ มองเพียงเพื่อรู้จักการเอาตัวรอด รู้จักการป้องกัน รู้จักการปรับตัว (Adaptation) และรู้ที่จะ เอาของดีในท้องถิ่นของตนที่ปัจจุบันนิยมเรียกว่า “ทุนทางสังคม (Social Capital)” มาใช้ ในอดีต เจ้าชายสิทธัตถะได้เรียนรู้ตนเอง โดยอาศัยกระแสโลกที่เรียกว่า “เทวทูต” เพื่อหาทางออก จนในที่สุด ก็สามารถพัฒนาตนเป็นศาสดาเอกของโลกได้ การปรับตัว (Adaptation) เช่นนั้นเป็นกลไกทางนิเวศ วัฒนธรรม (Culture Ecology) ที่เรียนรู้ความเจริญก้าวหน้าแล้ว ปรับตัว (Adaptation) ให้เข้ากับ สภาพแวดล้อมต่างๆ ถึงเวลาแล้วที่ท้องถิ่นควรมีการมองไปข้างหน้าแต่เท้ายังยืนหยัดอยู่ความเป็น ท้องถิ่นของตนให้เหนี่ยวแน่น ก็สามารถอยู่รอดปลอดภัยไม่ถูกครอบงาจากกระแสต่างๆ ที่เกิดขึ้น อัน ที่จริงก็ไม่น่าวิตกกังวลอะไรเพียงแต่ว่าถ้าคิดจะก้าวไปข้างหน้าให้ทัดเทียมนานาอารยประเทศที่เจริญ แล้วหรือที่กาลังจะพัฒนาเหมือนอย่างเรา ทุกคนก็ต้องตื่นตัว ยอมรับความเป็นจริง เรียนรู้ให้ทัน เพราะทุกวันนี้เวลาโลกมีการกระชับแน่นแห่งเวลา ทาให้จากความยุ่งยากกลับกลายเป็นง่ายขึ้น เร็ว ขึ้น และต้องระวังมากยิ่งขึ้นไปด้วย ดังนั้น บทความเรื่อง “กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น ” นี้ ผู้เขียนมีความประสงค์ จะนาเสนอสภาพความเป็นจริงที่สังคมโลกกาลังเป็นอยู่ ซึ่งนับวันจะยิ่งทวีความพลวัตน์ จาเป็นที่ ผู้คนในสังคโลกจะต้องรู้เท่าทัน เพื่อการเรียนรู้ และปรับสภาพปรับตัว (Adaptation) ให้ทันกับยุค สมัย ไม่ถูกกระแสโลกครอบงา กลายเป็นคนชายขอบที่ตกตะเข็บข่าวสาร บทความนี้อาจเป็นอีก องค์ความรู้ หรือข้อเสนอเชิงนโยบายหนึ่งที่ช่วยชี้ทางออกให้สังคมได้นาไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมต่อไป คาศัพท์เฉพาะ
  • 3. ๓ นิเวศวัฒนธรรม (Culture Ecology) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในสังคมที่เกิดจากความ เจริญก้าวหน้าที่ต้องมีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมต่างๆ ซึ่งเป็นแนวคิดทางมานุษยวิทยาที่ สนใจศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม โดยเน้นถึงอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมว่าเป็นตัวกาหนด กระบวนการวิวัฒนาการทาง สังคมวัฒนธรรม จูเลียน สจ๊วด (Julian Steward) นักมานุษยวิทยา อเมริกัน ได้อธิบายแนวความคิดแบบนิเวศวิทยาวัฒนธรรมว่า เป็นการศึกษากระบวนการปรับตัวของ สังคมภายใต้อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม โดยเน้นการศึกษาวิวัฒนาการหรือการเปลี่ยนแปลงอันเกิดจาก การปรับตัว (adaptation) ของสังคม แนวความคิดนี้มองสังคมในลักษณะเป็นพลวัตหรือเปลี่ยนแปลง อยู่ตลอดเวลา การเปลี่ยนแปลงเป็นผลมาจากการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม โดยมีพื้นฐาน สาคัญคือ เทคโนโลยีการผลิต โครงสร้างสังคม และลักษณะของสภาพแวดล้อมธรรมชาติเป็นเงื่อนไข เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Ecology) ตามความหมายของสานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หมายถึง แนวคิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจบนพื้นฐานของการ ใช้องค์ความรู้ (Knowledge) การศึกษา (Education) การสร้างสรรค์งาน (Creativity) และการใช้ ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property) ที่เชื่อมโยงกับพื้นฐานทางวัฒนธรรม (Culture) การ สั่งสมความรู้ของสังคม (Wisdom) และเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่ (Technology and Innovation) (อาคม เติมพิทยาไพสิฐ.อ้างใน จุฬาวิทยานุกรม. ๒๕๕๖ ตุลาคม ๒๑) คาว่ าเศรษฐกิจ สร้ า งสรรค์เ ป็น คาภาษาไทยที่ใ ช้แทนคาในภาษาอัง กฤษหลายๆ คาดัง นี้ Creative Economy, Creative Industries, Cultural Industries โดยแต่ละคาในภาษาอังกฤษก็ถูก บัญญัติขึ้นโดยหน่วยงานหลายๆ หน่วยงาน และมีความแพร่หลายในหลายๆ มิติ (Srisangnam. อ้าง ในจุฬาวิทยานุกรม. ๒๕๕๖ ตุลาคม ๒๑) และในร่างกรอบทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ ซึ่งจะนามาใช้ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ ก็ได้มีการระบุยุทธศาสตร์และแนว ทางการพัฒนาประเทศ ๗ ยุทธศาสตร์ และยุทธศาสตร์แรก "ยุทธศาสตร์การสร้างฐานการผลิตที่ ส่งเสริมการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจอย่างเข้มแข็งและสมดุล " ที่ได้มีการกล่าวถึงร่างแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ก็เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์โดยตรง โดยสามารถสรุปใจความได้ดังนี้ ประเทศไทย จะเน้นเป้าหมายการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทยให้อยู่บนแนวคิดของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ มีการกล่าวถึงการพัฒนาภาคการผลิตสินค้าและบริการบนฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยส่งเสริมการใช้ ความสร้างสรรค์เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าและบริการ การส่งเสริมและพัฒนาสาขาธุรกิจสร้างสรรค์ที่มี ศักยภาพ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งแวดล้อมด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ พัฒนาบุคลากรให้ สามารถตอบสนองความต้องการของภาคการผลิตและบริการทั้งในระดับวิชาชีพเชิงสร้างสรรค์และ ผู้ประกอบการให้มีความคิดสร้างสรรค์ ส่งเสริมการศึกษาวิจัยและพัฒนาเชิงลึกในสาขาเศรษฐกิจ สร้ างสรรค์และทุน วัฒนธรรม (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ , ๒๕๕๓) สังคมเสมือนจริง (Social Visual) หมายถึง การที่ผู้คนสามารถทาความรู้จัก และ เชื่อมโยงกันในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง หากเป็นเว็บไซต์ที่เรียกว่าเป็น เว็บ Social Network ก็คือ เว็บไซต์ที่เชื่อมโยงผู้คนไว้ด้วยกัน เช่น MySpace, Hi5, Facebook เป็นรูปแบบของสังคมประเภท
  • 4. หนึ่ ง ที่ ม าออนไลน์ อ ยู่ บ นอิ น เตอร์ เ น็ ต (หรื อ อา จจะเรี ย กได้ ว่ า เป็ น สั ง คมเสมื อ น “Virtual Communities) หรืออาจจะเรียกว่า Online Community โดยที่สังคมที่เราใช้ชีวิตตอนนี้จะเรียกว่า Offline สังคมดังกล่าว มีการขยายตัวแบบ Network หรือเครือข่าย หากสรุปตามความเข้าใจของคน โดยทั่วไป Social Networking เป็นสังคมที่เราสามารถรู้จักเพื่อนๆของเพื่อน และทาให้เป็นเพื่อนของ เราได้ อีกด้านหนึ่ง เพื่อนของเรา อยากรู้จักเพื่อนๆ ของเรา ก็สามารถทาได้เช่นกัน โดยเป็นการรู้จัก กันต่อไปเป็นทอดๆ คล้ายเครือข่ายใยแมงมุม ที่โยงกันไปมาได้ จากพฤติกรรมดังกล่าวนี้ ส่งผลให้ผู้คนในสังคมมีวิถีชี วิตอยู่กันอย่างตัวใครตัวมัน ครอบครัว ใครครอบครัวมันมากขึ้น สิ่งที่ตามมาคือ ความหวาดระแวงที่เข้ามาแทนที่ความไว้เนื้อเชื่อใจ ความ เหงาที่กางปีกของมันปกคลุมผู้คนในโลกแห่งความเป็นจริง สังคมเสมือนจริงของคนที่หันหน้าเข้าหา คอมพิวเตอร์อาจถือกาเนิดขึ้น โดยเหตุที่เพราะผู้คนที่มีชีวิตอยู่กับตัวเองเป็นส่วนใหญ่นั้นต้องการที่จะ สังสรรค์กัน บ้าง พูดง่ายๆ ว่ามันคือการตอบสนองความต้องการพื้นฐานของคนที่ไม่ค่อยมีโ อกาส สังสรรค์ทางสังคมในโลกแห่งความเป็นจริงสักเท่าไร แม้ว่าในสังคมเสมือนจริงนี้ ทุกคนจะรับรู้ได้ว่ามัน ช่างเต็มไปด้วยความปลิ้นปล้อนตลบตะแลงพอๆ กับการสังสรรค์ทางสังคมในโลกแห่งความเป็นจริง หรืออาจจะยิ่งกว่าเสียด้วยซ้าไป แต่ก็นั่นแหละเพราะว่าชีวิตของมนุษย์นั้นต้องการเพื่อน การกระชับแน่นแห่งเวลา (Time and Space) หมายถึง ผลพวงจากการพัฒนาของ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งทาให้เรากลับมีความรู้สึกว่าโลกใบนี้ถูกย่อส่วนให้เล็ก และรู้สึกว่าคน ทั้งโลกเสมือนหนึ่งถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกันและต่างก็มีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันได้อย่างสะดวกสบาย มากยิ่งขึ้นทั้งๆ ที่โลกใบนี้ซึ่งมีขนาดเท่าเดิม โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายหลังจากการสิ้นสุดของสงคราม เย็น (Cold War) แนวโน้ม (Trend) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงหรือสถานการณ์ที่คนส่วนมากนิยม มักเป็น การเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาการที่เกิดขึ้นแก่การแต่งกาย แฟชั่น เสื้อผ้า เครื่องสาอาง เป็นต้น คนที่มี ลักษณะอินเทร็นด์ คือ คนที่ทาตนตามสมัย ตามแฟชั่นอย่างใกล้ชิด หรืออยู่ในแนวของแฟชั่น คนที่ไม่ ตามแฟชั่น ไม่ทันสมัย บริบท (Context) หมายถึง สิ่งที่เกี่ยวข้องโดยรอบ เช่นบริบทสังคม ก็คือ ภาคส่วนต่างๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ สั ง คม ถ้ า มองภาพใหญ่ คื อ ระบบ ๖ ระบบ คื อ ๑. การเมื อ ง ๒. เศรษฐกิ จ ๓. สาธารณสุข ๔. การศึกษา ๕. ศาสนาและความเชื่อ ๖. วัฒนธรรม บริบทชุมชน ๑. ประวัติชุมชน ได้แก่ ความเป็นมาของหมู่บ้าน ประวัติป่า ๒. อาณาเขต ได้แก่ อาณาเขตติดต่อ พื้นที่หมู่บ้าน พื้นที่ป่า ๓. ลักษณะภูมิประเทศ ได้แก่ สัณฐานวิทยา ปฐพีวิทยา ๔. ลักษณะภูมิอากาศ ได้แก่ การแสดงอุณหภูมิและปริมาณน้าฝน ๕. จานวนประชากร ๖. โครงสร้างพื้นฐาน ได้แก่ การคมนาคม การไฟฟ้า การประปา
  • 5. ๕ ๗. เศรษฐกิจ ได้แก่ การประกอบอาชีพ ฤดูการเก็บเกี่ยวผลผลิต ๘. ด้านสังคม กลุ่มองค์กรและเครือข่าย กลุ่มผู้นา ๙. ประเพณี พิธีกรรม ข้อห้าม กฎ ระเบียบของหมู่บ้านการใช้ประโยชน์จากป่า ๑๐. ผู้รู้หรือปราชญ์ท้องถิ่นและผู้นาชุมชน ได้แก่ ข้อมูลผู้รู้หรือปราชญ์ท้องถิ่น ๑๑. ข้อมูลการใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพจากป่าไม้ของชุมชน นโยบาย (Policy) หมายถึง กลุ่มของข้อบังคับบนพฤติกรรมที่เป็นไปได้ของระบบ เป้ าหมาย ซึ่ง จะแตกต่า งกั น ไปตามระบบที่ ส นใจ โดยมั กจะสร้ างด้ว ยภาษาธรรมชาติ (Natural Language) หรือ หมายถึง การวางแผนทากิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งอย่างรอบคอบเพื่อนาไปสู่การ ตัดสินใจ และเพื่อบรรลุเป้าหมายองค์กรอย่างมีเหตุผล นโยบายอาจใช้กับองค์กรภาครัฐระดับมหภาค หรือองค์กรเอกชนระดับจุลภาค และอาจใช้กับกลุ่มคนระดับบุคคล หลังสมัยใหม่ (Post Modern) เป็นคาคุณศัพท์ แปลว่า “หลังสมัยใหม่” แต่ที่มันยุ่งยาก ซับซ้อน ก็เพราะว่าในโลกตะวันตก คาคานี้ใช้พูดถึงเรื่องสามเรื่องที่แตกต่างกัน ความหมายแรก ใช้พูดถึงสภาพสังคม หมายความว่า สังคมร่วมสมัยทุกวันนี้มีส่วนหนึ่งตก อยู่ในสภาพที่เรียกว่า สภาวะหลังสมัยใหม่ (postmodern condition หรือ postmodernity) ซึ่งเกิด จากความแปรปรวนขึ้นในระบบคุณค่า เกิดความพร่าเลือนขึ้นในพรมแดนที่ใช้แยกแยะสิ่งต่างๆ ความ แปรปรวนนี้แสดงออกให้เห็นให้เห็นในหลายๆ เรื่อง ที่เด่นเป็นพิเศษคือ ในวัฒนธรรมบริโภคนิยมร่วม สมัยที่ผูกมากับระบบทุนนิยมขั้นล่าสุด คือ late capitalism ความหมายที่สอง หมายถึง แนวทางการสร้างสรรค์ศิลปะวรรณกรรมแนวหนึ่ง ซึ่งลุ กขึ้นมา ท้าทายคติและรสนิยมทางสุนทรียะของสังคมสมัยใหม่ หรือ modern เช่น ในเรื่องการแบ่งชั้นศิลปะ เป็นสูงกับต่า เป็นต้น ความหมายสุดท้าย “โพสต์โมเดิร์น” หรือ “หลังสมัยใหม่” เป็นคาที่ใช้อย่างลาลองเพื่อ เรียกชื่อแนวคิดทางวิชาการด้านสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์แนวหนึ่ ง ซึ่งถ้าจะเรียกอย่างเคร่งครัด คือแล้วก็คือ “poststruralism” หรือ “แนวหลังโครงสร้างนิยม” แนวคิดทางวิชาการที่ว่านี้มีลักษณะ เฉพาะตัวตรงที่มักจะเสนอมุมมองใหม่ ๆ ที่เกิดจากตั้งคาถามต่อพวกทฤษฏีและองค์ความรู้ทั้งหลาย ที่ เชื่อถือกันมานานตั้งแต่ยุคแห่งความรู้แจ้ง (enlightment) และยังคงมีอิทธิพลอยู่ในปัจจุบัน โลกาภิวัฒน์ (Globalization) หมายถึง ผลจากการพัฒ นาการติดต่อสื่ อสาร การ คมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยีสารสนเทศ อันแสดงให้เห็นถึงการเจริญเติบโตของความสัมพันธ์ทาง เศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงระหว่างปัจเจกบุคคล ชุมชน หน่วยธุรกิจ และรัฐบาล ทั่วทั้งโลก โลกาภิ วั ต น์ ตามพจนานุ ก รมฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ หมายถึ ง "การ แพร่กระจายไปทั่วโลก การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับ
  • 6. ผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศเป็น ต้น" โลกาภิวัตน์ เป็นคาศัพท์เฉพาะที่บัญญัติขึ้นเพื่อตอบสนองปรากฏการณ์ของสังคมโลกที่เหตุการณ์ ทางเศรษฐกิจ การเมือง สิ่ งแวดล้ อม และวัฒ นธรรมที่เกิ ดขึ้นในส่ ว นหนึ่งของโลก ส่ งผลกระทบ อันรวดเร็วและสาคัญต่อส่วนอื่นๆของโลก โลกาภิวัตน์ หมายถึงกระบวนการที่ประชากรของโลกถูกหลอมรวมกลายเป็นสังคมเดี่ยว กระบวนการนี้เกิดจากแรงของอิทธิพลร่วมทางเศรษฐกิจเทคโนโลยีและสังคม-วัฒนธรรมและการเมือง โลกาภิวัตน์มีผลกระทบต่อโลกในหลายแง่มุม เช่น อุตสาหกรรม การปรากฏของตลาดการผลิตที่เกิดขึ้นทั่วโลก และช่องทางเข้าถึงผลิตภัณฑ์ ต่างประเทศที่กว้างขึ้นสาหรับผู้บริโภคและบริษัท การเงิน การปรากฏขึ้นของตลาดการเงินทั่วโลกและการเข้าถึงเงินลงทุนจากแหล่งภายนอก ที่ง่ายและสะดวกขึ้นของบริษัทต่างๆ ประเทศและรัฐต่ากว่าประเทศที่ประสงค์ของกู้ยืม เศรษฐกิจ การยอมรับตลาดร่วมของโลกบนพื้นฐานแห่งเสรีภาพในการแลกเปลี่ยนสินค้า และทุน การเมือง การเมืองโลกาภิวัตน์หมายถึงการสร้างสรรค์รัฐบาลโลกที่จะทาหน้าที่กากับดูแล ความสัมพันธ์ระหว่างชาติและให้หลักประกันสิทธิ์ที่เกิดจากสังคมและเศรษฐกิจของโลกาภิวัตน์ในทาง การเมือง สหรัฐฯ ได้รับประโยชน์จากการครองอานาจในโลกในหมู่ชาติมหาอานาจ ซึ่งส่วนหนึ่งมาจาก ความเข้ มแข็งทางเศรษฐกิจ และความั่งคั่งของประเทศ ด้วยอิทธิพลของโลกาภิวัตน์และจากการ ช่วยเหลือของสหรัฐฯ ประเทศจีนได้เจริญเติบโตอย่างมหาศาลในช่วงเพียงทศวรรษที่ผ่านมา หากจีนมี ความเจริ ญเติบ โตในอัต ราตามแนวโน้มนี้ต่อไป เป็นไปได้ที่จะเกิดการเคลื่ อนย้ายศูนย์อานาจใน ระหว่างประเทศผู้นาภายใน ๒๐ ปีข้างหน้า ประเทศจีนจะมีความมั่งคั่ง มีอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ที่สามรถท้าทายสหรัฐฯ ในการเป็นประเทศมหาอานาจผู้นา ข้อมูลข่าวสาร มีการเพิ่มการไหลบ่าของข้อมูลข่าวสารระหว่างพื้นหรือภูมิภาคที่อยู่ห่างไกล กันมาก วัฒนธรรม การเจริญเติบโตของการติดต่อสัมพันธ์ข้ามวัฒนธรรม เกิดมีประเภทใหม่ๆ ใน ด้านความสานึกและเอกลักษณ์ เช่น “โลกาภิวัตน์นิยม” ซึ่งครอบคลุมการแพร่กระจายทางวัฒนธรรม และการได้บริโภคผลิตภัณฑ์และความคิดจากต่างประเทศ การรับเทคโนโลยีใหม่มาใช้และการเข้าร่วม ใน “วัฒนธรรมโลก” นิเวศวิทยา การปรากฏขึ้นของความท้าทายในปัญหาสภาวะแวดล้อมในระดับโลกที่ไม่ สามารถแก้ปั ญหาได้โ ดยปราศจากความร่ว มระดับนานาชาติ เช่นปัญหา “การเปลี่ ยนแปลงของ ภู มิ อ ากาศ” มลภาวะทางน้ าและอากาศที่ ค รอบคลุ ม หลายเขตประเทศ การท าประมงเกิ น ขี ด
  • 7. ๗ ความสามารถในการรองรับ การกระจายของพันธุ์พืชและสัตว์ที่ไม่พึงประสงค์ การสร้างโรงงานเป็น จานวนมากในประเทศกาลังพัฒนาที่ก่อมลภาวะได้อย่างเสรี สังคม ความสาเร็จในการบอกรับข่าวสารโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสาหรับประชาชนของทุกชาติ ในโลก การขนส่ ง การลดจ านวนลงไปเรื่ อ ยๆ ของรถยุ โ รปในถนนของยุ โ รป (อาจกล่ า วได้ เช่นเดียวกันสาหรับอเมริกา) และการสิ้นปัญหาเรื่องระยะทางที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีต่างๆ มาช่วย ลดเวลาการเดินทาง บูรณาการ (Integration) หมายถึง การรวมเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน มี ๒ ความหมาย ความหมายที่ ๑ คือ ทาให้เป็นเนื้อเดียวกันโดยรวมหรือผสมผสานส่วนต่างๆ เข้าด้วยกัน เช่น การสอนภาษาแบบบูรณาการ หมายถึง การรวมทักษะการพูด ฟัง อ่าน เขียน ไว้ในวิชาเดียวกัน หรือหลักสูตรแบบบูรณาการสาหรับภิกษุสามเณร เป็นหลักสูตรที่รวมหลักสูตรธรรมศึกษา บาลีศึกษา และสามัญศึกษา ให้เป็นหลักสูตรเดียว ความหมายที่ ๒ หมายถึงเชื่อมหรือประสานกับสิ่งอื่นหรือหน่วยงานอื่น เช่น โรงเรียนหลาย แห่งบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ากับศาสตร์สมัยใหม่ เพื่อให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ที่มีรากฐาน จากความเป็นไทยและนาไปสู่การ พัฒนาประเทศที่ยั่งยืน การแพร่กระจาย (Diffusion) Everett Roger (๑๙๙๕) เป็นบุคคลที่คิดค้นและได้พิสูจน์ ทฤษฎีการแพร่กระจายนวัตกรรม (Diffusion of Innovation Theory) โดยทฤษฎีนี้เน้นความเชื่อว่า การเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรมเกิดขึ้นจากการแพร่กระจายของสิ่งใหม่ๆ จากสังคมหนึ่งไปยังอีก สังคมหนึ่งและสังคมนั้นรับเข้าไปใช้สิ่งใหม่ๆ นี้ คือ นวัตกรรม ซึ่งเป็นทั้งความรู้ ความคิด เทคนิควิธีการ และเทคโนโลยีใหม่ๆ โดยได้อธิบายทฤษฎีกระบวนการแพร่กระจายนวัตกรรมนี้ว่า มีตัวแปรหรือ องค์ประกอบหลัก ที่สาคัญ ๔ ประการ (Four main element in the diffusion of innovations) คื อ ๑. นวั ตกรรม (Innovation) หรื อสิ่ งใหม่ ที่ จะแพร่ กระจายไปสู่ สั งคมเกิ ดขึ้ น นวั ตกรรมที่ จะ แพร่กระจายและเป็นที่ยอมรับของคนในสังคมนั้น โดยทั่วไปประกอบด้วยส่วนสาคัญ ๒ ส่วน คือ ส่วน ที่เป็นความคิดและส่วนที่เป็นวัตถุ นวัตกรรมใดจะถูกยอมรับหรือไม่นั้น นอกจากจะเกี่ยวกับตัวผู้รับ ระบบสังคม และรับการสื่อสารแล้ว ตัวของนวัตกรรมเองก็มีความสาคัญ ๒. การสื่อสารโดยผ่านสื่อทาง ใดทางหนึ่ง (Types of Communication) เพื่อให้คนในสังคมได้รับรู้ระบบการสื่อสาร การสื่อสาร คือ การ ติดต่อระหว่างผู้ ส่งข่าวสารกับผู้รั บข่าวสาร โดยผ่ านสื่อ หรือตัว กลางใดตัวกลางหนึ่งที่นวัตกรรมนั้น แพร่กระจายจากแหล่งกาเนิดไปสู่ผู้ใช้หรือผู้รับนวัตกรรม อันเป็นกระบวนการกระทาระหว่างกันของ มนุษย์ การสื่อสารจึงมีความสาคัญต่อการรับนวัตกรรมมาก ๓. เกิดในช่วงเวลาหนึ่ง (Time or Rate of Adoption) เพื่อให้คนในสังคมได้รู้จักนวัตกรรม แนวความคิดใหม่หรือมีการใช้ประโยชน์จากสิ่งที่มีอยู่ แล้ ว มาใช้ ใ นรู ป แบบใหม่ เพื่ อ ท าให้ เ กิ ด ประโยชน์ ท างเศรษฐกิ จ และกระบวนการแพร่ ก ระจาย
  • 8. นวัตกรรมต้องอาศัยระยะเวลาและมีลาดับขั้นตอนเพื่อให้บุคคลปรับตัวและยอมรับนวัตกรรมหรือ แนวความคิดใหม่ (a given time period) ๔. ระบบสังคม (Social System) โดยการแพร่กระจายเข้าสู่ สมาชิกของสั งคม ระบบสังคมจะมีอิทธิพลต่ อการแพร่กระจายและการรับนวัตกรรม กล่ าวคือ สั งคม สมั ยใหม่ระบบของสังคมจะเอื้อต่อการรั บนวัตกรรม ทั้งความรวดเร็วและปริ มาณที่จะรับ (Rate of Adoption) เพราะมีบรรทัดฐานและรับค่านิยมของสั งคมที่สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและ วัฒนธรรม ดังนั้น เมื่อมีการแพร่กระจาย สิ่งใหม่เข้ามา สังคมก็จะยอมรับได้ง่าย ส่วนสังคมโบราณหรือ สังคมที่ติดยึดกับความเชื่อต่างๆ ซึ่งเป็นสังคมล้าหลังจะมีลักษณะตรงกันข้ามกับสังคมสมัยใหม่ ความ รวดเร็วของการแพร่กระจายและปริมาณที่จะรับนวัตกรรมจึงเกิดได้ช้ากว่าและน้อยกว่าหรืออาจจะไม่ ยอมรับเลยก็ได้ ทุนทางสังคม (Social Capital) ในบริบทของสังคมไทยนาจะหมายถึง “ผลรวมของสิ่งดี งามตางๆ ที่มีอยูในสังคม ทั้งในสวนที่ไดจากการสั่งสมและการตอยอด รวมถึงการรวมตัวของคนที่มี คุณภาพเพื่อสรางประโยชนตอสวนรวม บนพื้นฐานของความไวเนื้อเชื่อใจ สายใยแหงความผกพูนและ วัฒนธรรมที่ดีงาม” ซึ่งหากนามาพัฒนาและใชประโยชนอยางเหมาะสมแลวจะเปนปจจัยสาคัญในการ พัฒนาประเทศชาติและสังคมใหสมดุลและยั่งยืน ทุนทางสังคม (social capital) มีความหมาย ๒ อย่าง อย่างแรก คือ ระบบคุณค่า ซึ่ง ประกอบด้วยตัวคุณค่าที่ร้อยรัดผู้คนเข้าด้วยกัน ให้อยู่ เป็นครอบครัว ชุมชน เป็นกฎเกณฑ์ ระเบียบ จารีตประเพณี วิถีปฏิบัติของชุมชน จะเรียกว่า "ผี" "ขวัญ" หรืออะไรก็แล้วแต่ ซึ่งเชื่อมโยงคนกับ ธรรมชาติ กับคนอื่น เป็นพี่เป็นน้อง เป็นกลุ่มเป็นก้อน ไม่อยู่แบบตัวใครตัวมัน ทุนทางสังคมเป็นคุณธรรมต่างๆ ความไว้ใจกัน ความเอื้ออาทรต่อกัน การพึ่งพาอาศัยกัน เป็นพรหมวิหารสี่ (เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา) ที่ทาให้มีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน อย่างที่สอง ทุนทางสังคมเป็นรูปธรรมที่คุณค่าดีงามเหล่านั้นร้อยรัด จัดระเบียบให้ ปรากฏ ออกมา เป็นสถาบันครอบครัว สถาบันชุมชน สถาบันหมู่บ้าน สถาบันศาสนา สถาบันพระมหากษัตริย์ วันนี้มีมากมายหลายสถาบันทางสังคม รวมถึงชมรม สมาคม ขบวนการ เครือข่าย ที่รวมเอาผู้คนเข้า มาร่วมกันด้วยวัตถุประสงค์บางประการ และดาเนินกิจกรรมบางอย่างร่วมกัน วาทกรรม (Discourse) หมายถึง รูปแบบของความคิด หรือกรอบความคิด เกี่ยวกับเรื่อง ใดเรื่องหนึ่ง ที่มีลักษณะเป็น สถาบันและมีการสืบทอด "ซึ่งแสดงออกผ่านทางการพูดและเขียนอย่าง จริงจัง/ประโยคหรือนิยามที่ใช้บ่อยๆ" เพื่อที่จะคงไว้ซึ่ง ลักษณะของวาทกรรม และการปรับเปลี่ ยน ลักษณะของวาทกรรมนั้นๆ วาทกรรมแต่ละเรื่องมีระบบความคิด และเหตุผลของตนในการอธิบายหรือมอง "ความจริง" ซึ่งวาทกรรมเรื่องเดียวกัน แต่ต่างระบบความคิดและเหตุผลก็จะมีความแตกต่างกันออกไป ในการให้
  • 9. ๙ อรรถาธิบายต่อเรื่องนั้นๆ ดังนั้นในเรื่องเดียวกันจึงมีวาทกรรมหลายชุดที่เกี่ยวข้องและวาทกรรมแต่ละ ชุดก็มีความขัดแย้ง หรือปฏิเสธ "ความจริง" ของวาทกรรมอีกชุดหนึ่งได้ นอกจากนี้ แ ล้ ว การเกิ ด ขึ้ น ของวาทกรรมแต่ ล ะชุ ด ในแต่ ล ะเรื่ อ งย่ อ มมี จุ ด ประสงค์ ตัวอย่างเช่นวาทกรรมของกลุ่มที่ต่อต้านเกย์ ก็มีจุดประสงค์เพื่อที่จะต่อต้านชายที่มีพฤติกรรมรักร่วม เพศ และพยายามที่จะแสดงให้เห็นว่าพฤติกรรมรักร่วมเพศเป็นพฤติกรรมที่ขัดต่อ ศีลธรรมอันดีของ สังคม และยังเป็นการละเมิดบรรทัดฐานของสังคม ตลอดจนถือว่าพฤติกรรมเช่นนี้เป็นสิ่งผิดปกติและ สมควรที่จะได้รับการแก้ไขให้ถูกต้อง เป็นต้น ความหลากหลาย (Diversity) หมายถึง ความรู้ความเข้าใจการยอมรับ และตระหนักใน ความหลากหลายทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ สังคม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี รวมทั้งความ หลากหลาย ทางชีวภาพตลอดจนผลกระทบของสภาพแวดล้อมที่มีต่อเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ส่วนความหลากหลายทางชีวภาพ (Biological Diversity) หมายถึง การมีชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต หลากหลายชนิดมาอยู่ร่วมกัน ณ สถานที่หนึ่งหรือระบบนิเวศใดระบบนิเวศหนึ่ง ซึ่งสามารถจัดแบ่ง ความหลากหลายทางชีวภาพ ได้เป็น ๓ ลักษณะ คือ ๑. ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (species diversity) หมายถึงความหลากหลายของ ชนิดของสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ในพื้นที่หนึ่งๆนักชีววิทยาวัดความหลากหลายของชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต ๒. ในระบบนิเวศหนึ่งๆ จะประกอบด้วยกลุ่มสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด แม้ในสิ่งมีชีวิต เดียวกันก็ยั งมีความหลากหลายทางพันธุกรรมที่ทาให้เกิดสายพันธุ์ต่างๆ อันเป็นรากฐานส าคัญที่ เอื้ออานวยให้สิ่งมีชีวิตสามารถดารงชีวิตให้สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถดารงเผ่าพันธุ์ได้สืบไป ๓. ความหลากหลายของระบบนิเวศ (ecolosystem diversity) หมายถึง สภาวะ แวดล้อมที่เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆรวมไปถึงสิ่งไม่มีชีวิตอื่นๆ ซึ่งจัดเป็นปัจจัยทาง กายภาพ ได้แก่ อุณหภูมิ ความชื้น ดิน น้าเป็นต้นระบบนิเวศแต่ละระบบเป็นแหล่งของถิ่นที่อยู่อาศัย (habitat)ของสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ โจ เนลสันจากแสตมฟอร์ด เวอร์จิเนียเป็นผู้ทาให้วลี "วัฒนธรรมและความหลากหลาย" เป็นที่รู้จักแพร่หลายในช่วงที่เขาอยู่ในแอฟริกา เป็นที่ถกเถียงกันว่าความแตกต่างเหล่านี้ เป็นเพียงสิ่ง มนุษย์สร้างที่เกิดขึ้น วัฒนธรรม (Culture) หมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิง สัญลักษณ์ที่ ทาให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสาคัญ วิถีการดาเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิต สร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม
  • 10. การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้า บริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่า วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่ า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมายรวมถึง กระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทาให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ในสายตาของนัก มานุษยวิทยาจึงรวมไปถึงเทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีลธรรม ท้องถิ่นนิยม (Local lism) หมายถึง พันธะผูกพันทางอารมณ์ที่มนุษย์ทั้งในระดับปัจเจก บุคคล และระดับกลุ่มมีต่อถิ่นที่อยู่อาศัย ประวัติศาสตร์ วิถีชีวิต ประเพณี สัญลักษณ์และอัตลักษณ์ ทางวัฒ นธรรมต่างๆ ของตนเอง ซึ่ งหาใช่มี ความหมายเพียงหน่ว ยในการตั้งถิ่ นฐานตามเขตการ ปกครองเท่านั้น กระบวนการท้องถิ่นนิยมที่เกิดขึ้นและกาลังเคลื่อนไหวในปัจจุบันพบได้ในหลากหลาย แง่มุมด้วยกัน บ้างใช้เพื่อเรียกร้องการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บ้างรณรงค์ให้ ชุมชนหันมาอนุรักษ์หวงแหนวัฒนธรรมพื้นถิ่น (ภาษา, การแต่งกาย, ขนบธรรมเนียมปฏิบัติ , สถาปั ต ยกรรมท้องถิ่น ฯลฯ) หรื อ การที่พ รรคการเมืองบางพรรคนัก การเมื องบางคนเอามาเป็ น ประเด็นสาคัญในการหาเสียง แม้กระทั่งในเกมกีฬาก็ไม่มีข้อยกเว้นแต่อย่างใด การปรับตัว (Adaptation) นักจิตวิทยาได้ให้ความหมายการปรับตัวพอสรุปได้ดังนี้ ๑. มาล์ม และเจมิสัน (Malm & Jamison) กล่าวว่า การปรับตัว หมายถึง วิธีการที่ คนเราปรับตัวให้เป็นไปตามความต้องการของตัวเอง ในสภาพแวดล้อม ซึ่งบางครั้งส่งเสริม บางครั้ง ขัดขวาง และบางครั้งสร้างความทุกข์ทรมานแก่เรา กระบวนการปรับตัวนี้ เกิดขึ้นจากความจริงที่ว่า มนุษย์ทุกคนมีความต้องการและเราสามารถใช้วิธีการแบบต่าง ๆ ในการดาเนิน การเพื่อให้บรรลุถึง ความต้ อ งการนั้ น ๆ ในสภาวะแวดล้ อ มที่ ป กติ ธ รรมดา หรื อ มี อุ ป สรรคขั ด ขวางต่ า ง ๆ กั น ไป ๒. ลาซารัส (Lazarus) กล่าวว่า การปรับตัว ประกอบขึ้นด้วยกระบวนการหรือวิธีการ ทั้ ง หลายทางจิ ต ซึ่ ง มนุ ษ ย์ ใ ช้ ใ นการเผชิ ญ ข้ อ เรี ย กร้ อ งหรื อ แรงผลั ก ดั น ภายนอกและภายใน ต่อมาในปี ๑๙๘๑ โคลแมน และแฮมแมน (Coleman and Hamman) กล่าวว่า การ ปรับตัว หมายถึง ผลของความพยายามของบุคคลที่พยายามปรับสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นแก่ตนเอง ไม่ว่า ปั ญ หานั้ น จะเป็ น ปั ญ หาด้ า นบุ ค ลิ ก ภาพ ด้ า นความต้ อ งการหรื อ ด้ า นอารมณ์ ใ ห้ เ หมาะสมกั บ สภาพแวดล้อม จนเป็นสถานการณ์ที่มีบุคคลนั้นสามารถอยู่ในสภาพแวดล้อมนั้นๆ เช่ น เดี ย วกั บ พจนานุ ก รมทางพฤติ ก รรมศาสตร์ ได้ ใ ห้ ค วามหมายของการปรั บ ตั ว ว่ า ๑. เป็นความสัมพันธ์ที่สอดคล้องระหว่างสภาพแวดล้อมกับความต้องการของตนเองทั้ง ทางด้านร่างกายและจิตใจ ๒. เป็นการปรับ และเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ จาเป็น เพื่อสนองความต้องการและความ พึงพอใจอย่างสูงสุด โดยสร้างความสัมพันธ์ที่กลมกลืนกับสภาพแวดล้อม
  • 11. ๑๑ ทุนนิยม (Capitalism) หมายถึง ระบบเศรษฐกิจที่ซึ่งผลิตภัณฑ์และสินค้ามีการจาหน่าย แลกเปลี่ยนซื้อขายโดยทางเอกชน บริษัท หรือกลุ่มธุรกิจ เพื่อสร้างผลกาไรให้กับหน่วยงาน โดยการ แลกเปลี่ยนสินค้าและการบริการ ที่มีการรองรับทางกฎหมายและมีการแข่งขันการในเชิงการค้าเพื่อ ทากาไรสูงสุด ซึ่งไม่ได้ควบคุมโดยหน่วยงานกลางหรือจากทางรัฐบาล หรือ ทุนนิยม (Capitalism) หมายถึ ง ระบบเศรษฐกิ จ ที่ น ายจ้ า งคื อ เจ้ า ของปั จ จั ย การผลิ ต อั น ได้ แ ก่ ที่ ดิ น ทุ น และการ ประกอบการ โดยมีเป้าหมายอยู่ที่ผลกาไรสูงสุด โดยใช้ปัจจัยการผลิตน้อยที่สุด ส่ว นแรงงานมีฐานะ เป็นเพียงปัจจัยการผลิตอย่างหนึ่ง แรงงานจึงต้องพึ่งพานายจ้าง และด้วยจานวนแรงงานที่มีอย่าง มากมาย จึงมักถูกกดขี่อย่างไร้มนุษยธรรม ระบบทุนนิยมมีลักษณะที่สาคัญดังนี้ ๑. การมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินส่วนบุคคลเป็นปัจจัยที่สาคัญ ซึ่งหมายความรวมถึงการ อนุญาตให้เอกชนสามารถถือครองทรัพย์สินได้มากเท่าที่จะหามาได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย ๒. การแข่งขันเสรี ลัทธิทุนนิยมสนับสนุนให้มีการแข่งขันเสรี ซึ่งจะทาให้ผู้ขายเสนอราคาที่ เหมาะสมที่สุดด้วยศักยภาพการผลิตที่ดีที่สุด คนที่ไม่เหมาะสมกับการผลิตประเภทนั้น ๆ จะถูกกดดัน ออกจากตลาดและเหลือแต่ผู้ผลิตที่มีประสิทธิภาพ ๓. ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบตลาด ซึ่งหมายถึงระบบที่อนุญาตให้เอกชนสามารถลงทุนในการ ผลิ ตหรื อใช้จ่ ายเงิน เพื่อหาซื้อสิ น ค้าและบริการได้ตามความสามารถและความต้องการ โดยไม่มี กฎระเบียบหรือข้อบังคับจากรัฐบาล โดยเชื่อว่าในที่สุดจะทาให้ราคาของสินค้าและบริการอยู่ในจุด สมดุล คือจุดที่ผู้ซื้อและผู้ผลิตมีความเห็นตรงกันว่าราคาอยู่ในช่วงที่เหมาะสม ๔. อิสระในการบริหาร ลัทธิทุนนิยมต้องการอิสระในการบริหารงานโดยปราศจากการ แทรกแซงของรัฐบาล เพราะในความคิดของพวกทุนนิยมเชื่อว่ารัฐบาลไม่มีทางเข้าใจได้หมดว่าเอกชน ต้องการอะไร ทุน นิ ย มจะกล่ าวถึง ทุน และที่ดินเป็นสมบัติส่ ว นบุคคล การตัดสิ นใจทางเศรษฐกิจเป็น กิจกรรมส่วนบุคคล ไม่ใช่การควบคุมบริหารโดยรัฐ และตลาดเสรีหรือเกือบเสรีจะเป็นตัวกาหนดราคา ควบคุมและระบุทิศทางการผลิต รวมถึงเป็นที่สร้างรายรับ บางคนกล่าวว่าระบบเศรษฐกิจในปัจจุบั น ของโลกตะวันตกคือระบบทุนนิยม ในขณะที่หลายคนมองว่าในบางประเทศก็มีระบบเศรษฐกิจเป็น เศรษฐกิจแบบผสม กล่าวคือ มีลักษณะเฉพาะของทั้งทุนนิยมและรัฐนิยม แนวคิดทุนนิยม จะมีแนวคิดตรงข้ามกับสังคมนิยม ที่มีความเห็นคัดค้านว่ากาไรที่เกิดขึ้นจะทา ให้เกิดช่องว่างทางสังคมทาให้คนที่มีฐานะมั่งคั่งรวยมากขึ้น โดยกาไรควรจะมีการแบ่งปันให้กับสังคม ในชั้นล่างลงมา ภูมิภ าค (Regional) หมายถึง บริเวณหน่วยใดหน่วยหนึ่งของพื้นแผ่นดินในโลกที่มี ลักษณะทางใดทางหนึ่งหรือหลายๆอย่างที่คล้ายคลึงกัน เช่น ในทางธรรมชาติ ทางเศรษฐกิจ ทาง วัฒนธรรม ทางการเมือง หรือมีลักษณะสาคัญที่เด่นชัดเหมือนกันอย่างใดอย่างหนึ่งจนรวมเป็นภาค เดียว บริเวณเดียวกัน และในขณะเดียวกันก็มลักษณะแตกต่างออกไป จากบริเวณใกล้เคียงโดยรอบ ี
  • 12. ประสิ ทธิ ภ าพ (Efficiency) หมายถึ ง ประสิ ทธิ ภ าพของกระบวนการเป็ นการวั ด สมรรถนะในการใช้ทรัพยากรของกระบวนการ ว่าในการทางานให้เสร็จชิ้นหนึ่ง ๆ ต้องใช้ทรัพยากร การผลิต ไปเท่าใด (Are we do it rightly) Efficiency แปลเป็นภาษาไทยว่า ‘ประสิทธิภาพ’ ใช้สาหรับแสดงความสามารถในการแปร รูป บางคนบอกว่า มันคือความสามารถเชิงทฤษฎี หรือความสามารถทางวิศวกรรม กล่าวคือ เป็นตัว แสดง ‘ความสามารถในการแปรรูปทรัพยากรที่ใช้ ไปเป็นผลผลิตปลายทาง’ การมี Efficiency ที่ สู ง แสดงถึ ง กระบวนการมี ก ารใช้ ท รั พ ยากรในการผลิ ต งานหรื อ ให้บ ริการอย่างคุ้มค่า ในทางตรงกันข้าม การมี Efficiency ที่ต่า แสดงถึงกระบวนการมีการใช้ ทรัพยากรในการผลิตงานหรือให้บริการไม่คุ้มค่า ซึ่งเกิดจากมี “ความสูญเสีย (Wastes)” เกิดขึ้นอยู่ใน กระบวนการ ประเด็นเนื้อหา ปัจจุบันอุณหภูมิโลกสูงขึ้น มีการแข่งขันในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจ ประเทศใดที่มีฐานเศรษฐกิจที่มั่นคงประเทศนั้นมักสามารถก้าวขึ้นเป็นอันดับหนึ่ง หรือเป็นประเทศ ผู้นาโลก เช่น สหรัฐอเมริกา จีน ญี่ปุ่น เป็นต้น ปรากฏการณ์ทางสังคมเหล่านั้นเป็นตัวแปรที่สาคัญ สาหรับประเทศที่กาลังพัฒนา หรือประเทศที่ด้อยพัฒนา เพราะตนไร้ทางต่อสู้ ไร้ขีดความสามารถ ไร้ สมรรถนะ ถ้าจะวัดหรือเปรียบเหมือนเส้นทางที่ทอดยาวไปข้างหน้า ประเทศที่ด้อยพัฒนาก็เหมื อนกับ ระยะทางที่ย าวแสนยาว แต่ก็ส ามารถพัฒ นาได้ซึ่งต้องใช้เวลาหลายปี มีห ลายประเทศยอมเป็น ประเทศขึ้นของประเทศที่เจริญแล้ว เพียงหวังเพื่อให้ประเทศของตนสามารถลืมตาอ้าปากได้ คนใน ประเทศไม่อดตาย เช่น ประเทศที่เคยเป็นเมืองขึ้นของตะวันตกเป็นต้น กระแสโลก อุณหภูมิโ ลก สถานการณ์โลก คาเหล่านี้คือ แนวโน้มที่เป็นสัญญาณให้คนใน สังคมได้หันมาสนใจว่า ขณะนี้ตนอยู่ตรงไหน ทาอะไรอยู่ และจะมีอะไรให้เราได้ทาต่อไป เราไม่ได้ อยู่ตัวคนเดียวเหมือนอย่างที่ทุกคนเข้าใจครั้งในอดีตอีกต่อไปแล้ว ระบบนิเวศวัฒนธรรมของคนใน สังคมกว้างขึ้น มีอีกหลายๆ สังคมกาลังเฝ้าดูเราอยู่ กาลังสารวจสภาพบริบทท้องถิ่นที่เราอาศัยอยู่ ถึ ง เวลาแล้ ว ที่ ทุ ก คนต้ อ งตระหนั ก ต้ อ งตื่ น ขึ้ น จากโลกแห่ ง ความฝั น เครื่ อ งมื อ ที่ ส าคั ญ ในการ ติดต่อสื่อสารคือภาษา (วจนภาษา) ปัจจุบันมีอุปกรณ์ที่ช่วยให้การติดต่อสื่อสารของเรามีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น คือเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลจานวนมหาศาลไว้บนโลกไซเบอร์ อยากรู้อะไรทุกคนสามารถเข้าไปศึกษาเรียนรู้ได้ตลอด สิ่งเหล่านี้เป็นกลไกในการกระชับแน่นแห่ง เวลา ผู้ ค นในสั ง คมทุก ระดั บ ชั้ น ก็ เ ริ่ม มี วิ ถี ชีวิ ต ที่ เ ปลี่ ย นไป ทุ ก คนมี โ ลกส่ ว นตั ว มากขึ้ น มากจน กลายเป็นโลกเสมือนจริง สามารถทาให้คนๆ นั้นร้องไห้ ดีใจ เสียเงิน ร่ารวย มีเพื่อน และมั่วสุม ฯลฯ ได้หมด ฉะนั้น บทความเรื่องนี้ผู้เขียนพยายามนาเสนอข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นบนโลกใบนี้ โดยเลือก เฉพาะท้องถิ่นในภูมิภาคอุษาคเนย์ คือประเทศไทยและท้องถิ่นโดยรอบเป็นหลัก ซึ่งอาจจะไม่ครบทุก ประเด็น ปัญหา แต่พยายามให้ครอบคลุมให้ได้มากที่สุ ด ซึ่งได้แยกเป็นประเด็นต่างๆ เพื่อง่ายต่อ
  • 13. ๑๓ การศึกษาและเป็นการตอกย้าให้ชัดในประเด็นนั้น ในตอนท้ายของบทความผู้เขียนได้เสนอยุทธศาสตร์ เพื่อความอยู่รอด หรือเพื่อให้ท้องถิ่นสามารถคงอยู่ไม่ถูกกระแสโลกานุวัตน์กระทบเกินไป บริบทและแนวโน้มท้องถิน ่ อัตราส่วนระหว่างน้ากับพื้นดินบนโลกใบนี้ย่อมไม่เท่ากัน น้าย่อมมากกว่าในอัตราส่วน ๓ ต่อ ๑ ส่วน ดังนั้น พื้นดินที่เราอาศัยอยู่นี้จริงๆ แล้วน้อยมาก แต่กระนั้นผู้คนที่อาศัยอยู่ก็ไม่ล้นพื้นดิน สักที ตามลักษณะของพื้นดินมีความแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับสภาพดิน ฟ้า อากาศ น้า บริเวณใดที่ ติดกับท้องทะเล พื้นดินแถบนั้นก็จะเป็นหาดเป็นชายฝั่งไปตามแนวของทะเล บริเวณใดที่มีสภาพ อากาศดีมีฝนตกต่อเนื่ อง บริ เวณนั้นจะมีสภาพเป็นป่ามีความอุดมสมบูรณ์ด้ว ยระบบนิเวศต่างๆ บริเวณใดที่มีสภาพอากาศที่ร้อนระอุฝนตกไม่มากนัก บริเวณนั้นก็จะเป็นที่โล่งมีสภาพเป็นทะเลทราย ตอนกลางวันอากาศร้อนกลางคืนอากาศเย็นยะเยือก ลักษณะที่แตกต่างกันเช่นนี้จึงต้องมีการแบ่งเป็น โซนตะวันออกตะวันตกโดยถือเอาเส้นศูนย์สูตเป็นหลัก และแบ่งย่อยไปอีกเป็นทวีป เป็นประเทศใน ประเทศก็มีการแบ่งเป็นภูมิภาคตามลักษณะของภูมิศาสตร์ ในภูมิภาคก็มีการแบ่งเป็นท้องถิ่น เป็น ชุมชน ตามพื้นที่ๆ มีผู้คนอาศัยอยู่ ท้องถิ่นจึงหมายถึงลักษณะของพื้นที่อาศัยของผู้คนในพื้นที่ดั้งเดิม เป็นชุมชนเก่า มีวัฒนธรรมแบบเดียวกัน มีระบบนิเวศวัฒนธรรมที่ เหมือนกัน ดังนั้น คาว่าท้องถิ่น จะมุ่งเอาเฉพาะกลุ่มเล็กๆ ไม่ได้ คาว่าท้องถิ่นอาจแทนชื่อประเทศก็ได้ เช่นท้องถิ่นไทย ก็หมายถึง ประเทศไทยหรือคนไทยนั่นเอง ในอดีตประเทศทั้งหลายในอาณาบริเวณลุ่มแม่น้าโขง หรือที่มีชื่อเรียกกลุ่มประเทศอินโดจีน (อินโดไชน่า) เป็นประเทศปิด คือขาดการติดต่อกับนานาประเทศที่อยู่ไกลออกไปฝั่งซีกโลกตะวันตก มี ระบบการปกครอง ระบบการเมือง ระบบเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ที่เป็นของตนและเราก็พอใจกับสิ่งที่ เราเป็นอยู่อย่างมาก ตัวอย่างเช่น การแต่งกายเมื่อก่อนกับสมัยปัจจุบันนี้แตกต่างกันอย่างชัดเจนที่สุด เป็นเพราะสังคมมีการปรับตัว และอีกอย่างวัฒนธรรมจากตะวันตกที่มีความเชื่อว่าตนเป็นโลกที่เจริญ แล้วแพร่กระจายมา บริบทหลักของท้องถิ่นในอดีต คือ :๑. การเมือง ระบบการเมืองการปกครองในอดี ตเป็ นลั กษณะพ่ อปกครองลู ก (พ่ อขุน ) เรียกว่า การปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราช คนในท้ องถิ่นมีปัญหาอะไรสามารถไปเคาะระฆังหน้า กาแพงเมืองได้ตลอดเวลา กษัตริย์ก็จะออกมาว่าความหรือคลายความทุกข์โศรกให้ กษัตริย์จะมี บทบาทสาคัญมีหน้าที่สู้รบขยายอาณาเขตการปกครองไปได้เท่าไหร่ยิ่งเป็นการดี นโยบาย (Policy) การปกครองในลักษณะนี้ดูเหมืองเป็นสังคมนิยมแต่ไม่ใช่ เป็นการมุ่งให้อาณาประชาราษฎร์มีความอยู่ ดี ผู้คนในท้องถิ่นมีลักษณะเป็นท้องถิ่นนิยม ซึ่งมีพัฒนาการไปเป็นกฎ หรือจารีตประเพณีในที่สุด ๒. เศรษฐกิจ ฐานเศรษฐกิจที่ดีที่สุดในยุคนี้คือ การทานา การเพาะปลูกเลี้ยงสัตว์ เช่น โค กระเบื อ หมู ไก่ เป็ ด เป็ น ลั ก ษณะเศรษฐกิ จ ครั ว เรื อน หรื อถ้ าเป็ นสมัย ใหม่ เรี ย กว่ า “เศรษฐกิ จ สร้างสรรค์ (Creative Ecology)” คือการสร้างเศรษฐกิจบนพื้นฐานวัฒนธรรม (Culture) ภูมิปัญญา และทุนทางสังคม (Social Capital) ที่คนในท้องถิ่นมี ดังคากล่าวในศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงว่า
  • 14. “ใครใคร่ค้าค้า ใครใคร่ปลูกปลูก ” เป็นต้น หรือ “ในน้ามีปลาในนามีข้าว” และกลุ่มประเทศต่างๆ ใกล้เคียงกับท้องถิ่นไทยก็มีลักษณะทางเศรษฐกิจที่เหมือนกัน ที่เห็นได้ชัดเจนที่สุด คือชุมชนใดอยู่ใกล้ แม่น้า ชุมชนนั้นก็จะมีอาชีพหาปลา เพาะปลูก ที่เกี่ยวข้องกับน้าเป็นหลัก ชุมชนใดที่อยู่ใกล้ป่าก็จะมี อาชีพหาของป่า ล่าสัตว์ ใครที่มีที่ทากินก็จะมีอาชีพเพาะปลูกทากสิกรรมและเกษตรกรรม ส่วนใครที่ ไม่มีอะไรเลยป่าไม่มี น้าก็ไม่มี ที่ก็หายาก มีเพียงสมองกับสองมือก็จะผันตัวเองเป็นพ่อค้าวาณิชย์ (เชื้อ สายจีนโพ้นทะเล) ๓. สาธารณสุข ในอดีตระสาธารณสุขยังไม่ดี หมอที่เป็นมืออาชีพยังหายาก จะมีก็แต่หมอ พื้นบ้านใช้ภูมิปัญญาที่ตนมี อาศัยการเรียนรู้จากธรรมชาติ อาศัยระบบนิเวศวัฒนธรรม (Culture Ecology) ในการรักษาบูรณาการ (Integration) เข้ากับหลักความเชื่อ เช่น ผี เจ้าป่า ขวัญ ภูมิ เจ้าที่ เป็นต้น การรักษาผู้ป่วยสมัยก่อนใช้ ความหลากหลาย (Diversity) วิธี จากสิ่งต่างๆ เช่น สัตว์ ต้นไม้ วัชพืช ลม อากาศ ฝน ถ้าถึงขั้นที่สุดรักษาไม่ได้ก็ถือเป็นเรื่องของผี หรือกรรม ทุกคนก็สามารถทาใจ ยอมรับได้ ๔. การศึกษา คนสามัญชนทั่วไปไม่มีโอกาสได้รับการศึกษา รัฐไม่มี นโยบาย (Policy) เพื่อ การศึกษาสาหรับราษฎร์ภายในประเทศ เห็นได้จากชาวบ้านที่มีถิ่นอาศัยอยู่รอบนอกเมือง ที่มีอายุ ๘๐ ปี ขึ้นไป จะไม่มีโอกาสได้เรียนหนังสือ แต่ลูกเจ้านายจะได้รับการศึกษาที่ดีเท่าที่สังคมเขายอมรับ ว่าดี ปัญหาตรงนี้ถ้าพิจารณาดูให้ดีก็ไม่น่าเสียใจอะไร เพราะสภาพบริบท (Context) ที่อาศัยอยู่ยัง ห่างไกลความเจริญมาก การสัญจรไปมาก็ยากเพราะอยู่ในป่าในเขา เปรียบเทียบดูแล้วจากอดีตมาสู่ ปัจจุบันที่คนไทยมีการศึกษาจนทุกวันนี้ก็ยังไม่สายเกินใจ ส่งผลให้คนสมัยก่อนมีความสามารถในการ ด ารงชี พ แต่ ไ ม่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการแข่ ง ขั น กั บ โลกภายนอก ท าให้ ปั จ จุ บั น ระบบ ทุ น นิ ย ม (Capitalism) การแพร่กระจาย (Diffusion) เข้ามามีบทบาทกล่อมเกลาผู้คนในสังคม ส่วนหนึ่งก็มา จากการศึกษาของคนภายในชาตินั่งเอง ๕. ศาสนาและความเชื่อ ผี คือผู้ที่คนในสังคมดั้งเดิมรู้จักและเชื่อว่าถ้าดูแลผีดีชีวิตของตน และครอบครัวก็จะดีขึ้น ศาสนาที่มีบทบาทสาคัญในยุคสมัยนี้ คือพราหม ฮินดู ส่วนพุทธศาสนาเฉพาะ ในท้อ งถิ่น ไทยนั้ น พุท ธเถรวาทมีบทบาทส าคัญ ส่ ว นในภูมิ ภ าค (Regional) อื่น ๆ เป็นแบบพุท ธ มหายาน ในประเทศไทยก่อนที่พุทธเถรวาทจะเข้ามานั้น คนในท้องถิ่นมีความนิยมนับถือผี เช่นผีป่า ผี เรือน ผีบรรพบุรุษ ซึ่งแสงดออกในรูปพิธีกรรมต่างๆ เช่นแซนโฎนตา การเซ่นไหว้ดวงวิญญาณ เมื่อ พุทธศาสนาเข้ามามีบทบาท ความคิดความเชื่อก็เริ่มเปลี่ยน และในที่สุดพุทธศาสนามีส่วนในการ ดาเนินชีวิตของผู้คนในภูมิภาคนี้ได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะหลักคาสอนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ เป็นความจริง มีปัญญา แทนที่จะสอนให้คนงมงายเชื่อแบบเดิม ๖. วัฒนธรรม ของคนในท้องถิ่นมีการปรับตัวครั้งใหญ่ หลังจากที่พระพุทธศาสนาเข้ามา แทนที่ความเชื่อแบบเดิม พุทธศาสนาได้พัฒนาคนให้เป็นคนที่รู้จักบาป-บุญ คุณ-โทษ รู้จักผู้ใหญ่ รู้คุณของพ่อแม่ ครูบาอาจารย์ ศาสนาได้ล้อมรวมน้าใจของคนในสังคมให้เป็นคนอ่อนโยน มีความ เมตตา วัฒนธรรมเหล่านี้ที่ปรากฏในสังคมได้กลายเป็น ทุนทางสังคม (Social Capital) ที่ได้รับการ แพร่กระจาย (Diffusion) ไปทั่วโลกด้วยสื่อเทคโนโลยีต่างๆ เป็นวาทกรรม (Discourse) ที่คนในสังคม เห็นพ้องต้องกันว่า ถ้าจะอยู่ในสังคมหรือท้องถิ่นนี้ทุกคนจะต้องปฏิบัติตนแบบนี้ๆ