SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 24
พระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา ๒๕๔๗
ให้ไว้
๒๑ ธันวาคม พ.ศ.
๒๕๔๗
เป็นปีที่ ๕๙
ตรา
พรบ.ขึ้นไว้
โดย
คำาแนะนำาและยินยอม
ของรัฐสภา
รักษาการ
ตามพระ
ราชบัญญัติ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ศึกษาธิการ
ความหมาย
คำา หมายความว่า
ข้าราชการ
ครูและ
บุคลากร
ทางการ
ศึกษา
บุคคลซึ่งได้รับการ
บรรจุและแต่งตั้งตามพ
ระราชบัญญัตินี้ให้รับ
ราชการโดยได้รับเงิน
เดือนจากเงินงบ
ประมาณแผ่นดิน งบ
บุคลากรที่จ่ายใน
ลักษณะเงินเดือนใน
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงการท่องเที่ยว
และกีฬา กระทรวง
วัฒนธรรม หรือ
กระทรวงอื่นที่กำาหนด
ในพระราชกฤษฎีกา
ข้าราชการ
ครู
ผู้ที่ประกอบวิชาชีพซึ่ง
ทำาหน้าที่หลักทางด้าน
การเรียนการสอนและ
ส่งเสริมการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนด้วยวิธีการต่างๆ
ในสถานศึกษาของรัฐ
คณาจารย์ บุคลากรซึ่งทำาหน้าที่
หลักทางด้านการสอน
และการวิจัยในสถาน
ศึกษาระดับอุดมศึกษา
ระดับปริญญาของรัฐ
บุคลากร
ทางการ
ศึกษา
ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้
บริหารการศึกษา รวม
ทั้งผู้สนับสนุนการ
ศึกษาซึ่งเป็นผู้ทำา
หน้าที่ให้บริการ หรือ
ปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่อง
กับการจัดกระบวนการ
เรียนการสอน การ
นิเทศ การบริหารการ
ศึกษา และปฏิบัติงาน
อื่นในหน่วยงานการ
ศึกษา
คำา หมายความว่า
วิชาชีพ วิชาชีพ ครู
บริหารการ
ศึกษา
บุคลากร
ทางการศึกษาอื่น
หน่วย
งานการ
ศึกษา
(๑) สถานศึกษา
(๒) สำานักงานเขตพื้นที่การ
ศึกษา
(๓) สำานักงานการศึกษานอก
โรงเรียน
(๔) แหล่งการเรียนรู้
(๕) หน่วยงานตามกฎหมาย
สถาน
ศึกษา
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
โรงเรียน ศูนย์การศึกษา
พิเศษ ศูนย์การศึกษานอก
ระบบและตามอัธยาศัย
ศูนย์การเรียน วิทยาลัย
วิทยาลัยชุมชน สถาบัน
หรือสถานศึกษาที่เรียกชื่อ
อย่างอื่นของรัฐที่มีอำานาจ
หน้าที่หรือมีวัตถุประสงค์
ในการจัดการศึกษาตาม
กฎหมายว่าด้วยการศึกษา
แห่งชาติและตามประกาศ
กระทรวง
รัฐมนตรี
เจ้าสังกัด
รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ในกระทรวงที่มีข้าราชการ
ครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาอยู่ในสังกัด
หมวด ๑
คณะกรรมการบริหารงานบุคคล
ของข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา
เรียกโดย
ย่อว่า
ก.ค.ศ. / 31 คน
ประกอบด้วย
ประธาน 1
รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ศึกษาธิการ
รองฯ 1
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
กรรมการ
โดย
ตำาแหน่ง
8 คน
1.เลขาธิการฯ สพฐ.
2. เลขาธิการฯอาชีวะ
3.เลขาธิการฯอุดมศึกษา
4. เลขาธิการคุรุสภา
5.เลขาธิการ ก.พ.
6.เลขาธิการฯ ก.ค.ศ.
7.ปลัด ก.การท่องเที่ยว
8.ปลัด ก.วัฒนธรรม
กรรมการผู้
ทรงฯ 9 คน
อายุ 35-70
ปี
-ไม่เมือง
-ไม่อปท.
-ไม่จนท.
-ยอมรับ
ซื่อ/ยุติ/ไม่
เสื่อมจริ/
จรร
หลายด้าน(ด้านละ 1 คน)
1.การศึกษา
2.ผลิต/พัฒนาครู
3.กฏหมาย
4.บริหารงานบุคคล
5.บริหารการจัดการภาค
รัฐ.
6. บริหารอง์กร
7.การศึกษาพิเศษ
8.บริหารธุรกิจ
9.เศรษฐศาสตร์
กรรมการผู้
แทน
ข้าราชการ
ครูและ
บุคลากร
ทางการ
ศึกษา
(มาจาก
เลือกตั้ง)
เลือกตั้ง 12 คน
1.ผู้แทน ผอ.สนง.เขต
พื้นที่
- ประถม
- มัธยม
2.ผู้แทนผู้บริหารการ
ศึกษา+ผู้บริหารสถาน
ศึกษา
- ประถม
- มัธยม
3.ผู้แทนข้าราชการครู
- ประถม
- มัธยม
4.ผู้แทนบุคลากรทางการ
ศึกษา
- ประถม
- มัธยม
เลขานุการ
เลขาธิการ ก.ค.ศ.
ผู้ช่วย
เลขานุการ
ไม่เกิน 2
คน
ให้เลขาธิการ ก.ค.ศ.
แต่งตั้งข้าราชการใน
สำานักงาน ก.ค.ศ. เป็น
** แถม **
กรรมการผู้
ทรงฯ
+
กรรมการผู้
แทนข้า
ราชการ
ครูฯ
* มีวาระคราวละ 4 ปี
* ติดต่อกันเกิน 2 วาระ
ไม่ได้
* ว่าง=เลือกภายใน 60
วัน
*เว้นแต่เหลือไม่ถึง 90
วัน เลือก/ไม่เลือก
ก็ได้(อยู่เท่ากับวาระที่
เหลืออยู่)
คุณสมบัติ
ตำาแหน่ง คุณสมบัติ
1.กรรมการ
ผู้ทรงฯ
1.สัญชาติไทย
2.อายุไม่ตำ่ากว่า 35 –
ไม่เกิน 70 ปี
3.ไม่เมือง/อปท./จนท.
4.ยอมรับ/ซื่อ/ยุติ/ไม่
เสื่อมจริ/จรร/อาชีพ
2.กรรมการ
ผู้แทน
1.มีใบประกอบวิชาชีพ/
ไม่พัก/เพิก
ผอ.สนง.เข
ตพื้นที่ฯ
2.ยอมรับ ซื่อสัตย์ / ยุติ
ฯ
3.กรรมการ
ผู้แทนผู้
บริหาร
สถาน
ศึกษาและ
ผู้บริหาร
สถานศึกษา
1.มีใบประกอบวิชาชีพ/
ไม่พัก/เพิก
2.มีประสบการณ์ไม่น้อย
กว่า 15 ปี
3.ยอมรับ ซื่อสัตย์ ฯ
4.กรรมการ
ผู้แทน
บุคลากรทา
งกศษ.
1.ไม่ตำ่ากว่า ป.ตรี
2.มี ปสก.ด้านสนับสนุน
กศษ.ไม่น้อยกว่า 15 ปี
3.ยอมรับ ซื่อสัตย์ ฯ
การพ้นจากตำาแหน่ง
ตามวาระ
ตำาแหน่ง การพ้นจากตำาแหน่ง
1.กรรมการผู้
ทรงฯ
1.ตาย 2.ลาออก 3.
ละลาย
4.ไร้/เสมือนไร้
5.ขาดคุณฯม.8
6.จำาคุก-ถึงที่สุด/เว้น
ประมาท/ลหุ
2.กรรมการผู้ 1.ตาย 2. ลาออก
แทนข้าราช
การครูฯ
3.พ้นจากการเป็นข้า
ราชการครูฯ
4.ขาดคุณฯ
ม.9,10,11,12
5.ถูกถอดถอนโดย
ร.ม.ต.ตามมติ
ก.ค.ศ.ด้วยคะแนน
เสียงไม่น้อยกว่า 2
ใน 3
การประชุม ก.ค.ศ.
1.กรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่ง
หนึ่งของจำานวนกรรมการทั้งหมดจึง
จะเป็นองค์ประชุม
2.ประธานกรรมการไม่อยู่
- ให้รองฯทำาหน้าที่แทน
- ถ้าไม่มีรอง/หรือมีแต่ไม่สามารถฯ ให้
ที่ประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งทำา
หน้าที่เป็นประธาน
3.ถ้ามีการพิจารณาเรื่องเกี่ยวกับตัว
ก ร ร ม ก า ร ผู้ ใ ด /มี ส่ ว น ไ ด้ เ สี ย
ก ร ร ม ก า ร ผู้ นั้ น ไ ม่ มี สิ ท ธิ เ ข้ า
ประชุม
4.การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้
ถือเสียงข้างมาก
5.คะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่
ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่ง
เป็นเสียงชี้ขาด
ก.ค.ศ. มีอำานาจและหน้าที่ดังต่อ
ไปนี้
1. เสนอแนะ/ให้คำาปรึกษาแก่ค
รม.เกี่ยวกับนโยบายฯ
2. กำาหนดนโยบาย วาง/กำาหนดเกณฑ์
อัตรากำาลัง
3. เสนอแนะ/ให้คำาปรึกษาแก่ค
รม.กรณีค่าครองฯสวัสดิฯ
4. ออกกฎ ก.ค.ศ. ระเบียบ ข้อบังคับ
หลักเกณฑ์ วิธีการ
5. พิจารณาวินิจฉัยตีความปัญหาที่เกิด
ขึ้นพรบ.นี้
6. พัฒนาหลัก/ วิธีการ /มตฐ.การ
บริหารงานบุคคล
7. กำาหนดวิธีการและเงื่อนไขการจ้าง
เพื่อบรรจุและแต่งตั้ง
8. ส่ง/ สนับสนุนการพัฒนา /สร้าง
ขวัญ/ ยกย่องเชิดชู
9. ส่ง/ สนับสนุนให้มีการจัดสวัสดิการ
และสิทธิประโยชน์
10. พิจารณาตั้ง อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่
การศึกษา และคณะอนุกรรมการอื่น
เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่ ก.ค.ศ. มอบ
หมาย
11. ส่ง/สนับ/ประสาน/ให้คำาปรึกษา แก่
หน่วยงานกศษ.
12. กำาหนดมตฐ. พิจารณา การดำาเนิน
การทางวินัย /ออก/อุทธรณ์/ร้องทุกข์
13. กำากับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบ/
ประเมินผลการบริหารงานบุคคล
14. รายงานและเสนอแนะต่อรัฐมนตรี
เจ้าสังกัดในกรณีที่ปรากฏว่าส่วน
ราชการ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา
คณะอนุกรรมการ หรือผู้มีหน้าที่ปฏิบัติ
ตามพระราชบัญญัตินี้ ไม่ปฏิบัติตามพ
ระราชบัญญัตินี้ หรือปฏิบัติการโดยขัด
แย้งกับแนวทางตามที่กำาหนดในพระ
ราชบัญญัตินี้
15. พิจารณารับรองคุณวุฒิของผู้ได้
รับปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
หรือคุณวุฒิอย่างอื่นเพื่อประโยชน์ใน
การบรรจุและแต่งตั้งเป็นข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา และการ
กำาหนดอัตราเงินเดือนหรือค่าตอบแทน
ที่ควรได้รับ
16. กำาหนดอัตราค่าธรรมเนียม
17. พิจารณาจัดระบบทะเบียน
ประวัติการเกษียณอายุ
18. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามพรบ. หรือตาม
กฎหมายอื่น
ชื่อสำานักงาน ตัวย่อ
สำา นั ก ง า น ค ณ ะ
ก ร ร ม ก า ร
ข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการ
ศึกษา
สำา นั ก ง า น
ก.ค.ศ.
เ ลข าธิ กา ร ค ณ ะ
ก ร ร ม ก า ร
ข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการ
ศึกษา
เ ล ข า ธิ ก า ร
ก.ค.ศ.
* มี ฐ า น ะ เ ป็ น
อธิบดี
* เป็นผู้บังคับ
บัญชาข้าราชการ
และบริหาร
ราชการของ
สำานักงานคณะ
กรรมการ
ข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการ
ศึกษา
คณะอนุกรรมการ
ข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการ
ศึกษาประจำา เขต
พื้นที่การศึกษา
อ .ก .ค .ศ .เ ข ต
พื้นที่การศึกษา
อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษามี
อำานาจและหน้าที่
1. พิจารณากำาหนดนโยบายการ
บริหารงานบุคคลในเขตฯ/กำาหนด
จำานวน/อัตราตำาแหน่งและเกลี่ยอัตรา
กำาลัง
2. พิจารณาให้ความเห็นชอบการ
บรรจุและแต่งตั้งในเขตฯ
3. ให้ความเห็นชอบ/พิจารณาความดี/
ชอบ
4. พิจารณาวินัย /ออก/อุทธรณ์ /ร้อง
ทุกข์
5. ส่ง/สนับสนุนการพัฒนา การเสริม
สร้างขวัญฯ
6. กำากับ ดูแล ติดตาม/ประเมินผลการ
บริหารงานบุคคล
7. จัดทำา/พัฒนาฐานข้อมูลข้าราชการ
ครูฯ
8. จัดทำารายงานประจำาปีที่เกี่ยวกับ
การบริหารงานบุคคล
9.พิจารณาให้ความเห็นชอบเรื่องการ
บริหารงานบุคคล
10.ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามพระราช
บัญญัตินี้
ผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่
เป็นผู้บริหารราชการในสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษาและเป็นผู้บังคับ
บัญชาของข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา
และ
มีอำานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
1. รับผิดชอบในการปฏิบัติงาน
ราชการที่เป็นอำานาจและหน้าที่ของ
อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาและตามที่
อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษามอบ
หมาย
2. เสนอแนะการบรรจุและแต่งตั้ง /การ
บริหารงานบุคคล
3. พิจารณาเสนอความดี/ชอบ
4. จัดทำาแผนและส่งเสริมการพัฒนาข้า
ราชการครูฯ
5. จัดทำาทะเบียนประวัติข้าราชการ
ครูฯ
6. จัดทำามตฐ.คุณภาพงาน /ภาระงาน
ขั้นตำ่า /เกณฑ์
7. ประเมินคุณภาพการบริหารงาน
บุคคล/จัดทำารายงาน
8. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามพระราชบัญญัติ
นี้
คณะกรรมการสถานศึกษา
มีอำานาจและหน้าที่
1. กำากับ ดูแลการบริหารงานบุคคลใน
สถานศึกษา
2.เสนอความต้องการจำานวนและอัตรา
ตำาแหน่ง
3. ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหาร
งานบุคคลต่อ ผอ.
4. ปฏิบัติหน้าที่อื่นฯ
ผู้บริหารสถานศึกษา
เป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษาในสถาน
ศึกษา และมีอำานาจและหน้าที่ ดังต่อไป
นี้
1. ควบคุม ดูแลให้การบริหารงาน
บุคคลในสถานศึกษา
2. พิจารณาเสนอความดีความชอบ
ของข้าราชการครูฯ
3. ส่ง/สนับสนุนข้าราชการครูฯให้มี
การพัฒนาต่อเนื่อง
4. จัดทำามตฐ. ภาระงานสำาหรับข้าราช
การครูฯ
5. ประเมินผลการปฏิบัติงานตามมตฐ.
6. ปฏิบัติหน้าที่อื่น
หมวด ๒ บททั่วไป
การดำาเนินการตามพระราชบัญญัตินี้
ให้เป็นไปตามหลักการบริหาร
กิจการบ้านเมืองที่ดีโดยยึดถือ
1.ระบบคุณธรรม
2.ความเสมอภาคระหว่างบุคคล
3.หลักการได้รับการปฏิบัติและการ
คุ้มครองสิทธิอย่างเสมอภาคเท่าเทียม
กัน
ผู้ประกอบวิชาชีพครูและบุคลากร
ทางการศึกษา
ต้องมีคุณสมบัติทั่วไป ดังต่อไปนี้
1. มีสัญชาติไทย
2. มีอายุไม่ตำ่ากว่า 18 ปีบริบูรณ์
3. เลื่อมใส ปชต./อันมี king ฯ
4. ไม่เมือง /อปท.
5. ไม่ไร้ /ฟั่นเฟือน/ไม่
6. ไม่เป็นผู้อยู่ในระหว่างถูกสั่งพัก/
ออกจากราชการไว้ก่อน/หรือถูกสั่งพัก
/เพิกถอน
7. ไม่เป็นผู้บกพร่องในศีลธรรม
8. ไม่เป็นกก.พรรคการเมือง/เจ้าหน้าที่
ในพรรค
9. ไม่ละลาย
10. ไม่ต้องโทษจำาคุกถึงที่สุด/ เว้น
ประมาท/ลหุโทษ
11. ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก /
ปลดออก/ไล่ออก
12. ไม่เป็นผู้เคยกระทำาการทุจริตใน
การสอบเข้า
เงินเพิ่ม
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาอาจได้รับเงินเพิ่ม
กรณี ความเห็นชอบ
ของ
มีเหตุพิเศษตาม
ระเบียบที่ ก.ค.ศ.
กำาหนด
คณะรัฐมนตรี
ค่ า ค ร อ ง ชี พ
ชั่วคราว
ต า ม ภ า ว ะ
เศรษฐกิจ
ตามหลักเกณฑ์
แ ล ะ วิ ธี ก า ร ที่
กำา ห น ด ใ น พ ร ะ
ราชกฤษฎีกา
วันเวลาทำางาน วันหยุด
กรณี ใครกำาหนด
วันเวลาทำางาน วัน
หยุดราชการตาม
ประเพณี วันหยุด
ก.ค.ศ.
ราชการประจำาปี
และการลาหยุด
ราชการ
กรณี ก.ค.ศ. ยังมิได้
กำาหนด
ให้นำาหลัก
เกณฑ์ที่ใช้กับ
ข้าราชการ
พลเรือนมาใช้
บังคับโดย
อนุโลม
หมวด ๓
การกำาหนดตำาแหน่งวิทยฐานะ
และการให้ได้รับเงินเดือน เงิน
วิทยฐานะ และเงินประจำา
ตำาแหน่ง
ตำาแหน่งที่มีวิทยฐานะ
1.ตำาแหน่ง ครู
(๑) ครูชำานาญการ
(๒) ครูชำานาญการพิเศษ
(๓) ครูเชี่ยวชาญ
(๔) ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
2.ตำาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา
1. รองผู้อำานวยการชำานาญการ
2. รองผู้อำานวยการชำานาญพิเศษ
3. รองผู้อำานวยการเชี่ยวชาญ
4. ผู้อำานวยการชำานาญการ
5. ผู้อำานวยการชำานาญการพิเศษ
6. ผู้อำานวยการเชี่ยวชาญ
7. ผู้อำานวยการเชี่ยวชาญพิเศษ
3. ตำาแหน่งผู้บริหารการศึกษา
1. รองผอ.สนง.เขตพื้นที่กศษ.ชำานาญ
การพิเศษ
2. รองผอ.สนง.เขตพื้นที่
กศษ.เชี่ยวชาญ
3. ผอ.สนง.เขตพื้นที่กศษ.เชี่ยวชาญ
4. ผอ.สนง.เขตพื้นที่กศษ.เชี่ยวชาญ
พิเศษ
4.ตำาแหน่ง
ศึกษานิเทศก์
1. ศึกษานิเทศก์ชำานาญการ
2. ศึกษานิเทศก์ชำานาญการพิเศษ
3. ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ
4. ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญพิเศษ
5.ตำาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามที่
ก.ค.ศ. กำาหนดให้มี
ตำาแหน่งคณาจารย์ตำาแหน่งทาง
วิชาการ
1. อาจารย์
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์
3. รองศาสตราจารย์
4. ศาสตราจารย์
ตำาแหน่งข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา
มี ๓ ประเภทดังนี้
1.ตำาแหน่ง
ซึ่งมีหน้าที่
เป็นผู้สอนใน
หน่วย
งานการ
ศึกษา
1. ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
2. ครู
3. อาจารย์
4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์
5. รองศาสตราจารย์
6. ศาสตราจารย์
2.ตำาแหน่งผู้
บริหารสถาน
ศึกษาและผู้
บริหารการ
ศึกษา
1. รองผอ.สถานศึกษา
2. ผอ.สถานศึกษา
3. รองผอ.สนง.เขต
พื้นที่กศษ.
4. ผอ.สนง.เขตพื้นที่
กศษ.
5. รองอธิการบดี
6. อธิการบดี
3.ตำาแหน่ง
บุคลากร
ทางการ
ศึกษาอื่น
1. ศึกษานิเทศก์
2. ตำาแหน่งที่เรียกชื่อ
อย่างอื่นตามที่ ก.ค.ศ.
กำาหนด
1 และ 2 มีใน
หน่วยงานการ
ศึกษาใดก็ได้
3 – 6
มีใน
หน่วย
งานกา
รศึกษา
ที่สอน
ระดับ
ตำาแหน่งข้าราชการ
ครูฯ จะมีในหน่วย
งานการศึกษาใด
จำานวนเท่าใด /ใช้
คุณสมบัติอย่างใด
ให้เป็นไปตาม
ที่ ก.ค.ศ.
กำาหนด
ก.ค.ศ. จัดทำามตฐ.ตำาแหน่ง /
วิทยฐานะ/ตำาแหน่งทางวิชาการของ
ข้าราชการครูฯไว้เป็นบรรทัดฐานทุก
ตำาแหน่ง ทุกวิทยฐานะเพื่อใช้ในการ
ปฏิบัติงาน ทั้งนี้
โดยคำานึงถึง
1.มาตรฐานวิชาชีพ
2.คุณวุฒิการศึกษา
3.การอบรม
4.ประสบการณ์
5.ระยะเวลาการปฏิบัติงาน
6.คุณภาพการปฏิบัติงาน
7.ผลงานที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติ
หน้าที่
หมวด ๔
การบรรจุและการ
แต่งตั้ง
การบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็น
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา เพื่อแต่งตั้งให้ดำารงตำาแหน่งใด
ให้บรรจุและแต่งตั้งจากผู้สอบแข่งขัน
ได้สำาหรับตำาแหน่งนั้น โดยบรรจุและ
แต่งตั้งตามลำาดับที่ในบัญชีผู้สอบ
แข่งขันได้
ให้ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา เป็น
ผู้ดำาเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ
และแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็น
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา
หลักสูตร วิธีการสอบแข่งขัน และ
วิธีดำาเนินการที่เกี่ยวกับการสอบ
แข่งขัน ตลอดจนเกณฑ์ตัดสินการขึ้น
บัญชีผู้สอบแข่งขันได้ การนำารายชื่อผู้
สอบแข่งขันได้ในบัญชีหนึ่งไปขึ้น
บัญชีเป็นผู้สอบแข่งขันได้ในบัญชีอื่น
และการยกเลิกบัญชีผู้สอบแข่งขันได้
ให้เป็นไปตามที่
ก.ค.ศ. กำาหนด
ผู้ได้รับการบรรจุและแต่งตั้งฯ หากภาย
หลังปรากฏว่าผู้นั้นขาดคุณสมบัติ ให้ผู้
มีอำานาจ สั่งให้ผู้นั้นออกจากราชการ
โดยพลัน
ถ้าการเข้ารับราชการเป็นไปโดย
สุจริตแล้ว ให้ถือว่าเป็นการสั่งให้ออก
จากราชการเพื่อรับบำาเหน็จบำานาญ
เหตุทดแทนตามกฎหมายว่าด้วย
บำาเหน็จบำานาญข้าราชการ
หน่วยงานการศึกษาใดมีเหตุผลและ
ความจำาเป็นอย่างยิ่งเพื่อประโยชน์แก่
ราชการที่จะต้องบรรจุและแต่งตั้ง
บุคคลซึ่งมีความรู้ /สามารถ /ชำานาญ/
เชี่ยวชาญระดับสูงเข้ารับราชการเป็น
ข้าราชการครูฯ ให้หน่วยงานการ
ศึกษา
ดำาเนินการขอความเห็นชอบจาก
อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่กศษ.ก่อน แล้วให้
ขออนุมัติจาก ก.ค.ศ.
ตำาแหน่งเป็นสัญญาจ้างปฏิบัติงาน
รายปีหรือโดยมีกำาหนดเวลาตาม
ระเบียบที่ ก.ค.ศ. กำาหนด
โดยความเห็นชอบของกระทรวง
การคลัง หรือเป็นพนักงาน
ราชการ โดยไม่ต้องเป็น
ข้าราชการก็ได้
คณะกรรมการสรร
หาผอ.สนง.เขตพื้นที่ กศษ.
1 ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ประธานกรรมการ
2.กรรมการ
– เลขาธิการสภาการศึกษา
- เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน
- เลขาธิการคณะกรรมการการ
อาชีวศึกษา
- เลขาธิการคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา
- เลขาธิการคุรุสภา
3.เลขาธิการ ก.ค.ศ. เป็นกรรมการ
+เลขานุการ
ขรก.ครูและบุคลากรทาง กศษ.มี
วิทยฐานะใด และการเลื่อนเป็น
วิทยฐานะใดต้องเป็นไปตาม
มตฐ.วิทยฐานะ ซึ่งผ่านการ
ประเมิน ทั้งนี้ ให้คำานึงถึง
1.ความประพฤติด้านวินัย คุณ/ จริย/
จรรฯวิชาชีพ
2.ประสบการณ์
3.คุณภาพการปฏิบัติงาน
4.ความชำานาญ ความเชี่ยวชาญ
5.ผลงานที่เกิดจากการเรียน /สอน
ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ.
กำาหนด
ขรก.ครูและบุคลากรทาง กศษ.ผู้
ใดไม่ผ่านการประเมินผลการ
ปฏิบัติงานตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
ที่ ก.ค.ศ. กำาหนด ให้ดำาเนินการตาม
ความเหมาะสม ดังต่อไปนี้
1. ให้มีการพัฒนาขรก.ผู้นั้นให้ปฏิบัติ
งานมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
2. ให้ดำาเนินการในมาตรการเกี่ยวกับ
การเลื่อนขั้นเงินเดือน หรืองดเงิน
ประจำาตำาแหน่ง หรือเงินวิทยฐานะ
แล้วแต่กรณี
3. ในกรณีที่ผู้ใดไม่สามารถปฏิบัติ
ราชการให้มีประสิทธิภาพและเกิด
ประสิทธิผลในระดับที่กำาหนด ให้ผู้มี
อำานาจ สั่งให้ผู้นั้นออกจากราชการ
ผู้ใดได้รับการบรรจุ/แต่งตั้งใน
ตำาแหน่งครู ให้ผู้นั้นเตรียมความ
พร้อมและพัฒนาอย่างเข้มใน
ตำาแหน่งครูผู้ช่วย เป็นเวลา 2 ปี
ก่อนแต่งตั้งให้ดำารงตำาแหน่งครู ตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่กำาหนดในกฎ
ก.ค.ศ.
ผู้อยู่ระหว่างทดลองฯ/
เตรียมความพร้อมฯ
การโอน –
ย้าย
(เป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำาหนด)
การโอนพนักงานส่วนท้องถิ่นมาบรรจุ
และแต่งตั้งเป็นข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา กรณีต่อไปนี้
1.มิใช่พนักงานวิสามัญ
2.มิใช่ ขรก.ครูและบุคลากรทางกศษ.
3.มิใช่ข้าราชการการเมือง
*** อาจทำาได้หากบุคคลนั้นสมัครใจ
***
ขั้นตอน
1.ผู้มีอำานาจ ของหน่วยงานกศษ.ที่
ประสงค์จะรับโอนทำาความตกลงกับผู้มี
อำานาจสั่งบรรจุของส่วนราชการหรือ
หน่วยงานสังกัดเดิม
2.แล้วเสนอเรื่องให้ ก.ค.ศ. หรือ
อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ กศษ. แล้วแต่กรณี
1.ระหว่างทดลองฯ/เตรียมความพร้อม
และพัฒนาอย่างเข้ม เห็นว่าขรก.ครู
และบุคลากรทาง กศษ.ผู้ใด
1.มีความประพฤติไม่ดี
2.ไม่มีความรู้
3.ไม่มีความเหมาะสม
4.มีผลการประเมินทดลองฯ/เตรียม
ความพร้อมฯอยู่ตำ่ากว่าเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ.
กำาหนด
** โดยไม่ควรให้รับราชการต่อ
ไปก็ให้สั่งให้ผู้นั้นออกจาก
ราชการได้ ไม่ว่าจะครบกำาหนด
เวลาทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ
หรือเตรียมความพร้อมและพัฒนา
อย่างเข้มหรือไม่ก็ตาม
2.ถ้าพ้นกำาหนดเวลาทดลองฯ/เตรียม
ความพร้อมฯเห็นว่า ควรให้ผู้นั้นรับ
ราชการต่อไป ก็สั่งให้ ผู้นั้นปฏิบัติ
หน้าที่ในตำาแหน่งหรือวิทยฐานะที่จะ
ได้รับแต่งตั้งต่อไป
** ให้รายงานหัวหน้าส่วนราชกา
รผอ.สนง.เขตพื้นที่การศึกษา หรือ
อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา แล้วแต่
กรณี
3.ถูกกล่าวหาว่ากระทำาความผิด
อาญา/กระทำาผิดวินัย โดยมีมูลให้ผู้
บังคับบัญชาดำาเนินการทางวินัย
** กรณีที่จะต้องออกจากราชการ
ก็ให้ผู้มีอำานาจ สั่งลงโทษหรือสั่ง
ให้ผู้นั้นออกจากราชการ แล้วแต่
กรณี
4.ถูกสั่งให้ออกจากราชการ ใน
ระหว่างทดลองฯ/เตรียมฯ **ที่มิใช่
เป็นการถูกลงโทษ ปลดออก หรือ
ไล่ออก ให้ถือเสมือนว่าผู้นั้นไม่
เคยเป็น ขรก.ครูและบุคลากรทาง
กศษ.
อนุมัติ
** โดยให้คำานึงถึงประโยชน์ที่
หน่วยงานกศษ.นั้นจะได้รับเป็น
สำาคัญ **
** เพื่อประโยชน์ในการนับเวลา
ราชการ ให้ถือเวลาราชการหรือเวลา
ทำางานของผู้ที่โอนตามมาตรานี้ใน
ขณะที่เป็นพนักงานส่วนท้องถิ่นตาม
กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารงาน
บุคคลส่วนท้องถิ่นหรือข้าราชการอื่น
เป็นเวลาราชการของข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษาตามพระ
ราชบัญญัตินี้
ก.ค.ศ. จัดทำามาตรฐานการเปรียบ
เทียบตำาแหน่ง
ระหว่างประเภทขรก.ต่างสังกัดองค์กร
กลางบริหารงานบุคคลเพื่อประโยชน์
ในการบรรจุและแต่งตั้งให้ดำารงตำา
แหน่งเป็นขรก.ครูและบุคลากรทา
งกศษ.
- ในตำาแหน่งใด
- วิทยฐานะใด
- ให้รับเงินเดือนเท่าใด
** ทั้งนี้ เงินเดือนที่จะได้รับ จะต้องไม่
สูงกว่าข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษาที่มีคุณวุฒิ ความ
สามารถ ความชำานาญหรือความ
เชี่ยวชาญในระดับเดียวกัน
** เว้นแต่เป็นการโอนตามที่กำาหนดใน
กฎ ก.ค.ศ.
การย้าย ขรก.ครูและบุ
คลากรฯ
การย้ายขรก.ครูและบุคลากรฯผู้
ใดไปดำารงตำาแหน่ง
1.ในหน่วยงานกศษ.อื่นภายในเขต
พื้นที่กศษ.
2.ต่างเขตพื้นที่กศษ.
ขั้นตอน
1. ต้องได้รับอนุมัติจาก อ.ก.ค.ศ. เขต
พื้นที่ฯของผู้ประสงค์ย้ายและผู้รับย้าย
แล้วแต่กรณี
2.เมื่อ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ฯพิจารณา
อนุมัติแล้วให้ผู้มีอำานาจ สั่งบรรจุและ
แต่งตั้งข้าราชการผู้นั้นต่อไป
การย้าย
ตำาแหน่ง
ผู้สั่งย้าย/อนุมัติ
โดย
1.ผอ.สนง.เขตพื้นที่
ฯ
2.รองผอ.สนง.เขต
พื้นที่ฯ
เลขาธิการคณะ
กรรมการการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก.ค.ศ.อนุมัติ
1.ข้าราชการพลเรือน
สามัญ
2.ตำาแหน่งซึ่งก.ค.ศ.ยัง
มิได้กำาหนด
ก.ค.ศ.อนุมัติ
จะกระทำา ได้
เ มื่ อ
ก .ค .ศ .กำา ห น ด
ตำาแหน่งแล้ว
ให้ ก.ค.ศ. ดำาเนินการสับเปลี่ยน
หน้าที่/ย้ายตำาแหน่ง
ผอ.สนง.เขตพื้นที่กศษ. หรือตำาแหน่ง
ที่มีลักษณะบริหารตามที่ ก.ค.ศ.
กำาหนด โดยยึดหลักการให้อยู่ปฏิบัติ
หน้าที่ในตำาแหน่งใดตำาแหน่งหนึ่งดัง
กล่าวได้ไม่เกิน 4 ปี
** เว้นแต่มีเหตุผลและความจำาเป็น
เพื่อประโยชน์ของทางราชการจะให้
ปฏิบัติหน้าที่ติดต่อในคราวเดียวกันได้
คราวละหนึ่งปีแต่ต้องไม่เกิน 6 ปี
ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่
ก.ค.ศ. กำาหนด
การเลื่อนตำาแหน่งบุคลากรทางการ
ศึกษาซึ่งเป็นตำาแหน่งที่มิได้กำาหนดให้
มีวิทยฐานะเพื่อให้ได้รับเงินเดือนใน
ระดับที่สูงขึ้น ให้กระทำาได้โดย
1.การสอบแข่งขัน สอบคัดเลือก คัด
เลือก
2.ประเมินด้วยวิธีการอื่น
ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธี
การที่ ก.ค.ศ. กำาหนด
การสอบคัดเลือกหรือการคัดเลือก
อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา
หรือ
สถานศึกษาเป็นผู้ดำาเนินการ
1.หลักสูตร
2.วิธีดำาเนินการเกี่ยวกับการสอบ
3.คุณสมบัติของผู้สมัครสอบคัดเลือก
4.เกณฑ์ตัดสิน /ขึ้นบัญชี /ยกเลิก
บัญชี เป็นไปตามที่
5.วิธีดำาเนินการเกี่ยวกับการคัดเลือก
ก.ค.ศ.
6.หลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน
กำาหนด
7.การประเมินผลการปฏิบัติงาน
8.ผลงานทางวิชาการ
ผู้สอบคัดเลือกได้หรือผู้ได้รับคัดเลือก
ให้แต่งตั้งได้ตามความเหมาะสมโดย
คำานึงถึง
1.ความประพฤติด้านวินัย/คุณธรรม/
จริยธรรม/จรรฯ
2.ค ว า ม รู้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ 3.
ประสบการณ์
4.ความชำา นาญ 5.ความ
เชี่ยวชาญ
6.คุ ณ ภ า พ ข อ ง ผ ล ง า น ที่ ป ฏิ บั ติ
7.ประวัติการรับราชการ
ขรก.ครูและบุคลากรฯ ผู้ใดได้รับ
การแต่งตั้ง
ให้เลื่อนตำาแหน่ง/เลื่อนวิทยฐานะ
โดย
1.ไม่เข้าเกณฑ์มตฐ.ตำาแหน่ง /
มตฐ.วิทยฐานะ
2.ไม่ผ่านกระบวนการเลื่อนตำาแหน่ง/
เลื่อนวิทยฐานะ
ตามกม. หลักเกณฑ์ฯที่ ก.ค.ศ.
กำาหนด
3.ผู้สั่งสั่งไม่ถูกต้องหรือไม่มีอำานาจสั่ง
***ให้ผู้มีอำานาจ สั่งให้ผู้นั้นกลับไป
ดำารงตำาแหน่งหรือวิทยฐานะเดิมโดย
พลัน ***
ออกจากราชการและขอกลับ
เข้ารับราชการตามเดิม
ผู้ที่ออก – ขอกลับ หลักเกณฑ์/วิธี
การกลับ
1.ผู้ใดได้รับอนุมัติ
จากคณะ
รัฐมนตรีให้ออก
จากราชการไป
ปฏิบัติงานใด
1.นับเวลาระหว่าง
นั้นสำาหรับคำานวณ
บำาเหน็จฯเหมือน
เป็นเวลาราชการ
2. ถ้ากลับเข้ารับ
ราชการภายใน
กำาหนดเวลาที่ค
เว้นแต่ ก.ค.ศ. จะอนุมัติให้
เลื่อนตำาแหน่งหรือเลื่อน
วิทยฐานะในกรณีนั้นเป็นพิเศษ
ให้ถือว่าผู้นั้นไม่มีและไม่เคย
มีสถานภาพอย่างใดที่ได้รับ
เลื่อนตำาแหน่ง หรือเลื่อน
รม.อนุมัติแต่ไม่
เกิน 4 ปี
3.ผู้มีอำานาจสั่ง
บรรจุ/แต่งฯ
2.ถูกสั่งให้ออกฯ
เพื่อไป
รับราชการ
ทหาร
1.มิได้กระทำาการ
ใดๆ เสียหายฯร้าย
แรง/ได้ชื่อว่าเป็น
ผู้ประพฤติชั่ว
อย่างร้ายแรง
2. หากประสงค์จะ
กลับเข้าในหน่วย
งานการศึกษาเดิม
ให้ยื่นเรื่องขอก
ลับภายใน
กำาหนด 180
วันนับแต่วันพ้น
จากราชการ
ทหาร
3.ผู้มีอำานาจ สั่ง
บรรจุ/แต่งฯ
กรณีอื่นๆ
กรณี ผู้มีอำานาจสั่ง
บรรจุ/แต่งตั้ง
1.สั่งขรก.ครูฯไป
ปฏิบัติราชการใน
หน่วยงานอื่น
เป็นการชั่วคราว
ในเขตพื้นที่ฯ
ผอ.เขตฯ สั่งบรรจุ/
แต่ง
อ.ก.ค.ศ.เขตฯ
อนุมัติ
2.กรณีที่มีเหตุผล
ความจำาเป็นสั่งข
รก.ครูฯเป็นการ
ชั่วคราวพ้นจาก
1.หัวหน้าส่วน
ราชการ
2.ผอ.สนง.เขตฯ
ตำาแหน่งเดิม
หมวด ๕
การเสริมสร้างประสิทธิภาพใน
การปฏิบัติราชการ
ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ประเมินผลการ
ปฏิบัติงานของข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา โดยยึดหลัก
การ
1.ปฏิบัติตนที่เหมาะสมกับการเป็น
ข้าราชการครูฯ
2.ปฏิบัติราชการได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ /ประสิทธิผล
3.มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ ถือว่าผู้นั้นมี
ความชอบสมควรได้รับบำาเหน็จความ
ชอบ
*** ซึ่งอาจเป็น
1.บันทึกคำาชมเชย 2.รางวัล
3.เครื่องเชิดชูเกียรติ 4.การเลื่อน
ขั้นเงินเดือน
5.การบริหารงานบุคคลในเรื่องอื่น
* เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธี
การที่ ก.ค.ศ. กำาหนด *
การเลื่อนขั้นเงินเดือนของข้าราช
การครูฯ
ให้ผู้บังคับบัญชาแต่งตั้งคณะ
กรรมการขึ้นพิจารณา
โดยการพิจารณาให้ยึดหลัก
1.คุณธรรม
2.ความเที่ยงธรรม
3. เปิดเผย โปร่งใส
4.พิจารณาจากผลการปฏิบัติงานเป็น
หลัก
5.ความประพฤติในการรักษาวินัย
คุณ/จริย/จรรฯ
** กรณีที่ผู้บังคับบัญชาไม่สั่งเลื่อน
ขั้นเงินเดือนให้แก่ข้าราชการครูฯผู้
ใดให้ผู้บังคับบัญชาแจ้งให้ผู้นั้น
ทราบพร้อมเหตุผลที่ไม่เลื่อนขั้น
เงินเดือน
** ก.ค.ศ. กำาหนดขั้นเงินเดือน
ประสิทธิภาพของตำาแหน่งข้าราชการ
ครูและบุคลากรทางการศึกษาใน
ตำาแหน่งที่มีวิทยฐานะ เพื่อ
1.ให้ปฏิบัติงานบังเกิดผลดี
2.มีความก้าวหน้า
3.ได้มาตรฐานงานของทางราชการ
* ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
ที่ ก.ค.ศ. กำาหนด *
ข้าราชการครูฯผู้
ใด มี
1.ความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์
2.ผลงานดีเด่น
เป็นที่ประจักษ์
ให้
1.กระทรวงเจ้า
สังกัด
2.ส่วนราชการ
3.หน่วยงานการ
ศึกษา
**ดำาเนินการ
ยกย่องเชิดชู
เกียรติตามควร
แก่กรณี**
เพื่อประโยชน์
ในการเสริม
สร้างขวัญและ
กำาลังใจในการ
ปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.
อาจกำาหนดให้ข้า
ราชการครูฯผู้ที่มี
ผลงานหรือผล
การปฏิบัติงานดี
เด่นหรือผู้ที่ได้รับ
การยกย่องเชิดชู
เกียรติให้ได้รับ
เงินวิทยพัฒน์
ตามระเบียบที่
ก.ค.ศ. กำาหนด
โดยความเห็น
ชอบของคณะ
รัฐมนตรี
ข้าราชการครูฯผู้
ใดถึงแก่ความ
ตายอันเนื่องมา
จากการปฏิบัติ
หน้าที่ราชการ
ให้จัดสวัสดิการ
แก่ครอบครัว
ข้าราชการครูฯ ก่อนการมอบหมาย
หน้าที่ให้ปฏิบัติ
ให้ผู้บังคับบัญชา แจ้ง
1.ภาระงาน
2.มาตรฐานคุณภาพงาน
3.มาตรฐานวิชาชีพ /จรรยาฯ
4. เกณฑ์การประเมินผลงาน
5.ระเบียบแบบแผน
6.หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติราชการ
7.บทบาทหน้าที่ของข้าราชการใน
ฐานะเป็นพลเมืองที่ดี
** ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่
ก.ค.ศ. กำาหนด **
ผู้บังคับบัญชาปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างที่
ดีแก่ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาและมีหน้าที่
พัฒนาผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา เพื่อ
1.ให้มีความรู้
2.ทักษะ
3.เจตคติที่ดี
4.คุณธรรม /จริยธรรม/จรรยาบรรณ
วิชาชีพที่เหมาะสม
ในอันที่จะทำาให้การปฏิบัติหน้าที่
ราชการเกิดประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล และความก้าวหน้าแก่
ราชการ
** หลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ.
กำาหนด **
ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ใน
การส่งเสริม สนับสนุน
ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา โดยการให้ไป
ศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติ
งานวิจัยและพัฒนา
** ตามระเบียบที่ ก.ค.ศ. กำาหนด
**
หมวด ๖ วินัยและ
การรักษาวินัย
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาต้องรักษาวินัยที่บัญญัติเป็นข้อ
ห้ามและข้อปฏิบัติไว้ในหมวดนี้
โดยเคร่งครัดอยู่เสมอ ต้อง
ปฏิบัติดังนี้
1.ต้องสนับสนุนการปกครองในระบอบ
ปชต.อันมีking
2.ต้องปฏิบัติหน้าที่ฯด้วยความซื่อสัตย์/
สุจริต/เสมอฯ
3.ต้องปฏิบัติหน้าที่ฯให้เป็นไปตามกม./
ระเบียบ/แบบแผนฯ
4.ต้องปฏิบัติตามคำาสั่งของผู้บังคับ
บัญชาซึ่งสั่งในหน้าที่ฯ 5.ต้องตรงต่อ
เวลา อุทิศเวลาของตนให้แก่ ราชการ/
ผู้เรียน
6.ต้องประพฤติเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้
เรียน ชุมชน สังคม
7.ต้องไม่กลั่นแกล้ง กล่าวหา/ร้องเรียน
ผู้อื่นโดยไม่จริง
8.ต้องไม่กระทำาการ/ยอมให้ผู้อื่น
กระทำาการหาประโยชน์
9.ต้องไม่คัดลอก/ลอกเลียนผลงานทาง
วิชาการของผู้อื่น
10.ต้องไม่เป็นกรรมการผู้จัดการ/ผู้
จัดการ/ดำารงตำาแหน่งอื่น
11.ต้องวางตนเป็นกลางทางการเมือง
ในการปฏิบัติหน้าที่
12.ต้องรักษาชื่อเสียงของตนและรักษา
เกียรติศักดิ์ราชการ
ผู้บังคับบัญชา
มีหน้าที่
1.เสริมสร้างและพัฒนาให้ผู้อยู่ใต้
บังคับบัญชามีวินัย กระทำาโดยการ
1.ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
2.การฝึกอบรม
3.การสร้างขวัญและกำาลังใจ/
การจูงใจ
2.การป้องกันมิให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา
กระทำาผิดวินัย
กระทำาโดยการ
1.เอาใจใส่
2. สังเกตการณ์
3.ขจัดเหตุที่อาจก่อให้เกิดการก
ระทำาผิดวินัย
กรณี ให้ผู้บังคับบัญชา
ดำาเนินการ
1.มีมูลที่ควร
กล่าวหาว่าข้าราช
การครูฯผู้ใด
กระทำาผิดวินัย
โดยมีพยาน
หลักฐานใน
เบื้องต้นอยู่แล้ว
ให้ผู้บังคับบัญชา
ดำาเนินการทาง
วินัยทันที
2.มีการกล่า
วหาโดย
ปรากฏตัวผู้
กล่าวหาหรือ
กรณีเป็นที่
สงสัยว่าข้าราช
การครูฯกระทำา
ผิดวินัยโดยยัง
ไม่มีพยาน
หลักฐาน
1.รีบดำาเนินการ
สืบสวนหรือ
พิจารณา
2. ถ้าเห็นว่ากรณี
ไม่มีมูลที่ควร
กล่าวหาว่ากระทำา
ผิดวินัยจึงจะยุติ
เรื่องได้
3.ถ้าเห็นว่ากรณี
มีมูล ที่ควรกล่าว
หาว่ากระทำาผิด
วินัยก็ให้ดำาเนิน
การทางวินัยทันที
โทษทางวินัยมี ๕ สถาน คือ
1. ภาคทัณฑ์
2. ตัดเงินเดือน
3. ลดขั้นเงินเดือน
4. ปลดออก
5. ไล่ออก
ผู้ใดถูกลงโทษปลดออก ให้ผู้นั้นมี
สิทธิได้รับบำาเหน็จฯเสมือนว่าเป็นผู้
ลาออกจากราชการ
การลงโทษข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา
1.ให้ทำาเป็นคำาสั่ง
2. ผู้สั่งลงโทษต้องสั่งลงโทษให้เหมาะ
สมกับความผิด
และมิให้เป็นไปโดย พยาบาท / อคติ /
โทสะจริต
หมวด ๗ การดำาเนิน
การทางวินัย
มีกรณี
อันมีมูล
ว่ากระทำา
ผิดวินัย
ให้
1.ผู้บังคับบัญชาแต่งตั้งค
กก.สอบสวน เพื่อดำาเนิน
การสอบสวนให้ได้ความ
จริงและความยุติธรรม
โดยมิชักช้า
การ
สอบสวน
จะต้อง
1.แจ้งข้อกล่าวหา
2.สรุปพยานหลักฐานที่
สนับสนุนข้อกล่าวหาเท่า
ที่มีให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ
โดยระบุหรือไม่ระบุชื่อ
พยานก็ได้ เพื่อให้ผู้ถูก
กล่าวหามีโอกาสชี้แจง
และนำาสืบแก้ข้อกล่าวหา
กระทำาผิด
วินัยร่วม
กัน
ให้ผู้บังคับบัญชาใน
ลำาดับชั้นสูงกว่าเป็นผู้
สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
สอบสวนผู้ถูกกล่าวหา
ทั้งหมด
กระทำาผิดวินัยร่วมกัน
1.ต่างหน่วย
งานการศึกษา
2.ต่างเขตพื้นที่
การศึกษา
ให้ผู้มีอำานาจ ของ
ผู้ถูกกล่าวหา
แต่ละรายประสาน
การดำาเนินการ
ร่วมกันในการแต่ง
ตั้งคณะกรรมการ
สอบสวน
กรณีมีปัญหา/ความเห็นขัด
แย้ง
ในการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
กรณีผู้มีอำานาจ
อยู่...
ใครเป็นผู้วินิจฉัย
ชี้ขาด
1.ในเขตพื้นที่
กศษ.เดียวกัน
ผอ.สนง.เขตพื้นที่
กศษ.
2.ต่างเขตพื้นที่
กศษ.
เลขาธิการคณะ
กรรมการการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน
3.ต่างส่วน
ราชการ
รัฐมนตรี
กรณีความผิด
ที่
ปรากฏชัด
แจ้ง
จะดำาเนินการทาง
วินัย
โดยไม่สอบสวน
ก็ได้
**เมื่อได้ดำาเนินการสอบสวนผู้ถูก
กล่าวหาแล้ว ถ้าฟังได้ว่าผู้ถูกกล่าว
หามิได้กระทำาผิดวินัย ให้สั่งยุติ
เรื่อง
**ถ้า ฟัง ไ ด้ว่า ก ร ะ ทำา ผิด วินัย ใ ห้
ดำาเนินการตามมาตรา ๑๐๐
**กรณีที่กระทำาผิดวินัยอย่างร้ายแรง
ต้องลงโทษ
ปลดออก หรือไล่
ออก
** ถ้ามีเหตุอันควรลดหย่อนผ่อนโทษ
**
ห้ามมิให้ลดโทษตำ่ากว่าปลดออก
1.
ภาคทัณฑ์
2. ตั ด เ งิ น
เดือน
3. ล ด ขั้ น
เงินเดือน
วินัยไม่ร้ายแรง
4.ปลดออก
5.ไล่ออก
วินัยร้ายแรง
ภาคทัณฑ์
ให้ใช้เฉพาะกรณีกระทำา
ผิดวินัยเล็กน้อย หรือมี
เหตุอันควรลดหย่อนซึ่ง
ยังไม่ถึงกับจะต้องถูก
ลงโทษตัดเงินเดือน
ก ร ะ ทำา ผิ ด
วิ นั ย เ ล็ ก
น้ อ ย แ ล ะ มี
เหตุอันควร
งดโทษ
จะงดโทษให้โดยให้
1.ทำา ทั ณ ฑ์ บ น เ ป็ น
หนังสือ
2.ห รื อ ว่ า ก ล่ า ว ตั ก
เตือนก็ได้
ข้าราชการครูฯผู้ใดกระทำาผิด
วินัยอย่างร้ายแรง
สมควรลงโทษปลดออกหรือไล่
ออก ให้ ดำาเนินการดังนี้
ให้กรรมการสอบสวนเป็นเจ้า
พนักงานตามประมวลกฎหมาย
อาญา และให้มีอำานาจเช่นเดียวกับ
พนักงานสอบสวนตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเพียง
เท่าที่เกี่ยวกับอำานาจและหน้าที่
คณะกรรมการสอบสวน มีอำานาจ
ดังต่อไปนี้ด้วย คือ
1.เรียกให้กระทรวง ทบวง กรม ฯ
ชี้แจงข้อเท็จจริง ฯ
2. เรียกผู้ถูกกล่าวหาหรือบุคคลใดๆ
มาชี้แจง/ให้ถ้อยคำาฯ
กรณีโทษร้ายแรง
1.กรณีถูกกล่าวหาว่ากระทำา/ละเว้น
กระทำาการ(ร้ายแรง)
2.กล่าวหาเป็นหนังสือต่อผู้บังคับ
บัญชาของผู้นั้น
3.มีกรณีถูกฟ้องคดีอาญา
4.ต้องหาว่ากระทำาความผิดอาญา เว้น
แต่ฯประมาท/ลหุ
แม้ภายหลังผู้นั้นจะออกจาก
ราชการไปแล้ว เว้นแต่ออกจาก
ราชการเพราะตาย ผู้มีอำานาจสามารถ
ดำาเนินการสืบสวน/พิจารณาฯ เสมือน
ว่าผู้นั้นยังมิได้ออกจากราชการ
ตำาแหน่งที่
กระทำาผิด
ผู้พิจารณา
1.อธิการบดี
2.ผอ.สนง.เขต
พื้นที่ กศษ.
3.วิทยฐานะ
เชี่ยวชาญพิเศษ
4.ศาสตราจารย์
ก.ค.ศ.
ข้าราชการครูฯ
นอกจาก
(ต้านบน)
อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่
การศึกษาของผู้
ถูกกล่าวหา
พิจารณา
ต่างหน่วยงาน/
ต่างเขตพื้นที่การ
ศึกษากระทำาผิด
วินัยร่วมกัน
ก.ค.ศ.
1.อ.ก.ค.ศ. เขต
พื้นที่การศึกษา
ของผู้ถูกกล่าวหา
แต่ละรายที่สังกัด
แล้วแต่กรณี มี
ความเห็นขัดแย้ง
กัน
2.ถ้าเป็นความ
เห็นขัดแย้ง
ระหว่างผู้มีอำานาจ
สั่งแต่งตั้งคณะ
กรรมการสอบสวน
ในเขตพื้นที่การ
ศึกษาเดียวกัน
อ.ก.ค.ศ.
ถ้าเป็นความเห็น
ขัดแย้งระหว่างผู้มี
อำานาจสั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการ
สอบสวน หรือ
อ.ก.ค.ศ. ต่างเขต
พื้นที่การศึกษา
ก.ค.ศ.
เว้นแต่ผลการสอบสวนหรือพิจารณา
ปรากฏว่าผู้นั้นกระทำาผิดวินัยที่จะต้อง
ลงโทษภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน หรือลด
ขั้นเงินเดือน
ให้สั่งงดโทษ
กรณี
1.ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน
กลับเข้ารับราชการ
2.สั่งให้ผู้ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้
ก่อนออกจากราชการด้วยเหตุอื่นที่
มิใช่วินัยร้ายแรง
ก็ให้ผู้นั้นมีสถานภาพเป็นข้าราชการ
ครูฯตลอดระยะเวลาระหว่างที่ถูกสั่งให้
ออกจากราชการไว้ก่อน
เสมือนว่าผู้นั้นเป็นผู้ถูกสั่งพัก
ราชการ
หมวด ๘ การออก
จากราชการ
ข้าราชการครูฯออกจากราชการเมื่อ
1. ตาย
2. พ้นจากราชการตามกม.ว่าด้วย
บำาเหน็จฯ
3. ลาออกจากราชการและได้รับ
อนุญาตให้ลาออก
4. ถูกสั่งให้ออกตาม...
5. ถูกสั่งลงโทษปลดออก /ไล่ออก
6. ถูกเพิกถอนใบอนุญาตฯ เว้นแต่ได้
รับแต่งตั้งให้ดำารงตำาแหน่งอื่นที่ไม่ต้อง
มีใบอนุญาตฯ
การลาออก
1.เพื่อประโยชน์แก่ราชการ จะ
ยับยั้งการอนุญาตให้ลาออกไว้
เป็นเวลาไม่เกิน 90 วันนับตั้งแต่
วันขอลาออกก็ได้
แต่ต้องแจ้งการยับยั้ง /เหตุผลให้ผู้ขอ
ลาออกทราบ
และเมื่อครบกำาหนดเวลาที่ยับยั้งแล้ว
ให้การลาออกมีผลตั้งแต่วันถัดจากวัน
ครบกำาหนดเวลาที่ยับยั้ง
2.ไม่ได้อนุญาตให้ลาออก
ให้การลาออกนั้น
3.ไม่ได้ยับยั้ง
มีผลตั้งแต่วันขอลาออก
ถูกสั่งเพิกถอนใบ
อนุญาตประกอบวิชาชีพ
มีตำาแหน่งว่าง ไม่มีตำาแหน่ง
ว่าง
ภายใน 30 วัน
นับแต่วันที่หน่วย
งานการศึกษาของ
ผู้ถูกสั่งเพิกถอน
อยู่ได้รับหนังสือมี
ตำาแหน่งว่างหรือ
ไม่ต้องมีใบ
อนุญาตฯ
ผู้บังคับบัญชาเห็น
ว่า ผู้นั้นมีความ
เหมาะสม ให้ส่ง
เรื่องให้ อ.ก.ค.ศ.
เขตพื้นที่การ
1.ภายในกำาหนด
เวลา 30 วัน ถ้า
ไม่มีตำาแหน่งว่าง
2.อ.ก.ค.ศ. เขต
พื้นที่กศษ.หรือ
ก.ค.ศ. แล้วแต่
กรณี
ไม่อนุมัติ
ให้ผู้มีอำานาจ สั่ง
ให้ผู้นั้นออกจาก
ราชการโดย
ศึกษา หรือ
ก.ค.ศ. แล้วแต่
กรณี
เพื่อพิจารณา
อนุมัติ
พลัน
ถูกสั่งให้ออกจากราชการเพื่อรับ
บำาเหน็จฯเหตุทดแทน
ให้ทำาได้ในกรณีต่อไปนี้ด้วย คือ
1. เจ็บป่วยไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ราชการ
ของตนได้สมำ่าเสมอ
2. สมัครไปปฏิบัติงานใดๆ ตามความ
ประสงค์ของทางราชการ
3. ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ...
4. มีกรณีถูกกล่าวหา/เหตุอันควรสงสัย
ว่าเป็นผู้ขาดคุณสมบัติ
5. เมื่อทางราชการเลิกหรือยุบตำาแหน่ง
ใด
6. ไม่สามารถปฏิบัติราชการให้มี
ประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล
กรณีถูกกล่าวหา
หรือมีเหตุอันควร
สงสัยว่าหย่อน/
บกพร่องในหน้าที่
ราชการ
กรณีมีมูล ถ้า
ให้ผู้นั้นรับ
ราชการต่อไป
จะเป็นการเสีย
หายแก่
ราชการก็ให้ผู้
มีอำานาจดัง
กล่าวสั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการ
สอบสวนโดย
ไม่ชักช้า
ป ร ะ พ ฤ ติ ต น ไ ม่
เ ห ม า ะ ส ม กั บ
ตำา แ ห น่ ง ห น้ า ที่
ราชการ
กรณีมีเหตุอันควร
สงสัยอย่างยิ่งว่าผู้
นั้นได้กระทำาผิด
วินัยอย่างร้าย
แรง แต่การ
สอบสวนไม่ได้
ก็ให้ส่งเรื่องให้
ก.ค.ศ. หรือ
อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่
การศึกษาแล้วแต่
กรณี พิจารณา
ความแน่ชัดพอที่
จะสั่งให้ลงโทษ
วินัยอย่างร้ายแรง
ถ้าให้รับราชการ
ต่อไปจะเป็นการ
เสียหายแก่
ราชการ
ให้ออกจาก
ราชการ
ต้องรับโทษจำาคุก
โดยคำาสั่งของ
ศาล/คำาพิพากษา
ถึงที่สุดให้จำาคุก
ในความผิดที่
ประมาท+ลหุโทษ
ซึ่งยังไม่ถึงกับจะ
ต้องถูกลงโทษ
ปลดออก หรือไล่
ออก
สั่งให้ผู้นั้นออก
จากราชการเพื่อ
รับบำาเหน็จ
บำานาญเหตุ
ทดแทน
*** การออกจากราชการของข้าราช
การครูฯในตำาแหน่งซึ่งมีพระบรม
ราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง ให้นำา
ความกราบบังคมทูลเพื่อทรงทราบ
(เว้นแต่ ตาย)
หมวด ๙ การอุทธรณ์
และการร้องทุกข์
กรณี อุทธรณ์ต่อ
ภายใน(กี่
วัน)
1.ภาคทัณ
ฑ์
2.ตัดเงิน
เดือน
3.ลดขั้น
1.อ.ก.ค.ศ.เ
ขตฯ
2.อ.ก.ค.ศ.
ที่ก.ค.ศ.ตั้ง
3.แล้วแต่
30 วัน
(นับแต่วันที่
รับแจ้ง)
เงินเดือน กรณี
4.ปลดออก
5.ไล่ออก
*ถูกให้ออก
จาก
ราชการ
มีสิทธิ์
อุทธรณ์
และร้อง
ทุกข์
ต่อ ก.ค.ศ.
30 วัน
**ก.ค.ศ.พิจ
ารณาให้
แล้วเสร็จ
ภายใน 90
วัน **
-ไม่ได้รับความ
เป็นธรรม
- คับข้องใจจาก
การกระทำาของ
1.ผู้บังคับฯ
2.คณะ
กรรมการ
ร้องทุกข์
ต่อ
1.อ.ก.ค.ศ.เ
ขตฯ
2.อ.ก.ค.ศ.ที่
ก.ค.ศ.ตั้ง
3.ก.ค.ศ.แล้ว
แต่กรณี
กรณีนี้ มี
สิทธิ์ฟ้อง
ร้องต่อ
ศาล
ปกครอง
ความผิดวินัยร้ายแรง มี
ดังนี้
1. ห้ามมิให้อาศัยหรือยอมให้ผู้อื่น หา
ประโยชน์โดยมิชอบ
2. ประมาทเลินเล่อ/ขาดการเอาใจใส่
อันเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่
ราชการอย่างร้ายแรง
3.การขัดคำาสั่ง/หลีกเลี่ยงไม่ปฏิบัติ
ตามคำาสั่งของผบ. อันเป็นเหตุให้เสีย
หายแก่ราชการอย่าง
(แต่ถ้าเห็นว่าการปฏิบัติตามคำาสั่งนั้น
จะทำาให้เสียหายแก่ราชการ หรือจะ
เป็นการไม่รักษาประโยชน์ของทาง
ราชการจะเสนอความเห็นเป็นหนังสือ
ภายใน 7 วัน เพื่อให้ผู้บังคับบัญชา
ทบทวนคำาสั่งนั้นก็ได้และเมื่อเสนอ
ความเห็นแล้ว ถ้าผู้บังคับบัญชายืนยัน
เป็นหนังสือให้ปฏิบัติตามคำาสั่งเดิม ผู้
อยู่ใต้บังคับบัญชาจะต้องปฏิบัติตาม)
4.ทอดทิ้ง/ละทิ้งหน้าที่ โดยไม่มี
เหตุผลอันสมควร
- ละทิ้งหน้าที่ติดต่อเกินกว่า 15 วัน
5. การกลั่น/หมิ่น/ เหยียดหยาม/
กดขี่ /ข่มเหงผู้เรียน +ประชาชนผู้มา
ติดต่อราชการ
6.ไม่กลั่นแกล้ง กล่าวหา/ร้องเรียนผู้
อื่นโดยไม่จริง ถ้าเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับ
ความเสียหาย
7.ซื้อขาย ตำาแหน่งหรือวิทยฐานะใด
โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย เพื่อให้
ตนเองหรือผู้อื่นได้บรรจุ/แต่งตั้ง
8.ใช้ผู้อื่นทำาผลงานทางวิชาการ เพื่อ
ไปใช้เลื่อนตำาแหน่ง /วิทยฐานะ
9. ต้องไม่เข้าไปเกี่ยวข้องกับการ
ทุจริต /ซื้อสิทธิ/ขายเสียงในการเลือก
ตั้ง
10.ทำาความผิดอาญาจนได้รับโทษจำา
คุก /หนักกว่าจำาคุก โดยคำาพิพากษา
ถึงที่สุดฯอันใดชื่อว่า เป็นผู้ประพฤติชั่ว
อย่างร้ายแรง

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย
6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย
6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบายDr.Choen Krainara
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540ประพันธ์ เวารัมย์
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียนssuser456899
 
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึ...
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึ...แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึ...
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อpeter dontoom
 
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.นายจักราวุธ คำทวี
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...ประพันธ์ เวารัมย์
 
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1Puy Chappuis
 

Was ist angesagt? (20)

แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน ก...
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
 
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
 
6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย
6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย
6 ขั้นตอนง่ายๆสำหรับการวิเคราะห์นโยบาย
 
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549 4...
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549  4...แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549  4...
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549 4...
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้อง...
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
 
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
 
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึ...
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึ...แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึ...
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึ...
 
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
 
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที...
 
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
 

Andere mochten auch

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ชั่วคราว 2557
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ชั่วคราว 2557รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ชั่วคราว 2557
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ชั่วคราว 2557โทษฐาน ที่รู้จักกัน
 
การบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษ
การบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษการบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษ
การบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษโทษฐาน ที่รู้จักกัน
 
คณะกรรมการ เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - ร...
คณะกรรมการ   เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - ร...คณะกรรมการ   เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - ร...
คณะกรรมการ เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - ร...โทษฐาน ที่รู้จักกัน
 

Andere mochten auch (20)

หลักสูตร 51
หลักสูตร 51หลักสูตร 51
หลักสูตร 51
 
สมรรถนะหลัก และ ประจำสายงาน
สมรรถนะหลัก และ ประจำสายงานสมรรถนะหลัก และ ประจำสายงาน
สมรรถนะหลัก และ ประจำสายงาน
 
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
 
สูตรคณิต เสร็จแล้ว
สูตรคณิต เสร็จแล้วสูตรคณิต เสร็จแล้ว
สูตรคณิต เสร็จแล้ว
 
ลำยอง 2
ลำยอง 2 ลำยอง 2
ลำยอง 2
 
หลักสูตร 51 ฉบับปรับปรุง ระบบ HD
หลักสูตร 51 ฉบับปรับปรุง ระบบ HDหลักสูตร 51 ฉบับปรับปรุง ระบบ HD
หลักสูตร 51 ฉบับปรับปรุง ระบบ HD
 
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
 
รวมฮิตตัวเลข จำ พรบ คุ้มครองเด็ก 2546
รวมฮิตตัวเลข จำ  พรบ คุ้มครองเด็ก 2546รวมฮิตตัวเลข จำ  พรบ คุ้มครองเด็ก 2546
รวมฮิตตัวเลข จำ พรบ คุ้มครองเด็ก 2546
 
พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539
พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539
พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539
 
ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1
ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1
ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1
 
เพิ่มเติม รวมมิตร
เพิ่มเติม รวมมิตรเพิ่มเติม รวมมิตร
เพิ่มเติม รวมมิตร
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ชั่วคราว 2557
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ชั่วคราว 2557รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ชั่วคราว 2557
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ชั่วคราว 2557
 
คณะกรรมการต่างๆ
คณะกรรมการต่างๆคณะกรรมการต่างๆ
คณะกรรมการต่างๆ
 
การบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษ
การบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษการบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษ
การบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษ
 
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
ความรู้ทั่วไป+วิทยฐานะ+จรรยาบรรณ
 
คุณธรรม วินัย
คุณธรรม  วินัยคุณธรรม  วินัย
คุณธรรม วินัย
 
สุรินทร์
สุรินทร์สุรินทร์
สุรินทร์
 
คณะกรรมการ เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - ร...
คณะกรรมการ   เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - ร...คณะกรรมการ   เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - ร...
คณะกรรมการ เรื่องของครู - การลา 11 - จรรยาบรรณ 9 - ตารางกฎหมาย - ตัวย่อ - ร...
 
เศรษฐี อช
เศรษฐี อชเศรษฐี อช
เศรษฐี อช
 
สูตรคณิต
สูตรคณิตสูตรคณิต
สูตรคณิต
 

Ähnlich wie พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ

สมรรถนะ
สมรรถนะสมรรถนะ
สมรรถนะmarena06008
 
กฏกระทรวงการดูแลนักเรียน
กฏกระทรวงการดูแลนักเรียนกฏกระทรวงการดูแลนักเรียน
กฏกระทรวงการดูแลนักเรียนAlongkorn WP
 
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ25465.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546กองพัน ตะวันแดง
 
คู่มือการบริหารงานบุคคลและคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
คู่มือการบริหารงานบุคคลและคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดคู่มือการบริหารงานบุคคลและคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
คู่มือการบริหารงานบุคคลและคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดประพันธ์ เวารัมย์
 
คู่มือการบริหารงานบุคคล สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ของ กศจ.
คู่มือการบริหารงานบุคคล สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ของ กศจ. คู่มือการบริหารงานบุคคล สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ของ กศจ.
คู่มือการบริหารงานบุคคล สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ของ กศจ. ประพันธ์ เวารัมย์
 
3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ปรับ
3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546  ปรับ3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546  ปรับ
3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ปรับsomchay
 
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ25465.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546กองพัน ตะวันแดง
 
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546Ying Kanya
 
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546Ying Kanya
 
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546สายฝน ต๊ะวันนา
 
5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง
5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง
5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงกองพัน ตะวันแดง
 

Ähnlich wie พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ (14)

สมรรถนะ
สมรรถนะสมรรถนะ
สมรรถนะ
 
สมรรถนะ
สมรรถนะสมรรถนะ
สมรรถนะ
 
กฏกระทรวงการดูแลนักเรียน
กฏกระทรวงการดูแลนักเรียนกฏกระทรวงการดูแลนักเรียน
กฏกระทรวงการดูแลนักเรียน
 
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ25465.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
 
คู่มือการบริหารงานบุคคล ของ.กศจ.
คู่มือการบริหารงานบุคคล ของ.กศจ.คู่มือการบริหารงานบุคคล ของ.กศจ.
คู่มือการบริหารงานบุคคล ของ.กศจ.
 
คู่มือการบริหารงานบุคคลและคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
คู่มือการบริหารงานบุคคลและคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดคู่มือการบริหารงานบุคคลและคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
คู่มือการบริหารงานบุคคลและคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
 
คู่มือการบริหารงานบุคคล สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ของ กศจ.
คู่มือการบริหารงานบุคคล สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ของ กศจ. คู่มือการบริหารงานบุคคล สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ของ กศจ.
คู่มือการบริหารงานบุคคล สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ของ กศจ.
 
3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ปรับ
3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546  ปรับ3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546  ปรับ
3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ปรับ
 
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ25465.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
 
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
 
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
 
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
 
5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง
5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง
5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง
 
.________
  .________  .________
.________
 

Mehr von โทษฐาน ที่รู้จักกัน

Mehr von โทษฐาน ที่รู้จักกัน (15)

ย่อ บริษัทประชารัฐ
ย่อ บริษัทประชารัฐย่อ บริษัทประชารัฐ
ย่อ บริษัทประชารัฐ
 
ย่อ สัมมาชีพชุมชน
ย่อ สัมมาชีพชุมชนย่อ สัมมาชีพชุมชน
ย่อ สัมมาชีพชุมชน
 
ย่อ Cdd-agenda-2017 (1)
ย่อ Cdd-agenda-2017 (1)ย่อ Cdd-agenda-2017 (1)
ย่อ Cdd-agenda-2017 (1)
 
ย่อกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (1)
ย่อกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (1)ย่อกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (1)
ย่อกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (1)
 
ย่อ กข.คจ.
ย่อ กข.คจ.ย่อ กข.คจ.
ย่อ กข.คจ.
 
ยุทธศาสตร์ พช 60 64
ยุทธศาสตร์ พช 60 64ยุทธศาสตร์ พช 60 64
ยุทธศาสตร์ พช 60 64
 
จปฐ 2560-2564 ฉบับ นาคี
จปฐ 2560-2564 ฉบับ นาคีจปฐ 2560-2564 ฉบับ นาคี
จปฐ 2560-2564 ฉบับ นาคี
 
คุณธรรม
คุณธรรมคุณธรรม
คุณธรรม
 
หลักสูตร 51 ฉบับปรับปรุง ระบบ HD
หลักสูตร 51  ฉบับปรับปรุง ระบบ HDหลักสูตร 51  ฉบับปรับปรุง ระบบ HD
หลักสูตร 51 ฉบับปรับปรุง ระบบ HD
 
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 okแนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
 
ความรู้ทั่วไป
ความรู้ทั่วไปความรู้ทั่วไป
ความรู้ทั่วไป
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
ชื่อคณะกรรมการต่างๆ
ชื่อคณะกรรมการต่างๆชื่อคณะกรรมการต่างๆ
ชื่อคณะกรรมการต่างๆ
 
อักษรย่อ
อักษรย่ออักษรย่อ
อักษรย่อ
 
ตารางกฎหมายการศึกษา
ตารางกฎหมายการศึกษาตารางกฎหมายการศึกษา
ตารางกฎหมายการศึกษา
 

พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ

  • 1. พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา ๒๕๔๗ ให้ไว้ ๒๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ เป็นปีที่ ๕๙ ตรา พรบ.ขึ้นไว้ โดย คำาแนะนำาและยินยอม ของรัฐสภา รักษาการ ตามพระ ราชบัญญัติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ศึกษาธิการ ความหมาย คำา หมายความว่า ข้าราชการ ครูและ บุคลากร ทางการ ศึกษา บุคคลซึ่งได้รับการ บรรจุและแต่งตั้งตามพ ระราชบัญญัตินี้ให้รับ ราชการโดยได้รับเงิน เดือนจากเงินงบ ประมาณแผ่นดิน งบ บุคลากรที่จ่ายใน ลักษณะเงินเดือนใน กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา กระทรวง วัฒนธรรม หรือ กระทรวงอื่นที่กำาหนด ในพระราชกฤษฎีกา ข้าราชการ ครู ผู้ที่ประกอบวิชาชีพซึ่ง ทำาหน้าที่หลักทางด้าน การเรียนการสอนและ ส่งเสริมการเรียนรู้ของ ผู้เรียนด้วยวิธีการต่างๆ ในสถานศึกษาของรัฐ คณาจารย์ บุคลากรซึ่งทำาหน้าที่ หลักทางด้านการสอน และการวิจัยในสถาน ศึกษาระดับอุดมศึกษา ระดับปริญญาของรัฐ บุคลากร ทางการ ศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้ บริหารการศึกษา รวม ทั้งผู้สนับสนุนการ ศึกษาซึ่งเป็นผู้ทำา หน้าที่ให้บริการ หรือ ปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่อง กับการจัดกระบวนการ เรียนการสอน การ นิเทศ การบริหารการ ศึกษา และปฏิบัติงาน อื่นในหน่วยงานการ ศึกษา คำา หมายความว่า วิชาชีพ วิชาชีพ ครู บริหารการ ศึกษา บุคลากร ทางการศึกษาอื่น หน่วย งานการ ศึกษา (๑) สถานศึกษา (๒) สำานักงานเขตพื้นที่การ ศึกษา (๓) สำานักงานการศึกษานอก โรงเรียน (๔) แหล่งการเรียนรู้ (๕) หน่วยงานตามกฎหมาย สถาน ศึกษา สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การศึกษา พิเศษ ศูนย์การศึกษานอก ระบบและตามอัธยาศัย ศูนย์การเรียน วิทยาลัย วิทยาลัยชุมชน สถาบัน หรือสถานศึกษาที่เรียกชื่อ อย่างอื่นของรัฐที่มีอำานาจ หน้าที่หรือมีวัตถุประสงค์ ในการจัดการศึกษาตาม กฎหมายว่าด้วยการศึกษา แห่งชาติและตามประกาศ
  • 2. กระทรวง รัฐมนตรี เจ้าสังกัด รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ในกระทรวงที่มีข้าราชการ ครูและบุคลากรทางการ ศึกษาอยู่ในสังกัด หมวด ๑ คณะกรรมการบริหารงานบุคคล ของข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา เรียกโดย ย่อว่า ก.ค.ศ. / 31 คน ประกอบด้วย ประธาน 1 รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ศึกษาธิการ รองฯ 1 ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กรรมการ โดย ตำาแหน่ง 8 คน 1.เลขาธิการฯ สพฐ. 2. เลขาธิการฯอาชีวะ 3.เลขาธิการฯอุดมศึกษา 4. เลขาธิการคุรุสภา 5.เลขาธิการ ก.พ. 6.เลขาธิการฯ ก.ค.ศ. 7.ปลัด ก.การท่องเที่ยว 8.ปลัด ก.วัฒนธรรม กรรมการผู้ ทรงฯ 9 คน อายุ 35-70 ปี -ไม่เมือง -ไม่อปท. -ไม่จนท. -ยอมรับ ซื่อ/ยุติ/ไม่ เสื่อมจริ/ จรร หลายด้าน(ด้านละ 1 คน) 1.การศึกษา 2.ผลิต/พัฒนาครู 3.กฏหมาย 4.บริหารงานบุคคล 5.บริหารการจัดการภาค รัฐ. 6. บริหารอง์กร 7.การศึกษาพิเศษ 8.บริหารธุรกิจ 9.เศรษฐศาสตร์ กรรมการผู้ แทน ข้าราชการ ครูและ บุคลากร ทางการ ศึกษา (มาจาก เลือกตั้ง) เลือกตั้ง 12 คน 1.ผู้แทน ผอ.สนง.เขต พื้นที่ - ประถม - มัธยม 2.ผู้แทนผู้บริหารการ ศึกษา+ผู้บริหารสถาน ศึกษา - ประถม - มัธยม 3.ผู้แทนข้าราชการครู - ประถม
  • 3. - มัธยม 4.ผู้แทนบุคลากรทางการ ศึกษา - ประถม - มัธยม เลขานุการ เลขาธิการ ก.ค.ศ. ผู้ช่วย เลขานุการ ไม่เกิน 2 คน ให้เลขาธิการ ก.ค.ศ. แต่งตั้งข้าราชการใน สำานักงาน ก.ค.ศ. เป็น ** แถม ** กรรมการผู้ ทรงฯ + กรรมการผู้ แทนข้า ราชการ ครูฯ * มีวาระคราวละ 4 ปี * ติดต่อกันเกิน 2 วาระ ไม่ได้ * ว่าง=เลือกภายใน 60 วัน *เว้นแต่เหลือไม่ถึง 90 วัน เลือก/ไม่เลือก ก็ได้(อยู่เท่ากับวาระที่ เหลืออยู่) คุณสมบัติ ตำาแหน่ง คุณสมบัติ 1.กรรมการ ผู้ทรงฯ 1.สัญชาติไทย 2.อายุไม่ตำ่ากว่า 35 – ไม่เกิน 70 ปี 3.ไม่เมือง/อปท./จนท. 4.ยอมรับ/ซื่อ/ยุติ/ไม่ เสื่อมจริ/จรร/อาชีพ 2.กรรมการ ผู้แทน 1.มีใบประกอบวิชาชีพ/ ไม่พัก/เพิก ผอ.สนง.เข ตพื้นที่ฯ 2.ยอมรับ ซื่อสัตย์ / ยุติ ฯ 3.กรรมการ ผู้แทนผู้ บริหาร สถาน ศึกษาและ ผู้บริหาร สถานศึกษา 1.มีใบประกอบวิชาชีพ/ ไม่พัก/เพิก 2.มีประสบการณ์ไม่น้อย กว่า 15 ปี 3.ยอมรับ ซื่อสัตย์ ฯ 4.กรรมการ ผู้แทน บุคลากรทา งกศษ. 1.ไม่ตำ่ากว่า ป.ตรี 2.มี ปสก.ด้านสนับสนุน กศษ.ไม่น้อยกว่า 15 ปี 3.ยอมรับ ซื่อสัตย์ ฯ การพ้นจากตำาแหน่ง ตามวาระ ตำาแหน่ง การพ้นจากตำาแหน่ง 1.กรรมการผู้ ทรงฯ 1.ตาย 2.ลาออก 3. ละลาย 4.ไร้/เสมือนไร้ 5.ขาดคุณฯม.8 6.จำาคุก-ถึงที่สุด/เว้น ประมาท/ลหุ 2.กรรมการผู้ 1.ตาย 2. ลาออก
  • 4. แทนข้าราช การครูฯ 3.พ้นจากการเป็นข้า ราชการครูฯ 4.ขาดคุณฯ ม.9,10,11,12 5.ถูกถอดถอนโดย ร.ม.ต.ตามมติ ก.ค.ศ.ด้วยคะแนน เสียงไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 การประชุม ก.ค.ศ. 1.กรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่ง หนึ่งของจำานวนกรรมการทั้งหมดจึง จะเป็นองค์ประชุม 2.ประธานกรรมการไม่อยู่ - ให้รองฯทำาหน้าที่แทน - ถ้าไม่มีรอง/หรือมีแต่ไม่สามารถฯ ให้ ที่ประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งทำา หน้าที่เป็นประธาน 3.ถ้ามีการพิจารณาเรื่องเกี่ยวกับตัว ก ร ร ม ก า ร ผู้ ใ ด /มี ส่ ว น ไ ด้ เ สี ย ก ร ร ม ก า ร ผู้ นั้ น ไ ม่ มี สิ ท ธิ เ ข้ า ประชุม 4.การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ ถือเสียงข้างมาก 5.คะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่ง เป็นเสียงชี้ขาด ก.ค.ศ. มีอำานาจและหน้าที่ดังต่อ ไปนี้ 1. เสนอแนะ/ให้คำาปรึกษาแก่ค รม.เกี่ยวกับนโยบายฯ 2. กำาหนดนโยบาย วาง/กำาหนดเกณฑ์ อัตรากำาลัง 3. เสนอแนะ/ให้คำาปรึกษาแก่ค รม.กรณีค่าครองฯสวัสดิฯ 4. ออกกฎ ก.ค.ศ. ระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์ วิธีการ 5. พิจารณาวินิจฉัยตีความปัญหาที่เกิด ขึ้นพรบ.นี้ 6. พัฒนาหลัก/ วิธีการ /มตฐ.การ บริหารงานบุคคล 7. กำาหนดวิธีการและเงื่อนไขการจ้าง เพื่อบรรจุและแต่งตั้ง 8. ส่ง/ สนับสนุนการพัฒนา /สร้าง ขวัญ/ ยกย่องเชิดชู 9. ส่ง/ สนับสนุนให้มีการจัดสวัสดิการ
  • 5. และสิทธิประโยชน์ 10. พิจารณาตั้ง อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ การศึกษา และคณะอนุกรรมการอื่น เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่ ก.ค.ศ. มอบ หมาย 11. ส่ง/สนับ/ประสาน/ให้คำาปรึกษา แก่ หน่วยงานกศษ. 12. กำาหนดมตฐ. พิจารณา การดำาเนิน การทางวินัย /ออก/อุทธรณ์/ร้องทุกข์ 13. กำากับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบ/ ประเมินผลการบริหารงานบุคคล 14. รายงานและเสนอแนะต่อรัฐมนตรี เจ้าสังกัดในกรณีที่ปรากฏว่าส่วน ราชการ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา คณะอนุกรรมการ หรือผู้มีหน้าที่ปฏิบัติ ตามพระราชบัญญัตินี้ ไม่ปฏิบัติตามพ ระราชบัญญัตินี้ หรือปฏิบัติการโดยขัด แย้งกับแนวทางตามที่กำาหนดในพระ ราชบัญญัตินี้ 15. พิจารณารับรองคุณวุฒิของผู้ได้ รับปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรือคุณวุฒิอย่างอื่นเพื่อประโยชน์ใน การบรรจุและแต่งตั้งเป็นข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา และการ กำาหนดอัตราเงินเดือนหรือค่าตอบแทน ที่ควรได้รับ 16. กำาหนดอัตราค่าธรรมเนียม 17. พิจารณาจัดระบบทะเบียน ประวัติการเกษียณอายุ 18. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามพรบ. หรือตาม กฎหมายอื่น ชื่อสำานักงาน ตัวย่อ สำา นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ข้าราชการครูและ บุคลากรทางการ ศึกษา สำา นั ก ง า น ก.ค.ศ. เ ลข าธิ กา ร ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ข้าราชการครูและ บุคลากรทางการ ศึกษา เ ล ข า ธิ ก า ร ก.ค.ศ. * มี ฐ า น ะ เ ป็ น อธิบดี * เป็นผู้บังคับ บัญชาข้าราชการ และบริหาร ราชการของ สำานักงานคณะ กรรมการ ข้าราชการครูและ บุคลากรทางการ ศึกษา คณะอนุกรรมการ ข้าราชการครูและ บุคลากรทางการ ศึกษาประจำา เขต พื้นที่การศึกษา อ .ก .ค .ศ .เ ข ต พื้นที่การศึกษา อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษามี อำานาจและหน้าที่ 1. พิจารณากำาหนดนโยบายการ บริหารงานบุคคลในเขตฯ/กำาหนด จำานวน/อัตราตำาแหน่งและเกลี่ยอัตรา กำาลัง 2. พิจารณาให้ความเห็นชอบการ บรรจุและแต่งตั้งในเขตฯ
  • 6. 3. ให้ความเห็นชอบ/พิจารณาความดี/ ชอบ 4. พิจารณาวินัย /ออก/อุทธรณ์ /ร้อง ทุกข์ 5. ส่ง/สนับสนุนการพัฒนา การเสริม สร้างขวัญฯ 6. กำากับ ดูแล ติดตาม/ประเมินผลการ บริหารงานบุคคล 7. จัดทำา/พัฒนาฐานข้อมูลข้าราชการ ครูฯ 8. จัดทำารายงานประจำาปีที่เกี่ยวกับ การบริหารงานบุคคล 9.พิจารณาให้ความเห็นชอบเรื่องการ บริหารงานบุคคล 10.ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามพระราช บัญญัตินี้ ผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่ เป็นผู้บริหารราชการในสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษาและเป็นผู้บังคับ บัญชาของข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา และ มีอำานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ 1. รับผิดชอบในการปฏิบัติงาน ราชการที่เป็นอำานาจและหน้าที่ของ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาและตามที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษามอบ หมาย 2. เสนอแนะการบรรจุและแต่งตั้ง /การ บริหารงานบุคคล 3. พิจารณาเสนอความดี/ชอบ 4. จัดทำาแผนและส่งเสริมการพัฒนาข้า ราชการครูฯ 5. จัดทำาทะเบียนประวัติข้าราชการ ครูฯ 6. จัดทำามตฐ.คุณภาพงาน /ภาระงาน ขั้นตำ่า /เกณฑ์ 7. ประเมินคุณภาพการบริหารงาน บุคคล/จัดทำารายงาน 8. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามพระราชบัญญัติ นี้ คณะกรรมการสถานศึกษา มีอำานาจและหน้าที่ 1. กำากับ ดูแลการบริหารงานบุคคลใน สถานศึกษา 2.เสนอความต้องการจำานวนและอัตรา ตำาแหน่ง 3. ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหาร งานบุคคลต่อ ผอ. 4. ปฏิบัติหน้าที่อื่นฯ ผู้บริหารสถานศึกษา เป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาในสถาน ศึกษา และมีอำานาจและหน้าที่ ดังต่อไป นี้
  • 7. 1. ควบคุม ดูแลให้การบริหารงาน บุคคลในสถานศึกษา 2. พิจารณาเสนอความดีความชอบ ของข้าราชการครูฯ 3. ส่ง/สนับสนุนข้าราชการครูฯให้มี การพัฒนาต่อเนื่อง 4. จัดทำามตฐ. ภาระงานสำาหรับข้าราช การครูฯ 5. ประเมินผลการปฏิบัติงานตามมตฐ. 6. ปฏิบัติหน้าที่อื่น หมวด ๒ บททั่วไป การดำาเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ ให้เป็นไปตามหลักการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดีโดยยึดถือ 1.ระบบคุณธรรม 2.ความเสมอภาคระหว่างบุคคล 3.หลักการได้รับการปฏิบัติและการ คุ้มครองสิทธิอย่างเสมอภาคเท่าเทียม กัน ผู้ประกอบวิชาชีพครูและบุคลากร ทางการศึกษา ต้องมีคุณสมบัติทั่วไป ดังต่อไปนี้ 1. มีสัญชาติไทย 2. มีอายุไม่ตำ่ากว่า 18 ปีบริบูรณ์ 3. เลื่อมใส ปชต./อันมี king ฯ 4. ไม่เมือง /อปท. 5. ไม่ไร้ /ฟั่นเฟือน/ไม่ 6. ไม่เป็นผู้อยู่ในระหว่างถูกสั่งพัก/ ออกจากราชการไว้ก่อน/หรือถูกสั่งพัก /เพิกถอน 7. ไม่เป็นผู้บกพร่องในศีลธรรม 8. ไม่เป็นกก.พรรคการเมือง/เจ้าหน้าที่ ในพรรค 9. ไม่ละลาย 10. ไม่ต้องโทษจำาคุกถึงที่สุด/ เว้น ประมาท/ลหุโทษ 11. ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก / ปลดออก/ไล่ออก 12. ไม่เป็นผู้เคยกระทำาการทุจริตใน การสอบเข้า เงินเพิ่ม ข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษาอาจได้รับเงินเพิ่ม กรณี ความเห็นชอบ ของ มีเหตุพิเศษตาม ระเบียบที่ ก.ค.ศ. กำาหนด คณะรัฐมนตรี ค่ า ค ร อ ง ชี พ ชั่วคราว ต า ม ภ า ว ะ เศรษฐกิจ ตามหลักเกณฑ์ แ ล ะ วิ ธี ก า ร ที่ กำา ห น ด ใ น พ ร ะ ราชกฤษฎีกา วันเวลาทำางาน วันหยุด กรณี ใครกำาหนด วันเวลาทำางาน วัน หยุดราชการตาม ประเพณี วันหยุด ก.ค.ศ.
  • 8. ราชการประจำาปี และการลาหยุด ราชการ กรณี ก.ค.ศ. ยังมิได้ กำาหนด ให้นำาหลัก เกณฑ์ที่ใช้กับ ข้าราชการ พลเรือนมาใช้ บังคับโดย อนุโลม หมวด ๓ การกำาหนดตำาแหน่งวิทยฐานะ และการให้ได้รับเงินเดือน เงิน วิทยฐานะ และเงินประจำา ตำาแหน่ง ตำาแหน่งที่มีวิทยฐานะ 1.ตำาแหน่ง ครู (๑) ครูชำานาญการ (๒) ครูชำานาญการพิเศษ (๓) ครูเชี่ยวชาญ (๔) ครูเชี่ยวชาญพิเศษ 2.ตำาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา 1. รองผู้อำานวยการชำานาญการ 2. รองผู้อำานวยการชำานาญพิเศษ 3. รองผู้อำานวยการเชี่ยวชาญ 4. ผู้อำานวยการชำานาญการ 5. ผู้อำานวยการชำานาญการพิเศษ 6. ผู้อำานวยการเชี่ยวชาญ 7. ผู้อำานวยการเชี่ยวชาญพิเศษ 3. ตำาแหน่งผู้บริหารการศึกษา 1. รองผอ.สนง.เขตพื้นที่กศษ.ชำานาญ การพิเศษ 2. รองผอ.สนง.เขตพื้นที่ กศษ.เชี่ยวชาญ 3. ผอ.สนง.เขตพื้นที่กศษ.เชี่ยวชาญ 4. ผอ.สนง.เขตพื้นที่กศษ.เชี่ยวชาญ พิเศษ 4.ตำาแหน่ง ศึกษานิเทศก์ 1. ศึกษานิเทศก์ชำานาญการ 2. ศึกษานิเทศก์ชำานาญการพิเศษ 3. ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ 4. ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญพิเศษ 5.ตำาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามที่ ก.ค.ศ. กำาหนดให้มี ตำาแหน่งคณาจารย์ตำาแหน่งทาง วิชาการ 1. อาจารย์ 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 3. รองศาสตราจารย์ 4. ศาสตราจารย์ ตำาแหน่งข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา มี ๓ ประเภทดังนี้ 1.ตำาแหน่ง ซึ่งมีหน้าที่ เป็นผู้สอนใน หน่วย งานการ ศึกษา 1. ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย 2. ครู 3. อาจารย์ 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 5. รองศาสตราจารย์ 6. ศาสตราจารย์ 2.ตำาแหน่งผู้ บริหารสถาน ศึกษาและผู้ บริหารการ ศึกษา 1. รองผอ.สถานศึกษา 2. ผอ.สถานศึกษา 3. รองผอ.สนง.เขต พื้นที่กศษ. 4. ผอ.สนง.เขตพื้นที่ กศษ. 5. รองอธิการบดี 6. อธิการบดี 3.ตำาแหน่ง บุคลากร ทางการ ศึกษาอื่น 1. ศึกษานิเทศก์ 2. ตำาแหน่งที่เรียกชื่อ อย่างอื่นตามที่ ก.ค.ศ. กำาหนด 1 และ 2 มีใน หน่วยงานการ ศึกษาใดก็ได้ 3 – 6 มีใน หน่วย งานกา รศึกษา ที่สอน ระดับ
  • 9. ตำาแหน่งข้าราชการ ครูฯ จะมีในหน่วย งานการศึกษาใด จำานวนเท่าใด /ใช้ คุณสมบัติอย่างใด ให้เป็นไปตาม ที่ ก.ค.ศ. กำาหนด ก.ค.ศ. จัดทำามตฐ.ตำาแหน่ง / วิทยฐานะ/ตำาแหน่งทางวิชาการของ ข้าราชการครูฯไว้เป็นบรรทัดฐานทุก ตำาแหน่ง ทุกวิทยฐานะเพื่อใช้ในการ ปฏิบัติงาน ทั้งนี้ โดยคำานึงถึง 1.มาตรฐานวิชาชีพ 2.คุณวุฒิการศึกษา 3.การอบรม 4.ประสบการณ์ 5.ระยะเวลาการปฏิบัติงาน 6.คุณภาพการปฏิบัติงาน 7.ผลงานที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติ หน้าที่ หมวด ๔ การบรรจุและการ แต่งตั้ง การบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็น ข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษา เพื่อแต่งตั้งให้ดำารงตำาแหน่งใด ให้บรรจุและแต่งตั้งจากผู้สอบแข่งขัน ได้สำาหรับตำาแหน่งนั้น โดยบรรจุและ แต่งตั้งตามลำาดับที่ในบัญชีผู้สอบ แข่งขันได้ ให้ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา เป็น ผู้ดำาเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ และแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็น ข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษา หลักสูตร วิธีการสอบแข่งขัน และ วิธีดำาเนินการที่เกี่ยวกับการสอบ แข่งขัน ตลอดจนเกณฑ์ตัดสินการขึ้น บัญชีผู้สอบแข่งขันได้ การนำารายชื่อผู้ สอบแข่งขันได้ในบัญชีหนึ่งไปขึ้น บัญชีเป็นผู้สอบแข่งขันได้ในบัญชีอื่น และการยกเลิกบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ ให้เป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำาหนด ผู้ได้รับการบรรจุและแต่งตั้งฯ หากภาย หลังปรากฏว่าผู้นั้นขาดคุณสมบัติ ให้ผู้ มีอำานาจ สั่งให้ผู้นั้นออกจากราชการ โดยพลัน ถ้าการเข้ารับราชการเป็นไปโดย สุจริตแล้ว ให้ถือว่าเป็นการสั่งให้ออก จากราชการเพื่อรับบำาเหน็จบำานาญ เหตุทดแทนตามกฎหมายว่าด้วย บำาเหน็จบำานาญข้าราชการ หน่วยงานการศึกษาใดมีเหตุผลและ ความจำาเป็นอย่างยิ่งเพื่อประโยชน์แก่ ราชการที่จะต้องบรรจุและแต่งตั้ง บุคคลซึ่งมีความรู้ /สามารถ /ชำานาญ/ เชี่ยวชาญระดับสูงเข้ารับราชการเป็น ข้าราชการครูฯ ให้หน่วยงานการ
  • 10. ศึกษา ดำาเนินการขอความเห็นชอบจาก อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่กศษ.ก่อน แล้วให้ ขออนุมัติจาก ก.ค.ศ. ตำาแหน่งเป็นสัญญาจ้างปฏิบัติงาน รายปีหรือโดยมีกำาหนดเวลาตาม ระเบียบที่ ก.ค.ศ. กำาหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวง การคลัง หรือเป็นพนักงาน ราชการ โดยไม่ต้องเป็น ข้าราชการก็ได้ คณะกรรมการสรร หาผอ.สนง.เขตพื้นที่ กศษ. 1 ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประธานกรรมการ 2.กรรมการ – เลขาธิการสภาการศึกษา - เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน - เลขาธิการคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา - เลขาธิการคณะกรรมการการ อุดมศึกษา - เลขาธิการคุรุสภา 3.เลขาธิการ ก.ค.ศ. เป็นกรรมการ +เลขานุการ ขรก.ครูและบุคลากรทาง กศษ.มี วิทยฐานะใด และการเลื่อนเป็น วิทยฐานะใดต้องเป็นไปตาม มตฐ.วิทยฐานะ ซึ่งผ่านการ ประเมิน ทั้งนี้ ให้คำานึงถึง 1.ความประพฤติด้านวินัย คุณ/ จริย/ จรรฯวิชาชีพ 2.ประสบการณ์ 3.คุณภาพการปฏิบัติงาน 4.ความชำานาญ ความเชี่ยวชาญ 5.ผลงานที่เกิดจากการเรียน /สอน ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กำาหนด ขรก.ครูและบุคลากรทาง กศษ.ผู้ ใดไม่ผ่านการประเมินผลการ ปฏิบัติงานตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่ ก.ค.ศ. กำาหนด ให้ดำาเนินการตาม
  • 11. ความเหมาะสม ดังต่อไปนี้ 1. ให้มีการพัฒนาขรก.ผู้นั้นให้ปฏิบัติ งานมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล 2. ให้ดำาเนินการในมาตรการเกี่ยวกับ การเลื่อนขั้นเงินเดือน หรืองดเงิน ประจำาตำาแหน่ง หรือเงินวิทยฐานะ แล้วแต่กรณี 3. ในกรณีที่ผู้ใดไม่สามารถปฏิบัติ ราชการให้มีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผลในระดับที่กำาหนด ให้ผู้มี อำานาจ สั่งให้ผู้นั้นออกจากราชการ ผู้ใดได้รับการบรรจุ/แต่งตั้งใน ตำาแหน่งครู ให้ผู้นั้นเตรียมความ พร้อมและพัฒนาอย่างเข้มใน ตำาแหน่งครูผู้ช่วย เป็นเวลา 2 ปี ก่อนแต่งตั้งให้ดำารงตำาแหน่งครู ตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่กำาหนดในกฎ ก.ค.ศ. ผู้อยู่ระหว่างทดลองฯ/ เตรียมความพร้อมฯ การโอน – ย้าย (เป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำาหนด) การโอนพนักงานส่วนท้องถิ่นมาบรรจุ และแต่งตั้งเป็นข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา กรณีต่อไปนี้ 1.มิใช่พนักงานวิสามัญ 2.มิใช่ ขรก.ครูและบุคลากรทางกศษ. 3.มิใช่ข้าราชการการเมือง *** อาจทำาได้หากบุคคลนั้นสมัครใจ *** ขั้นตอน 1.ผู้มีอำานาจ ของหน่วยงานกศษ.ที่ ประสงค์จะรับโอนทำาความตกลงกับผู้มี อำานาจสั่งบรรจุของส่วนราชการหรือ หน่วยงานสังกัดเดิม 2.แล้วเสนอเรื่องให้ ก.ค.ศ. หรือ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ กศษ. แล้วแต่กรณี 1.ระหว่างทดลองฯ/เตรียมความพร้อม และพัฒนาอย่างเข้ม เห็นว่าขรก.ครู และบุคลากรทาง กศษ.ผู้ใด 1.มีความประพฤติไม่ดี 2.ไม่มีความรู้ 3.ไม่มีความเหมาะสม 4.มีผลการประเมินทดลองฯ/เตรียม ความพร้อมฯอยู่ตำ่ากว่าเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ. กำาหนด ** โดยไม่ควรให้รับราชการต่อ ไปก็ให้สั่งให้ผู้นั้นออกจาก ราชการได้ ไม่ว่าจะครบกำาหนด เวลาทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ หรือเตรียมความพร้อมและพัฒนา อย่างเข้มหรือไม่ก็ตาม 2.ถ้าพ้นกำาหนดเวลาทดลองฯ/เตรียม ความพร้อมฯเห็นว่า ควรให้ผู้นั้นรับ ราชการต่อไป ก็สั่งให้ ผู้นั้นปฏิบัติ หน้าที่ในตำาแหน่งหรือวิทยฐานะที่จะ ได้รับแต่งตั้งต่อไป ** ให้รายงานหัวหน้าส่วนราชกา รผอ.สนง.เขตพื้นที่การศึกษา หรือ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา แล้วแต่ กรณี 3.ถูกกล่าวหาว่ากระทำาความผิด อาญา/กระทำาผิดวินัย โดยมีมูลให้ผู้ บังคับบัญชาดำาเนินการทางวินัย ** กรณีที่จะต้องออกจากราชการ ก็ให้ผู้มีอำานาจ สั่งลงโทษหรือสั่ง ให้ผู้นั้นออกจากราชการ แล้วแต่ กรณี 4.ถูกสั่งให้ออกจากราชการ ใน ระหว่างทดลองฯ/เตรียมฯ **ที่มิใช่ เป็นการถูกลงโทษ ปลดออก หรือ ไล่ออก ให้ถือเสมือนว่าผู้นั้นไม่ เคยเป็น ขรก.ครูและบุคลากรทาง กศษ.
  • 12. อนุมัติ ** โดยให้คำานึงถึงประโยชน์ที่ หน่วยงานกศษ.นั้นจะได้รับเป็น สำาคัญ ** ** เพื่อประโยชน์ในการนับเวลา ราชการ ให้ถือเวลาราชการหรือเวลา ทำางานของผู้ที่โอนตามมาตรานี้ใน ขณะที่เป็นพนักงานส่วนท้องถิ่นตาม กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารงาน บุคคลส่วนท้องถิ่นหรือข้าราชการอื่น เป็นเวลาราชการของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาตามพระ ราชบัญญัตินี้ ก.ค.ศ. จัดทำามาตรฐานการเปรียบ เทียบตำาแหน่ง ระหว่างประเภทขรก.ต่างสังกัดองค์กร กลางบริหารงานบุคคลเพื่อประโยชน์ ในการบรรจุและแต่งตั้งให้ดำารงตำา แหน่งเป็นขรก.ครูและบุคลากรทา งกศษ. - ในตำาแหน่งใด - วิทยฐานะใด - ให้รับเงินเดือนเท่าใด ** ทั้งนี้ เงินเดือนที่จะได้รับ จะต้องไม่ สูงกว่าข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาที่มีคุณวุฒิ ความ สามารถ ความชำานาญหรือความ เชี่ยวชาญในระดับเดียวกัน ** เว้นแต่เป็นการโอนตามที่กำาหนดใน กฎ ก.ค.ศ. การย้าย ขรก.ครูและบุ คลากรฯ การย้ายขรก.ครูและบุคลากรฯผู้ ใดไปดำารงตำาแหน่ง 1.ในหน่วยงานกศษ.อื่นภายในเขต พื้นที่กศษ. 2.ต่างเขตพื้นที่กศษ. ขั้นตอน 1. ต้องได้รับอนุมัติจาก อ.ก.ค.ศ. เขต พื้นที่ฯของผู้ประสงค์ย้ายและผู้รับย้าย แล้วแต่กรณี 2.เมื่อ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ฯพิจารณา อนุมัติแล้วให้ผู้มีอำานาจ สั่งบรรจุและ แต่งตั้งข้าราชการผู้นั้นต่อไป การย้าย ตำาแหน่ง ผู้สั่งย้าย/อนุมัติ โดย 1.ผอ.สนง.เขตพื้นที่ ฯ 2.รองผอ.สนง.เขต พื้นที่ฯ เลขาธิการคณะ กรรมการการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน ก.ค.ศ.อนุมัติ 1.ข้าราชการพลเรือน สามัญ 2.ตำาแหน่งซึ่งก.ค.ศ.ยัง มิได้กำาหนด ก.ค.ศ.อนุมัติ จะกระทำา ได้ เ มื่ อ ก .ค .ศ .กำา ห น ด ตำาแหน่งแล้ว ให้ ก.ค.ศ. ดำาเนินการสับเปลี่ยน หน้าที่/ย้ายตำาแหน่ง ผอ.สนง.เขตพื้นที่กศษ. หรือตำาแหน่ง ที่มีลักษณะบริหารตามที่ ก.ค.ศ. กำาหนด โดยยึดหลักการให้อยู่ปฏิบัติ หน้าที่ในตำาแหน่งใดตำาแหน่งหนึ่งดัง กล่าวได้ไม่เกิน 4 ปี ** เว้นแต่มีเหตุผลและความจำาเป็น เพื่อประโยชน์ของทางราชการจะให้ ปฏิบัติหน้าที่ติดต่อในคราวเดียวกันได้ คราวละหนึ่งปีแต่ต้องไม่เกิน 6 ปี ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กำาหนด
  • 13. การเลื่อนตำาแหน่งบุคลากรทางการ ศึกษาซึ่งเป็นตำาแหน่งที่มิได้กำาหนดให้ มีวิทยฐานะเพื่อให้ได้รับเงินเดือนใน ระดับที่สูงขึ้น ให้กระทำาได้โดย 1.การสอบแข่งขัน สอบคัดเลือก คัด เลือก 2.ประเมินด้วยวิธีการอื่น ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธี การที่ ก.ค.ศ. กำาหนด การสอบคัดเลือกหรือการคัดเลือก อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา หรือ สถานศึกษาเป็นผู้ดำาเนินการ 1.หลักสูตร 2.วิธีดำาเนินการเกี่ยวกับการสอบ 3.คุณสมบัติของผู้สมัครสอบคัดเลือก 4.เกณฑ์ตัดสิน /ขึ้นบัญชี /ยกเลิก บัญชี เป็นไปตามที่ 5.วิธีดำาเนินการเกี่ยวกับการคัดเลือก ก.ค.ศ. 6.หลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน กำาหนด 7.การประเมินผลการปฏิบัติงาน 8.ผลงานทางวิชาการ ผู้สอบคัดเลือกได้หรือผู้ได้รับคัดเลือก ให้แต่งตั้งได้ตามความเหมาะสมโดย คำานึงถึง 1.ความประพฤติด้านวินัย/คุณธรรม/ จริยธรรม/จรรฯ 2.ค ว า ม รู้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ 3. ประสบการณ์ 4.ความชำา นาญ 5.ความ เชี่ยวชาญ 6.คุ ณ ภ า พ ข อ ง ผ ล ง า น ที่ ป ฏิ บั ติ 7.ประวัติการรับราชการ ขรก.ครูและบุคลากรฯ ผู้ใดได้รับ การแต่งตั้ง ให้เลื่อนตำาแหน่ง/เลื่อนวิทยฐานะ โดย 1.ไม่เข้าเกณฑ์มตฐ.ตำาแหน่ง / มตฐ.วิทยฐานะ 2.ไม่ผ่านกระบวนการเลื่อนตำาแหน่ง/ เลื่อนวิทยฐานะ ตามกม. หลักเกณฑ์ฯที่ ก.ค.ศ. กำาหนด 3.ผู้สั่งสั่งไม่ถูกต้องหรือไม่มีอำานาจสั่ง ***ให้ผู้มีอำานาจ สั่งให้ผู้นั้นกลับไป ดำารงตำาแหน่งหรือวิทยฐานะเดิมโดย พลัน *** ออกจากราชการและขอกลับ เข้ารับราชการตามเดิม ผู้ที่ออก – ขอกลับ หลักเกณฑ์/วิธี การกลับ 1.ผู้ใดได้รับอนุมัติ จากคณะ รัฐมนตรีให้ออก จากราชการไป ปฏิบัติงานใด 1.นับเวลาระหว่าง นั้นสำาหรับคำานวณ บำาเหน็จฯเหมือน เป็นเวลาราชการ 2. ถ้ากลับเข้ารับ ราชการภายใน กำาหนดเวลาที่ค เว้นแต่ ก.ค.ศ. จะอนุมัติให้ เลื่อนตำาแหน่งหรือเลื่อน วิทยฐานะในกรณีนั้นเป็นพิเศษ ให้ถือว่าผู้นั้นไม่มีและไม่เคย มีสถานภาพอย่างใดที่ได้รับ เลื่อนตำาแหน่ง หรือเลื่อน
  • 14. รม.อนุมัติแต่ไม่ เกิน 4 ปี 3.ผู้มีอำานาจสั่ง บรรจุ/แต่งฯ 2.ถูกสั่งให้ออกฯ เพื่อไป รับราชการ ทหาร 1.มิได้กระทำาการ ใดๆ เสียหายฯร้าย แรง/ได้ชื่อว่าเป็น ผู้ประพฤติชั่ว อย่างร้ายแรง 2. หากประสงค์จะ กลับเข้าในหน่วย งานการศึกษาเดิม ให้ยื่นเรื่องขอก ลับภายใน กำาหนด 180 วันนับแต่วันพ้น จากราชการ ทหาร 3.ผู้มีอำานาจ สั่ง บรรจุ/แต่งฯ กรณีอื่นๆ กรณี ผู้มีอำานาจสั่ง บรรจุ/แต่งตั้ง 1.สั่งขรก.ครูฯไป ปฏิบัติราชการใน หน่วยงานอื่น เป็นการชั่วคราว ในเขตพื้นที่ฯ ผอ.เขตฯ สั่งบรรจุ/ แต่ง อ.ก.ค.ศ.เขตฯ อนุมัติ 2.กรณีที่มีเหตุผล ความจำาเป็นสั่งข รก.ครูฯเป็นการ ชั่วคราวพ้นจาก 1.หัวหน้าส่วน ราชการ 2.ผอ.สนง.เขตฯ ตำาแหน่งเดิม หมวด ๕ การเสริมสร้างประสิทธิภาพใน การปฏิบัติราชการ ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ประเมินผลการ ปฏิบัติงานของข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา โดยยึดหลัก การ 1.ปฏิบัติตนที่เหมาะสมกับการเป็น ข้าราชการครูฯ 2.ปฏิบัติราชการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ /ประสิทธิผล 3.มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ ถือว่าผู้นั้นมี ความชอบสมควรได้รับบำาเหน็จความ ชอบ *** ซึ่งอาจเป็น 1.บันทึกคำาชมเชย 2.รางวัล 3.เครื่องเชิดชูเกียรติ 4.การเลื่อน ขั้นเงินเดือน 5.การบริหารงานบุคคลในเรื่องอื่น * เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธี การที่ ก.ค.ศ. กำาหนด * การเลื่อนขั้นเงินเดือนของข้าราช การครูฯ ให้ผู้บังคับบัญชาแต่งตั้งคณะ กรรมการขึ้นพิจารณา โดยการพิจารณาให้ยึดหลัก 1.คุณธรรม 2.ความเที่ยงธรรม 3. เปิดเผย โปร่งใส
  • 15. 4.พิจารณาจากผลการปฏิบัติงานเป็น หลัก 5.ความประพฤติในการรักษาวินัย คุณ/จริย/จรรฯ ** กรณีที่ผู้บังคับบัญชาไม่สั่งเลื่อน ขั้นเงินเดือนให้แก่ข้าราชการครูฯผู้ ใดให้ผู้บังคับบัญชาแจ้งให้ผู้นั้น ทราบพร้อมเหตุผลที่ไม่เลื่อนขั้น เงินเดือน ** ก.ค.ศ. กำาหนดขั้นเงินเดือน ประสิทธิภาพของตำาแหน่งข้าราชการ ครูและบุคลากรทางการศึกษาใน ตำาแหน่งที่มีวิทยฐานะ เพื่อ 1.ให้ปฏิบัติงานบังเกิดผลดี 2.มีความก้าวหน้า 3.ได้มาตรฐานงานของทางราชการ * ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่ ก.ค.ศ. กำาหนด * ข้าราชการครูฯผู้ ใด มี 1.ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ 2.ผลงานดีเด่น เป็นที่ประจักษ์ ให้ 1.กระทรวงเจ้า สังกัด 2.ส่วนราชการ 3.หน่วยงานการ ศึกษา **ดำาเนินการ ยกย่องเชิดชู เกียรติตามควร แก่กรณี** เพื่อประโยชน์ ในการเสริม สร้างขวัญและ กำาลังใจในการ ปฏิบัติงาน ก.ค.ศ. อาจกำาหนดให้ข้า ราชการครูฯผู้ที่มี ผลงานหรือผล การปฏิบัติงานดี เด่นหรือผู้ที่ได้รับ การยกย่องเชิดชู เกียรติให้ได้รับ เงินวิทยพัฒน์ ตามระเบียบที่ ก.ค.ศ. กำาหนด โดยความเห็น ชอบของคณะ รัฐมนตรี ข้าราชการครูฯผู้ ใดถึงแก่ความ ตายอันเนื่องมา จากการปฏิบัติ หน้าที่ราชการ ให้จัดสวัสดิการ แก่ครอบครัว ข้าราชการครูฯ ก่อนการมอบหมาย หน้าที่ให้ปฏิบัติ ให้ผู้บังคับบัญชา แจ้ง 1.ภาระงาน 2.มาตรฐานคุณภาพงาน 3.มาตรฐานวิชาชีพ /จรรยาฯ 4. เกณฑ์การประเมินผลงาน 5.ระเบียบแบบแผน 6.หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติราชการ 7.บทบาทหน้าที่ของข้าราชการใน ฐานะเป็นพลเมืองที่ดี ** ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กำาหนด **
  • 16. ผู้บังคับบัญชาปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างที่ ดีแก่ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาและมีหน้าที่ พัฒนาผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา เพื่อ 1.ให้มีความรู้ 2.ทักษะ 3.เจตคติที่ดี 4.คุณธรรม /จริยธรรม/จรรยาบรรณ วิชาชีพที่เหมาะสม ในอันที่จะทำาให้การปฏิบัติหน้าที่ ราชการเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความก้าวหน้าแก่ ราชการ ** หลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กำาหนด ** ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ใน การส่งเสริม สนับสนุน ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา โดยการให้ไป ศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติ งานวิจัยและพัฒนา ** ตามระเบียบที่ ก.ค.ศ. กำาหนด ** หมวด ๖ วินัยและ การรักษาวินัย ข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษาต้องรักษาวินัยที่บัญญัติเป็นข้อ ห้ามและข้อปฏิบัติไว้ในหมวดนี้ โดยเคร่งครัดอยู่เสมอ ต้อง ปฏิบัติดังนี้ 1.ต้องสนับสนุนการปกครองในระบอบ ปชต.อันมีking 2.ต้องปฏิบัติหน้าที่ฯด้วยความซื่อสัตย์/ สุจริต/เสมอฯ 3.ต้องปฏิบัติหน้าที่ฯให้เป็นไปตามกม./ ระเบียบ/แบบแผนฯ 4.ต้องปฏิบัติตามคำาสั่งของผู้บังคับ บัญชาซึ่งสั่งในหน้าที่ฯ 5.ต้องตรงต่อ เวลา อุทิศเวลาของตนให้แก่ ราชการ/ ผู้เรียน
  • 17. 6.ต้องประพฤติเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้ เรียน ชุมชน สังคม 7.ต้องไม่กลั่นแกล้ง กล่าวหา/ร้องเรียน ผู้อื่นโดยไม่จริง 8.ต้องไม่กระทำาการ/ยอมให้ผู้อื่น กระทำาการหาประโยชน์ 9.ต้องไม่คัดลอก/ลอกเลียนผลงานทาง วิชาการของผู้อื่น 10.ต้องไม่เป็นกรรมการผู้จัดการ/ผู้ จัดการ/ดำารงตำาแหน่งอื่น 11.ต้องวางตนเป็นกลางทางการเมือง ในการปฏิบัติหน้าที่ 12.ต้องรักษาชื่อเสียงของตนและรักษา เกียรติศักดิ์ราชการ ผู้บังคับบัญชา มีหน้าที่ 1.เสริมสร้างและพัฒนาให้ผู้อยู่ใต้ บังคับบัญชามีวินัย กระทำาโดยการ 1.ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี 2.การฝึกอบรม 3.การสร้างขวัญและกำาลังใจ/ การจูงใจ 2.การป้องกันมิให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา กระทำาผิดวินัย กระทำาโดยการ 1.เอาใจใส่ 2. สังเกตการณ์ 3.ขจัดเหตุที่อาจก่อให้เกิดการก ระทำาผิดวินัย กรณี ให้ผู้บังคับบัญชา ดำาเนินการ 1.มีมูลที่ควร กล่าวหาว่าข้าราช การครูฯผู้ใด กระทำาผิดวินัย โดยมีพยาน หลักฐานใน เบื้องต้นอยู่แล้ว ให้ผู้บังคับบัญชา ดำาเนินการทาง วินัยทันที 2.มีการกล่า วหาโดย ปรากฏตัวผู้ กล่าวหาหรือ กรณีเป็นที่ สงสัยว่าข้าราช การครูฯกระทำา ผิดวินัยโดยยัง ไม่มีพยาน หลักฐาน 1.รีบดำาเนินการ สืบสวนหรือ พิจารณา 2. ถ้าเห็นว่ากรณี ไม่มีมูลที่ควร กล่าวหาว่ากระทำา ผิดวินัยจึงจะยุติ เรื่องได้ 3.ถ้าเห็นว่ากรณี มีมูล ที่ควรกล่าว หาว่ากระทำาผิด วินัยก็ให้ดำาเนิน การทางวินัยทันที โทษทางวินัยมี ๕ สถาน คือ 1. ภาคทัณฑ์ 2. ตัดเงินเดือน 3. ลดขั้นเงินเดือน 4. ปลดออก 5. ไล่ออก ผู้ใดถูกลงโทษปลดออก ให้ผู้นั้นมี สิทธิได้รับบำาเหน็จฯเสมือนว่าเป็นผู้ ลาออกจากราชการ การลงโทษข้าราชการครูและบุคลากร
  • 18. ทางการศึกษา 1.ให้ทำาเป็นคำาสั่ง 2. ผู้สั่งลงโทษต้องสั่งลงโทษให้เหมาะ สมกับความผิด และมิให้เป็นไปโดย พยาบาท / อคติ / โทสะจริต หมวด ๗ การดำาเนิน การทางวินัย มีกรณี อันมีมูล ว่ากระทำา ผิดวินัย ให้ 1.ผู้บังคับบัญชาแต่งตั้งค กก.สอบสวน เพื่อดำาเนิน การสอบสวนให้ได้ความ จริงและความยุติธรรม โดยมิชักช้า การ สอบสวน จะต้อง 1.แจ้งข้อกล่าวหา 2.สรุปพยานหลักฐานที่ สนับสนุนข้อกล่าวหาเท่า ที่มีให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ โดยระบุหรือไม่ระบุชื่อ พยานก็ได้ เพื่อให้ผู้ถูก กล่าวหามีโอกาสชี้แจง และนำาสืบแก้ข้อกล่าวหา กระทำาผิด วินัยร่วม กัน ให้ผู้บังคับบัญชาใน ลำาดับชั้นสูงกว่าเป็นผู้ สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ สอบสวนผู้ถูกกล่าวหา ทั้งหมด กระทำาผิดวินัยร่วมกัน 1.ต่างหน่วย งานการศึกษา 2.ต่างเขตพื้นที่ การศึกษา ให้ผู้มีอำานาจ ของ ผู้ถูกกล่าวหา แต่ละรายประสาน การดำาเนินการ ร่วมกันในการแต่ง ตั้งคณะกรรมการ สอบสวน กรณีมีปัญหา/ความเห็นขัด แย้ง ในการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน กรณีผู้มีอำานาจ อยู่... ใครเป็นผู้วินิจฉัย ชี้ขาด 1.ในเขตพื้นที่ กศษ.เดียวกัน ผอ.สนง.เขตพื้นที่ กศษ. 2.ต่างเขตพื้นที่ กศษ. เลขาธิการคณะ กรรมการการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน 3.ต่างส่วน ราชการ รัฐมนตรี กรณีความผิด ที่ ปรากฏชัด แจ้ง จะดำาเนินการทาง วินัย โดยไม่สอบสวน ก็ได้ **เมื่อได้ดำาเนินการสอบสวนผู้ถูก กล่าวหาแล้ว ถ้าฟังได้ว่าผู้ถูกกล่าว หามิได้กระทำาผิดวินัย ให้สั่งยุติ
  • 19. เรื่อง **ถ้า ฟัง ไ ด้ว่า ก ร ะ ทำา ผิด วินัย ใ ห้ ดำาเนินการตามมาตรา ๑๐๐ **กรณีที่กระทำาผิดวินัยอย่างร้ายแรง ต้องลงโทษ ปลดออก หรือไล่ ออก ** ถ้ามีเหตุอันควรลดหย่อนผ่อนโทษ ** ห้ามมิให้ลดโทษตำ่ากว่าปลดออก 1. ภาคทัณฑ์ 2. ตั ด เ งิ น เดือน 3. ล ด ขั้ น เงินเดือน วินัยไม่ร้ายแรง 4.ปลดออก 5.ไล่ออก วินัยร้ายแรง ภาคทัณฑ์ ให้ใช้เฉพาะกรณีกระทำา ผิดวินัยเล็กน้อย หรือมี เหตุอันควรลดหย่อนซึ่ง ยังไม่ถึงกับจะต้องถูก ลงโทษตัดเงินเดือน ก ร ะ ทำา ผิ ด วิ นั ย เ ล็ ก น้ อ ย แ ล ะ มี เหตุอันควร งดโทษ จะงดโทษให้โดยให้ 1.ทำา ทั ณ ฑ์ บ น เ ป็ น หนังสือ 2.ห รื อ ว่ า ก ล่ า ว ตั ก เตือนก็ได้
  • 20. ข้าราชการครูฯผู้ใดกระทำาผิด วินัยอย่างร้ายแรง สมควรลงโทษปลดออกหรือไล่ ออก ให้ ดำาเนินการดังนี้ ให้กรรมการสอบสวนเป็นเจ้า พนักงานตามประมวลกฎหมาย อาญา และให้มีอำานาจเช่นเดียวกับ พนักงานสอบสวนตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเพียง เท่าที่เกี่ยวกับอำานาจและหน้าที่ คณะกรรมการสอบสวน มีอำานาจ ดังต่อไปนี้ด้วย คือ 1.เรียกให้กระทรวง ทบวง กรม ฯ ชี้แจงข้อเท็จจริง ฯ 2. เรียกผู้ถูกกล่าวหาหรือบุคคลใดๆ มาชี้แจง/ให้ถ้อยคำาฯ กรณีโทษร้ายแรง 1.กรณีถูกกล่าวหาว่ากระทำา/ละเว้น กระทำาการ(ร้ายแรง) 2.กล่าวหาเป็นหนังสือต่อผู้บังคับ บัญชาของผู้นั้น 3.มีกรณีถูกฟ้องคดีอาญา 4.ต้องหาว่ากระทำาความผิดอาญา เว้น แต่ฯประมาท/ลหุ แม้ภายหลังผู้นั้นจะออกจาก ราชการไปแล้ว เว้นแต่ออกจาก ราชการเพราะตาย ผู้มีอำานาจสามารถ ดำาเนินการสืบสวน/พิจารณาฯ เสมือน ว่าผู้นั้นยังมิได้ออกจากราชการ ตำาแหน่งที่ กระทำาผิด ผู้พิจารณา 1.อธิการบดี 2.ผอ.สนง.เขต พื้นที่ กศษ. 3.วิทยฐานะ เชี่ยวชาญพิเศษ 4.ศาสตราจารย์ ก.ค.ศ. ข้าราชการครูฯ นอกจาก (ต้านบน) อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ การศึกษาของผู้ ถูกกล่าวหา พิจารณา ต่างหน่วยงาน/ ต่างเขตพื้นที่การ ศึกษากระทำาผิด วินัยร่วมกัน ก.ค.ศ. 1.อ.ก.ค.ศ. เขต พื้นที่การศึกษา ของผู้ถูกกล่าวหา แต่ละรายที่สังกัด แล้วแต่กรณี มี ความเห็นขัดแย้ง กัน 2.ถ้าเป็นความ เห็นขัดแย้ง ระหว่างผู้มีอำานาจ สั่งแต่งตั้งคณะ กรรมการสอบสวน ในเขตพื้นที่การ ศึกษาเดียวกัน อ.ก.ค.ศ. ถ้าเป็นความเห็น ขัดแย้งระหว่างผู้มี อำานาจสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการ สอบสวน หรือ อ.ก.ค.ศ. ต่างเขต พื้นที่การศึกษา ก.ค.ศ.
  • 21. เว้นแต่ผลการสอบสวนหรือพิจารณา ปรากฏว่าผู้นั้นกระทำาผิดวินัยที่จะต้อง ลงโทษภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน หรือลด ขั้นเงินเดือน ให้สั่งงดโทษ กรณี 1.ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน กลับเข้ารับราชการ 2.สั่งให้ผู้ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ ก่อนออกจากราชการด้วยเหตุอื่นที่ มิใช่วินัยร้ายแรง ก็ให้ผู้นั้นมีสถานภาพเป็นข้าราชการ ครูฯตลอดระยะเวลาระหว่างที่ถูกสั่งให้ ออกจากราชการไว้ก่อน เสมือนว่าผู้นั้นเป็นผู้ถูกสั่งพัก ราชการ หมวด ๘ การออก จากราชการ ข้าราชการครูฯออกจากราชการเมื่อ 1. ตาย 2. พ้นจากราชการตามกม.ว่าด้วย บำาเหน็จฯ 3. ลาออกจากราชการและได้รับ อนุญาตให้ลาออก 4. ถูกสั่งให้ออกตาม... 5. ถูกสั่งลงโทษปลดออก /ไล่ออก 6. ถูกเพิกถอนใบอนุญาตฯ เว้นแต่ได้ รับแต่งตั้งให้ดำารงตำาแหน่งอื่นที่ไม่ต้อง มีใบอนุญาตฯ การลาออก 1.เพื่อประโยชน์แก่ราชการ จะ ยับยั้งการอนุญาตให้ลาออกไว้ เป็นเวลาไม่เกิน 90 วันนับตั้งแต่ วันขอลาออกก็ได้ แต่ต้องแจ้งการยับยั้ง /เหตุผลให้ผู้ขอ ลาออกทราบ และเมื่อครบกำาหนดเวลาที่ยับยั้งแล้ว ให้การลาออกมีผลตั้งแต่วันถัดจากวัน ครบกำาหนดเวลาที่ยับยั้ง 2.ไม่ได้อนุญาตให้ลาออก ให้การลาออกนั้น 3.ไม่ได้ยับยั้ง มีผลตั้งแต่วันขอลาออก ถูกสั่งเพิกถอนใบ อนุญาตประกอบวิชาชีพ มีตำาแหน่งว่าง ไม่มีตำาแหน่ง ว่าง ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่หน่วย งานการศึกษาของ ผู้ถูกสั่งเพิกถอน อยู่ได้รับหนังสือมี ตำาแหน่งว่างหรือ ไม่ต้องมีใบ อนุญาตฯ ผู้บังคับบัญชาเห็น ว่า ผู้นั้นมีความ เหมาะสม ให้ส่ง เรื่องให้ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การ 1.ภายในกำาหนด เวลา 30 วัน ถ้า ไม่มีตำาแหน่งว่าง 2.อ.ก.ค.ศ. เขต พื้นที่กศษ.หรือ ก.ค.ศ. แล้วแต่ กรณี ไม่อนุมัติ ให้ผู้มีอำานาจ สั่ง ให้ผู้นั้นออกจาก ราชการโดย
  • 22. ศึกษา หรือ ก.ค.ศ. แล้วแต่ กรณี เพื่อพิจารณา อนุมัติ พลัน ถูกสั่งให้ออกจากราชการเพื่อรับ บำาเหน็จฯเหตุทดแทน ให้ทำาได้ในกรณีต่อไปนี้ด้วย คือ 1. เจ็บป่วยไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ราชการ ของตนได้สมำ่าเสมอ 2. สมัครไปปฏิบัติงานใดๆ ตามความ ประสงค์ของทางราชการ 3. ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ... 4. มีกรณีถูกกล่าวหา/เหตุอันควรสงสัย ว่าเป็นผู้ขาดคุณสมบัติ 5. เมื่อทางราชการเลิกหรือยุบตำาแหน่ง ใด 6. ไม่สามารถปฏิบัติราชการให้มี ประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล กรณีถูกกล่าวหา หรือมีเหตุอันควร สงสัยว่าหย่อน/ บกพร่องในหน้าที่ ราชการ กรณีมีมูล ถ้า ให้ผู้นั้นรับ ราชการต่อไป จะเป็นการเสีย หายแก่ ราชการก็ให้ผู้ มีอำานาจดัง กล่าวสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการ สอบสวนโดย ไม่ชักช้า ป ร ะ พ ฤ ติ ต น ไ ม่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ตำา แ ห น่ ง ห น้ า ที่ ราชการ กรณีมีเหตุอันควร สงสัยอย่างยิ่งว่าผู้ นั้นได้กระทำาผิด วินัยอย่างร้าย แรง แต่การ สอบสวนไม่ได้ ก็ให้ส่งเรื่องให้ ก.ค.ศ. หรือ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ การศึกษาแล้วแต่ กรณี พิจารณา ความแน่ชัดพอที่ จะสั่งให้ลงโทษ วินัยอย่างร้ายแรง ถ้าให้รับราชการ ต่อไปจะเป็นการ เสียหายแก่ ราชการ ให้ออกจาก ราชการ ต้องรับโทษจำาคุก โดยคำาสั่งของ ศาล/คำาพิพากษา ถึงที่สุดให้จำาคุก ในความผิดที่ ประมาท+ลหุโทษ ซึ่งยังไม่ถึงกับจะ ต้องถูกลงโทษ ปลดออก หรือไล่ ออก สั่งให้ผู้นั้นออก จากราชการเพื่อ รับบำาเหน็จ บำานาญเหตุ ทดแทน *** การออกจากราชการของข้าราช การครูฯในตำาแหน่งซึ่งมีพระบรม ราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง ให้นำา ความกราบบังคมทูลเพื่อทรงทราบ (เว้นแต่ ตาย) หมวด ๙ การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ กรณี อุทธรณ์ต่อ ภายใน(กี่ วัน) 1.ภาคทัณ ฑ์ 2.ตัดเงิน เดือน 3.ลดขั้น 1.อ.ก.ค.ศ.เ ขตฯ 2.อ.ก.ค.ศ. ที่ก.ค.ศ.ตั้ง 3.แล้วแต่ 30 วัน (นับแต่วันที่ รับแจ้ง)
  • 23. เงินเดือน กรณี 4.ปลดออก 5.ไล่ออก *ถูกให้ออก จาก ราชการ มีสิทธิ์ อุทธรณ์ และร้อง ทุกข์ ต่อ ก.ค.ศ. 30 วัน **ก.ค.ศ.พิจ ารณาให้ แล้วเสร็จ ภายใน 90 วัน ** -ไม่ได้รับความ เป็นธรรม - คับข้องใจจาก การกระทำาของ 1.ผู้บังคับฯ 2.คณะ กรรมการ ร้องทุกข์ ต่อ 1.อ.ก.ค.ศ.เ ขตฯ 2.อ.ก.ค.ศ.ที่ ก.ค.ศ.ตั้ง 3.ก.ค.ศ.แล้ว แต่กรณี กรณีนี้ มี สิทธิ์ฟ้อง ร้องต่อ ศาล ปกครอง ความผิดวินัยร้ายแรง มี ดังนี้ 1. ห้ามมิให้อาศัยหรือยอมให้ผู้อื่น หา ประโยชน์โดยมิชอบ 2. ประมาทเลินเล่อ/ขาดการเอาใจใส่ อันเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่ ราชการอย่างร้ายแรง 3.การขัดคำาสั่ง/หลีกเลี่ยงไม่ปฏิบัติ ตามคำาสั่งของผบ. อันเป็นเหตุให้เสีย หายแก่ราชการอย่าง (แต่ถ้าเห็นว่าการปฏิบัติตามคำาสั่งนั้น จะทำาให้เสียหายแก่ราชการ หรือจะ เป็นการไม่รักษาประโยชน์ของทาง ราชการจะเสนอความเห็นเป็นหนังสือ ภายใน 7 วัน เพื่อให้ผู้บังคับบัญชา ทบทวนคำาสั่งนั้นก็ได้และเมื่อเสนอ ความเห็นแล้ว ถ้าผู้บังคับบัญชายืนยัน เป็นหนังสือให้ปฏิบัติตามคำาสั่งเดิม ผู้ อยู่ใต้บังคับบัญชาจะต้องปฏิบัติตาม) 4.ทอดทิ้ง/ละทิ้งหน้าที่ โดยไม่มี เหตุผลอันสมควร - ละทิ้งหน้าที่ติดต่อเกินกว่า 15 วัน 5. การกลั่น/หมิ่น/ เหยียดหยาม/ กดขี่ /ข่มเหงผู้เรียน +ประชาชนผู้มา ติดต่อราชการ 6.ไม่กลั่นแกล้ง กล่าวหา/ร้องเรียนผู้ อื่นโดยไม่จริง ถ้าเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับ ความเสียหาย 7.ซื้อขาย ตำาแหน่งหรือวิทยฐานะใด โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย เพื่อให้ ตนเองหรือผู้อื่นได้บรรจุ/แต่งตั้ง
  • 24. 8.ใช้ผู้อื่นทำาผลงานทางวิชาการ เพื่อ ไปใช้เลื่อนตำาแหน่ง /วิทยฐานะ 9. ต้องไม่เข้าไปเกี่ยวข้องกับการ ทุจริต /ซื้อสิทธิ/ขายเสียงในการเลือก ตั้ง 10.ทำาความผิดอาญาจนได้รับโทษจำา คุก /หนักกว่าจำาคุก โดยคำาพิพากษา ถึงที่สุดฯอันใดชื่อว่า เป็นผู้ประพฤติชั่ว อย่างร้ายแรง