SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 89
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ผลของพาโคลบิวทราโซลต่อพัฒนาการของใบชวนชม
พันธุ์ฮอลแลนด์-มิสไทยแลนด์
นิติพัฒน์ พัฒนฉัตรชัย 1-12
ผลของกรดแนฟทาลีนอะซีติกและเบนซิลอะดีนีนต่อความเป็นพิษ
ของฟลูออรีนและฟลูออแรนทีนในข้าวเจ้าพันธุ์ กข 47
วราภรณ์ ฉุยฉาย พรรณี ชาติชัย และขนิษฐา สมตระกูล 13-22
การเลี้ยงปลาดุกลูกผสมด้วยระบบน้าหมุนเวียน
กมลวรรณ ศุภวิญญู ยุทธนา สว่างอารมณ์ ศิลป์ชัย มณีขัติย์
และณิชาพล บัวทอง 23-32
การปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมและการย่อยสลายเอนโดซัลแฟนโดยจุลินทรีย์
ขนิษฐา สมตระกูล 33-50
กลยุทธ์การจัดการผลิตผักกางมุ้งของกลุ่มเกษตรกรบ้านสะอาดสมศรี
ตาบลภูปอ อาเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์
นงนภัส ศิริวรรณ์หอม และสุภาภรณ์ พวงชมภู 51-61
การจัดการปัจจัยการผลิตของเกษตรกรภายใต้โครงการบัตรสินเชื่อเกษตรกร
อาเภอบ้านฝาง จังหวัดขอนแก่น
เวชยันต์ อบมาสุ่ย และสุภาภรณ์ พวงชมพู 62-70
ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
ของชาวไทยภูเขาเผ่ากะเหรี่ยงในโครงการสถานีพัฒนาการเกษตรที่สูง
ตามพระราชดาริดอยแบแล อาเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่
พงศ์วิชญ์ กันทะวงศ์ และวรทัศน์ อินทรัคคัมพร 71-78
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร
สานักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2557 ISSN 0125-8850
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร
JOURNAL OF AGRICULTURAL RESEARCH AND EXTENSION
ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จาเนียร ยศราช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พาวิน มะโนชัย
รองศาสตราจารย์ ดร.ด้วง พุธศุกร์
บรรณาธิการอานวยการ รองศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ ข้ามสี่
รองศาสตราจารย์จาเนียร บุญมาก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จีราภรณ์ อินทสาร
อาจารย์ ดร.สุรีย์วัลย์ เมฆกมล
บรรณาธิการ อาจารย์ ดร.วีรศักดิ์ ปรกติ
กองบรรณาธิการ
ศาสตราจารย์เฉลิมพล แซมเพชร ศาสตราจารย์ ดร.สิริวัฒน์ วงษ์ศิริ
ศาสตราจารย์ ดร.ไพศาล สิทธิกรกุล ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์
ศาสตราจารย์ ดร.ประนอม จันทรโณทัย ศาสตราจารย์ ดร.อนุรักษ์ ปัญญานุวัฒน์
ศาสตราจารย์ ดร.สัญชัย จตุรสิทธา รองศาสตราจารย์ ดร.ปราโมช ศีตะโกเศศ
รองศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ จรรยาสุภาพ รองศาสตราจารย์ ดร.สิทธิสิน บวรสมบัติ
รองศาสตราจารย์ ดร.นพมณี โทปุญญานนท์ รองศาสตราจารย์อ้อมทิพย์ เมฆรักษาวนิช แคมป์
รองศาสตราจารย์ประวิตร พุทธานนท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธีระพงษ์ สว่างปัญญางกูร
อาจารย์ ดร.เสกสันต์ อุสสหตานนท์
คณะกรรมการดาเนินงาน นางสาววารี ระหงษ์ นางธัญรัศมิ์ ธวัชมงคลศักดิ์
นางสาวรังสิมา อัมพวัน นางทิพย์สุดา ปุกมณี
นายสมยศ มีสุข นางสาวอัมภา สันทราย
นางจิรนันท์ เสนานาญ นางสาวดิษวรรณ สุทัศน์สันติ
ฝ่ายประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ นายปริญญา เพียรอุตส่าห์ นายประสิทธิ์ ใจคา
นางประไพศรี ทองแจ้ง นางสุรีย์ อภิไชย
จัดทาโดย ฝ่ายนวัตกรรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี สานักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์ 0-5387-3935 โทรสาร 0-5387-8106
E-mail: res_journal@mju.ac.th
Web site: www.rae.mju.ac.th
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร (ISSN 0125-5580) เป็นวารสารทางวิชาการของมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ซึ่งมีนโยบายเพื่อเผยแพร่งานวิจัยและบทความทางวิชาการด้านการเกษตร เป็นวารสารราย 4 เดือน กาหนดออกปีละ 3 ฉบับ
โดยมีการเผยแพร่ออนไลน์ (journal on line) ในรูปวารสารทางอิเล็กทรอนิกส์ และมีการเผยแพร่ในรูปเล่มสาหรับจัดส่งให้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการเกษตร
บทบรรณาธิการ
แนวคิดของปราชญ์เดิมของไทยที่บันทึกภูมิปัญญาที่ได้รวบรวมและสังเคราะห์จากความจริงเชิง
ประจักษ์ เบ็ดเสร็จแล้วมักเป็นที่ยกย่องบูชาจนกลายเป็นพระคัมภีร์ต้นแบบการถือปฏิบัติ ปลูกฝังไว้ใน
ชีวิตประจาวันมาช้านาน สิ่งที่เป็นคาถามท้าทายในปัจจุบัน คือ เมื่อบริบทเปลี่ยนไป ข้อปฏิบัติจะเป็นอย่างเดิม
หรือไม่
ภูมิปัญญาเพื่อสร้างสรรค์สิ่งที่ดีกว่าให้มวลมนุษยชาติ มักเป็นโจทย์ที่ท้าทายแนวคิดและมุมมองของ
ผู้ทรงภูมิทั้งหลายเสมอมา ทางออกที่เกิดขึ้นก็พัฒนาสั่งสมเป็นภูมิปัญญาเพิ่มขึ้นจากประสบการณ์ ที่ได้รับมา
ร้อยเรียงทดสอบให้เป็นองค์ความรู้ที่ยอมรับได้ในชุมชนที่ขยายตัวไปตามลาดับ
นอกเหนือไปจากการทดสอบ ทบทวนองค์ความรู้ที่ได้จากต่างสถานที่ ต่างเวลา และต่างปัจจัยเพื่อ
ยืนยันและบันทึกไว้เป็นประโยชน์แก่ชุมชนแล้ว การเผยแพร่บทเรียนที่ได้รับก็สามารถยังประโยชน์ให้ชุมชนอื่น
สามารถผนวกรวมกับความรู้เก่าที่มีอยู่ นามาใช้ประโยชน์ให้เกิดผลดียิ่งขึ้นอีกด้วย
เราจะเห็นโจทย์คาถามลักษณะเช่นนี้เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน ที่นาเอาวิถีการตอบปัญหาเชิง
วิทยาศาสตร์มาใช้เพื่อบุกเบิกขอบฟ้าแห่งภูมิปัญญา มาตอบโจทย์วิธีการที่จะทาให้มนุษยชาติอยู่รอดอย่าง
มีความสุข เป็นตัวชี้วัดที่เรียกว่า “ความสุข” หรือ “คุณภาพชีวิต” ที่ดีกว่า ทั้งจากการค้นคว้าวิจัยพื้นฐาน
วิจัยประยุกต์ ไม่ว่าจะเน้นเชิงปริมาณหรือคุณภาพก็ตาม
ประเด็นแนวคิดต่างๆ ที่ผู้วิจัยนาเสนอเพียงย่อๆ นั้น ก็ยังสามารถชี้นาแนวทางการตอบปัญหาการ
เปลี่ยนแปลงของบริบทที่จะเกิดขึ้นในอนาคต หรือเกิดขึ้นแล้วในลักษณะเดียวกันที่ผู้อ่านและผู้สนใจสามารถ
นาไปใช้เป็นแสงไฟแห่งปัญญา เพื่อฉายทางออก ทางเลือก หรือทางรอดของภูมิปัญญา ที่จะสนองความ
ต้องการของชุมชนต่อไปในรูปของบทวิจัยหรือบทความทางวิชาการ ที่เชื่อมประสานความรู้เดิมสู่องค์ความรู้
ใหม่ เป็นสังคมการเรียนรู้ที่พัฒนาต่อไปโดยไม่หยุดยั้ง
ในวารสารฉบับนี้มีทั้งบทสรุปและรายงานวิจัย ทั้งงานวิจัยพื้นฐานและงานวิจัยประยุกต์ ที่ชี้ช่องทาง
ให้ผู้อ่านทั้งจากการวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ และข้อสังเกตต่างๆ ในการวิจัยโดยย่อ เพื่อให้
ผู้สนใจติดตามเรื่องราวต่อไปจากผู้วิจัยตามที่อยู่ที่มีอยู่แล้วครับ ขอชื่นชมแรงบันดาลใจใฝ่รู้ของทุกท่านครับ
(อาจารย์ ดร.วีรศักดิ์ปรกติ)
บรรณาธิการวารสารวิจัยฯ
Journal of Agr. Research & Extension 31(1): 1-12
1
ผลของพาโคลบิวทราโซลต่อพัฒนาการของใบชวนชมพันธุ์ฮอลแลนด์-มิสไทยแลนด์
Effects of Paclobutrazol on Leaf Development of Adenium obesum
cv. Holland-Miss Thailand
นิติพัฒน์ พัฒนฉัตรชัย
Nitipat Pattanachatchai
สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ สุรินทร์ 32000
Department of Agriculture and Environment, Faculty of Science and Technology, Surindra Rajabhat University
Surin, Thailand 32000
Corresponding author: pattanachatchai@gmail.com
Abstract
The effects of paclobutrazol (PBZ) on leaf development of 4-months-old Adenium obesum cv.
Holland-Miss Thailand was carried out during January-May, 2011 at Economic Productive House,
Department of Agriculture and Environment, Surindra Rajabhat University. The experiment was arranged
as factorial in CRD. Different concentration of PBZ; 0, 100, 200, 300 and 400 mg/l and different time of soil
drenching; day of shoot cutting (DSC), 15 days before shoot cutting (15 DBSC) and 15 days after shoot
cutting (15 DASC) were determined as main factor. There were 15 treatment combinations which each was
replicated 5 times. Seven experimental plants were assingned for each replication. The results revealed
that interaction of main factor significantly affected days to full expanding of new leaves, number of new
shoot, number of fallen leaves and leaf area (P<0.05). Soil drenching of distilled water at DSC shortened
the period of full leaf expanding, whereas soil drenching of 300 mg/l at DSC and 15 DASC highly promoted
number of new shoot. Similarly, soil drenching of 200 mg/l PBZ at 15 DASC hastened most of leaf
abscission. Nevertheless, leaf area was remarkably decreased by soil drenching of 100 mg/l PBZ. Time of
PBZ soil drenching at 15 DASC was only a main factor that affected the least days to new leaf presence.
In addition, the greatest number of leaves attached to stem was promoted by the same time of PBZ soil
drenching. Soil drenching of 200 mg/l PBZ decreased number of leaves attached to stem.
Keywords: paclobutrazol, development, Adenium obesum
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 31(1): 1-12
2
บทคัดย่อ
การศึกษาผลของพาโคลบิวทราโซลต่อ
พัฒนาการของใบชวนชมพันธุ์ฮอลแลนด์-มิสไทยแลนด์
อายุ 4 เดือน ณ เรือนผลิตพืชเศรษฐกิจ ภาควิชาเกษตร
และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ระหว่าง
เดือนมกราคมถึงพฤษภาคม 2554 โดยวางแผนการ
ทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) ที่จัดสิ่งทดลองแบบ
แฟคทอเรียลที่ประกอบด้วย 2 ปัจจัย คือ ความเข้มข้น
ที่แตกต่างกัน 5 ระดับ ได้แก่ 0, 100, 200, 300 และ
400 มก./ล. และระยะเวลาในการราดสารที่แตกต่างกัน
3 ระยะ ได้แก่ ราดพร้อมการตัดยอด ราดก่อนการตัด
ยอด 15 วัน และราดหลังการตัดยอด 15 วัน มีจานวน
15 กรรมวิธีๆ ละ 5 ซ้าๆ ละ 7 ต้น ผลการทดลอง พบว่า
อิทธิพลร่วมกันของระดับความเข้มข้น และระยะเวลา
ในการราดสาร มีผลอย่างมีนัยสาคัญ (P<0.05) ต่อจานวน
วันที่ใบใหม่คลี่บานเต็มที่ จานวนยอดใหม่ จานวนใบที่
ร่วงหล่น และพื้นที่ใบ โดยกรรมวิธี ที่ราดด้วยน้ากลั่น
พร้อมการตัดยอดมีผลทาให้ใบใหม่คลี่บานเต็มที่ใน
ระยะเวลาสั้นที่สุด แต่เมื่อราดสารที่ระดับความเข้มข้น
300 มก./ล. พร้อมการตัดยอดและหลังการตัดยอด 15 วัน
พบว่า ส่งเสริมให้มีจานวนยอดใหม่ได้มากที่สุด ใน
ขณะที่การราดสารที่ระดับความเข้มข้น 200 มก./ล.
หลังการตัดยอด 15 วัน มีผลต่อการร่วงหล่นของใบ
มากที่สุด อย่างไรก็ตามการลดลงของพื้นที่ใบมากที่สุด
นั้นเป็นผลมาจากการได้รับสารที่ระดับความเข้มข้น
เพียง 100 มก./ล. สาหรับการตอบสนองด้านจานวน
วันที่ใบใหม่ปรากฏได้เร็วที่สุด เป็นผลจากปัจจัยหลัก
ด้านระยะเวลาในการราดสารเท่านั้น โดยพบว่า การ
ราดสารหลังการตัดยอด 15 วัน มีผลต่อระยะเวลา
ดังกล่าวได้สั้นที่สุด และยังมีผลต่อจานวนใบที่ติดอยู่
กับต้นมากที่สุด นอกจากนี้ยังพบว่า จานวนใบที่ติดอยู่
กับต้นที่ลดลงมากที่สุด เป็นผลมาจากการราดสารที่
ระดับความเข้มข้น 200 มก./ล
คาสาคัญ: พาโคลบิวทราโซล พัฒนาการ ชวนชม
คานา
ชวนชม (Adenium obesum (Forssk.) Roem
& Schult) เป็นไม้ประดับในวงศ์ Apocynaceae ที่มี
ความทนทานต่อสภาพภูมิอากาศที่แห้งแล้งจนได้รับ
สมญานามว่า กุหลาบทะเลทราย ด้วยลักษณะนิสัย
ตามธรรมชาติ ที่มีอัตราการเจริญเติบโตช้าแต่มีรูปทรง
ของลาต้นและพุ่มใบที่สวยงาม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
บริเวณโคนลาต้นที่เชื่อมต่อกับโคนราก ซึ่งมีลักษณะ
บวมพองออก เรียกว่า โขด (caudex) เพื่อทาหน้าที่ใน
การสะสมน้า จึงมีความเหมาะสมอย่างยิ่งต่อการปลูกใน
ลักษณะของไม้กระถาง เพื่อการประดับตกแต่งอาคาร
และภูมิทัศน์โดยรอบ นอกจากนี้แล้วยังถูกใช้ประโยชน์
เพื่อเป็นต้นตอสาหรับการเสียบยอดพันธุ์ดีอื่นๆ ได้
เป็นอย่างดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งชวนชมพันธุ์ฮอลแลนด์-
มิสไทยแลนด์ ที่สามารถตอบสนองต่อการใช้ประโยชน์
ทั้งในด้านการให้ดอกติดกับต้น รูปทรงของโขดที่
สวยงาม และการใช้เพื่อเป็นต้นตอ แต่ด้วยอัตราการ
เจริญเติบโตที่ค่อนข้างช้า จึงเป็นผลให้พัฒนาการของ
ใบซึ่งเป็นองค์ประกอบที่แสดงความสวยงามของทรง
พุ่มอยู่ในอัตราที่ช้าตามไปด้วย นอกจากนี้ การเติบโต
ของใบตามธรรมชาติอาจขาดความเหมาะสมกับขนาด
ของทรงพุ่มและภาชนะที่ปลูก
การปล่อยให้ชวนชมที่ปลูกอยู่ในภาชนะปลูก
มีพัฒนาการและการเติบโตตามธรรมชาตินั้น มักพบ
เสมอว่า พัฒนาการและการเติบโตของใบไม่ได้สมดุล
กับทรงพุ่ม เป็นผลให้มีระยะเวลาการเกิดใบ จานวนใบ
ขนาดของใบ อายุของใบในทรงพุ่มเดียวกันแตกต่างกัน
ซึ่งในกรณีของการปลูกชวนชมเพื่อเป็นไม้ประดับ
กระถางหรือบอนไซนั้นย่อมมีผลต่อความสวยงามที่
ปรากฏ อย่างไรก็ตามการใช้สารชะลอการเจริญเติบโต
ของพืชชนิดพาโคลบิวทราโซล ซึ่งมีรายงานถึงความ
สาเร็จในการควบคุมการเจริญเติบของใบในพืชหลาย
ชนิด เช่น ยูมิโคส (เกียมศักดิ์และวันดี, 2548) ไทร
(LeCain et al., 1986) Epipremnum aureum Bunt.
(Conover and Satterthwaite, 1996) และมะม่วง
Journal of Agr. Research & Extension 31(1): 1-12
3
(นาถฤดี, 2553) เนื่องจากสารพาโคลบิวทราโซลซึ่ง
จัดอยู่ในกลุ่มไทรอะโซล มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของ
ระดับไซโตไคนินในข้าว (Izumi et al., 1988) คาร์เนชั่น
(Sebastian etal., 2002) และแอปเปิ้ล (Zhu etal., 2004)
เพราะการเพิ่มขึ้นของไซโตไคนินในพืชมีผลต่อการ
ส่งเสริมการแบ่งเซลล์เพิ่มขึ้น และการพัฒนาของตา
และยอด (Arteca, 1996) อย่างไรก็ตามบทบาทที่
เด่นชัดของสารในกลุ่มนี้ คือ การยังยั้งการสังเคราะห์
จิบเบอเรลลิน เป็นผลให้ระดับของสารดังกล่าวลดต่าลง
(Steffens et al., 1992) อันเป็นสาเหตุของการไม่ยืดยาว
ของกิ่ง เนื่องจากการยับยั้งการแบ่งเซลล์และการยืดยาว
ของเซลล์ (Cummings et al., 1999) ซึ่งเป็นเซลล์ใน
บริเวณใต้ปลายยอด จานวนใบจึงยังคงไม่เปลี่ยนแปลง
(Sterrett, 1985) แต่ในรายงานของ Davis et al. (1988)
กล่าวถึงการตอบสนองของพืชต่อสารในกลุ่มไทรอะโซล
ว่ามีความแตกต่างกันไปตามชนิดพืช อายุพืช พันธุ์พืช
ปริมาณกาหนด และวิธีการให้สาร ดังนั้น การทดลอง
ใช้สารพาโคลบิวทราโซลเพื่อควบคุมพัฒนาการของ
ใบชวนชมพันธุ์ฮอลแลนด์-มิสไทยแลนด์ที่ปลูกเป็น
ไม้กระถาง จึงอาจจะเป็นแนวทางในการแก้ปัญหา
พัฒนาการของใบในทรงพุ่มได้อย่างเหมาะสม
อุปกรณ์และวิธีการ
ทาการทดลองกับชวนชมพันธุ์ฮอลแลนด์-
มิสไทยแลนด์ อายุ 4 เดือน ที่ได้จากการเพาะเมล็ด
ในระบบผสมเกสรด้วยมือจากต้นพ่อและต้นแม่พันธุ์
เดียวกัน จานวน 525 ต้น ณ เรือนผลิตพืชเศรษฐกิจ
ภาควิชาเกษตรและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุรินทร์ อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ ระหว่างเดือน
มกราคมถึงพฤษภาคม พ.ศ. 2554 โดยวางแผนการ
ทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) ที่จัดสิ่งทดลองแบบ
แฟคทอเรียล 5X3 มีปัจจัยแรก คือ ระดับความเข้มข้น
ที่ต่างกัน 5 ระดับ ของพาโคลบิวทราโซล ได้แก่
0, 100, 200, 300, และ 400 มก./ล. และปัจจัยที่สอง
คือ ระยะเวลาในการราดสารพาโคลบิวทราโซลที่
ต่างกัน 3 ระยะ ได้แก่ ราดพร้อมการตัดยอด ราดก่อน
การตัดยอด 15 วัน และราดหลังการตัดยอด 15 วัน
แต่ละกรรมวิธีทา 5 ซ้า แต่ละซ้าใช้พืชทดลอง 7 ต้น
ทั้งนี้พืชทดลองแต่ละต้นได้รับการตัดยอดเดิมออกไป
โดยวัดระยะความสูงจากผิววัสดุปลูกขึ้นไป 5 ซม. การ
ราดสารทาโดยราดสารลงวัสดุปลูกจานวน 1 ครั้ง ใน
แต่ละกรรมวิธีปริมาณ 50 มล. ต่อกระถาง ทาการงด
การให้น้าในวันที่ราดสาร เพื่อป้องกันการชะล้างสาร
ออกไปกับน้าส่วน เกินที่แต่ละกระถางได้รับ การให้น้า
กระทาหลังจากวันที่ราดสารแล้ว 2 วัน และหลังจาก
นั้นอีกทุก 2 วัน จนกระทั่งครบระยะเวลา 120 วัน การ
บันทึกข้อมูลพัฒนาการบางประการของใบ ทาหลังจาก
พืชทดลองได้รับกรรมวิธีจนกระทั่งครบ 120 วัน โดย
บันทึกลักษณะพัฒนาการใดๆ ที่เกิดขึ้นก่อน จนกระทั่ง
ครบทุกหน่วยทดลอง ได้แก่ จานวนวันที่ใบใหม่ปรากฏ
จานวนวันที่ใบใหม่คลี่บานเต็มที่ และจานวนใบที่ร่วง
หล่น สาหรับลักษณะจานวนใบที่ติดอยู่กับต้น และ
พื้นที่ใบบันทึกเมื่อพืชทดลองได้รับกรรมวิธีต่างๆ ครบ
120 วัน
ผลการทดลอง
จานวนวันที่ใบใหม่ปรากฏ
ระดับความเข้มข้นของสารพาโคลบิวทราโซล
ที่แตกต่างกันในช่วง 0 ถึง 400 มก./ล. และอิทธิพล
ร่วมของระดับความเข้มข้นและระยะเวลาในการราด
สาร ไม่แสดงอิทธิพลอย่างมีนัยสาคัญต่อจานวนวันที่
ใบใหม่ปรากฏ ต่อจานวนวันที่ใช้เพื่อการพัฒนาใบใหม่
ในขณะที่ระยะเวลาในการราดสารมีผลต่อลักษณะ
ดังกล่าวอย่างมีนัยสาคัญ โดยพบว่า การราดสารหลัง
การตัดยอด 15 วัน ส่งเสริมให้ใบใหม่ปรากฏได้ใน
ระยะเวลาเฉลี่ยเพียง 5.75 วัน แต่การราดสารพร้อม
การตัดยอดและก่อนการตัดยอด 15 วัน ใช้ระยะเวลา
เฉลี่ยเพิ่มขึ้นถึง8.27 และ 22.07 วัน ตามลาดับ (Table 1)
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 31(1): 1-12
4
Table 1 Days to new leaf presence as affected by paclobutrazol
Time of drenching
Concentrated level (mg/l)3/
0 100 200 300 400 Mean2/
Day of shoot cutting 7.32a 8.14a 8.63a 9.03a 8.20a 8.27b
15 days before shoot cutting 21.72a 21.20a 21.59a 23.02a 22.80a 22.07a
15 days after shoot cutting 6.24a 5.60a 5.83a 5.00a 6.08a 5.75c
Mean1/
11.76a 11.64a 12.02a 12.35a 12.36a C.V. = 8.88%
Means in rows and columns with different letters are significantly different at P≤0.01 by DMRT.
1/ concentrated level mean, P-value = 0.2389 (ns); 2/ time of drenching mean, P-value = 0.0001 (**)
3/ concentrated level x time of drenching mean, P-value = 0.0501 (ns)
จานวนวันที่ใบใหม่คลี่บานเต็มที่
ระดับความเข้มข้นของสารพาโคลบิวทราโซล
ที่เพิ่มขึ้นมีผลต่อจานวนวันที่ใบใหม่คลี่บานเพิ่มขึ้น
อย่างมีนัยสาคัญตามลาดับเมื่อเปรียบเทียบกับการ
ไม่ได้รับสาร ในขณะที่การราดสารหลังการตัดยอด 15
วัน มีผลต่อจานวนวันคลี่บานของใบใหม่มากที่สุด
อย่างมีนัยสาคัญ นอกจากนี้ พบว่า ระดับความเข้มข้น
และระยะเวลาในการราดสารพาโคลบิวทราโซลที่
แตกต่างกันแสดงอิทธิพลร่วมอย่างมีนัยสาคัญต่อ
จานวนวันเฉลี่ยที่ใช้ในการคลี่บานเต็มที่ของใบใหม่ที่
เกิดขึ้น โดยพบว่า การราดน้ากลั่นพร้อมตัดยอดมีผล
ต่อพัฒนาการดังกล่าวที่ใช้ระยะเวลาสั้นที่สุดเพียง
8.30 วัน ในขณะที่การราดสารความเข้มข้น 400 มก./ล.
หลังการตัดยอด 15 วัน มีผลต่อจานวนวันที่ใช้ในการ
คลี่บานเต็มที่ของใบใหม่ยาวนานที่สุดถึง 17.68 วัน
(Table 2)
Table 2 Days to full expanding of new leaf as affected by paclobutrazol
Time of drenching
Concentrated level (mg/l)3/
0 100 200 300 400 Mean2/
Day of shoot cutting 8.30i 10.83f 12.72e 13.70d 15.59b 12.23b
15 days before shoot cutting 10.48fg 9.64h 10.10gh 12.17e 14.70c 11.42c
15 days after shoot cutting 14.58c 15.00bc 15.17bc 15.49b 17.68a 15.58a
Mean1/
11.12e 11.83d 12.66c 13.79b 15.99a C.V. = 3.87%
Means in rows and columns with different letters are significantly different at P≤0.01 by DMRT.
1/ concentrated level mean, P-value = 0.0001 (**); 2/ time of drenching mean, P-value = 0.0001 (**)
3/ concentrated level x time of drenching mean, P-value = 0.0001 (**)
Journal of Agr. Research & Extension 31(1): 1-12
5
จานวนยอดใหม่
จานวนยอดใหม่เพิ่มขึ้นสูงที่สุดอย่างมี
นัยสาคัญที่ระดับความเข้มข้น 300 มก./ล. และมี
จานวนยอดลดลงเมื่อระดับความเข้มข้นเพิ่มขึ้นถึง
400 มก./ล. ในขณะที่การราดสารหลังการตัดยอด
15 วัน มีผลต่อจานวนยอดใหม่ที่เพิ่มขึ้นมากที่สุดอย่าง
มีนัยสาคัญ อิทธิพลร่วมระหว่างระดับความเข้มข้นและ
ระยะเวลาในการราดสารพาโคลบิวทราโซลที่แตกต่าง
กัน มีผลต่อจานวนยอดใหม่ที่ปรากฏอย่างมีนัยสาคัญ
โดยพบว่า การราดสารที่ระดับความเข้มข้น 300 มก./ล.
พร้อมการตัดยอดและหลังการตัดยอด 15 วัน มีผลทา
ให้พืชทดลองพัฒนายอดใหม่เฉลี่ยได้มากที่สุดเท่ากับ
5.95 และ 5.92 ยอด ตามลาดับ ซึ่งการตอบสนองของ
พัฒนาการด้านจานวนยอดดังกล่าวในทุกระดับความ
เข้มข้นของสารที่ราดหลังการตัดยอด 15 วัน แสดง
แนวโน้มไม่แตกต่างจากการราดด้วยน้ากลั่นหลังการ
ตัดยอด 15 วัน (Table 3)
Table 3 Number of new shoot affected by paclobutrazol
Time of drenching
Concentrated level (mg/l)3/
0 100 200 300 400 Mean2/
Day of shoot cutting 5.41bcd 4.70e 5.39dc 5.95a 5.41bcd 5.38b
15 days before shoot cutting 5.08d 5.72abc 5.49bcd 5.62abc 5.09d 5.40b
15 days after shoot cutting 5.80abc 5.76abc 5.77abc 5.92a 5.83ab 5.81a
Mean1/
5.43b 5.39b 5.55b 5.83a 5.45b C.V. = 5.21%
Means in rows and columns with different letters are significantly different at P≤0.01 by DMRT.
1/ concentrated level mean, P-value = 0.0001 (**); 2/ time of drenching mean, P-value = 0.0001 (**)
3/ concentrated level x time of drenching mean, P-value = 0.0001 (**)
จานวนใบที่ร่วงหล่น
การราดสารพาโคลบิวทราโซลที่ระดับความ
เข้มข้น 100 ถึง 200 มก./ล. มีผลต่อการร่วงหล่นของ
ใบเฉลี่ยมากที่สุดอย่างมีนัยสาคัญ เมื่อเปรียบเทียบกับ
การราดสารที่ระดับความเข้มข้น 400 มก./ล. ที่มีผล
ต่อการร่วงหล่นของใบน้อยที่สุด ในขณะที่การราดสาร
พร้อมการตัดยอดและหลังการตัดยอด 15 วัน มีผลต่อ
การร่วงหล่นของใบมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับการราด
สารก่อนการตัดยอด 15 วัน อย่างมีนัยสาคัญ และยัง
พบว่า ระดับความเข้มข้นและระยะเวลาในการราดสาร
พาโคลบิวทราโซลที่แตกต่างกันแสดงอิทธิพลร่วม
อย่างมีนัยสาคัญต่อจานวนใบที่ร่วงหล่น โดยพบว่า
การราดสารที่ระดับความเข้มข้น 200 มก./ล. หลังการ
ตัดยอด 15 วัน มีผลต่อจานวนใบร่วงหล่นเฉลี่ยจากต้น
มากที่สุดถึง 76.40 ใบ ในขณะที่การราดสารระดับ
ความเข้มข้น 400 มก./ล. ในระยะเวลาเดียวกันมีผลต่อ
การร่วงหล่นเฉลี่ยของใบน้อยที่สุดเพียง 52.00 ใบ
(Table 4)
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 31(1): 1-12
6
Table 4 Number of fallen leaf as affected by paclobutrazol
Time of drenching
Concentrated level (mg/l)3/
0 100 200 300 400 Mean2/
Day of shoot cutting 64.16bcd 65.13bcd 63.99bcd
e
63.23cde 67.76b 64.86a
15 days before shoot cutting 60.18ef 67.17bc 58.84fg 58.88fg 56.12g 60.24b
15 days after shoot cutting 65.20bcd 65.68bcd 76.40a 61.72def 52.00h 64.20a
Mean1/
63.18b 65.99a 66.41a 61.28b 58.63c C.V. = 4.42%
Means in rows and columns with different letters are significantly different at P≤0.01 by DMRT.
1/ concentrated level mean, P-value = 0.0001 (**); 2/ time of drenching mean, P-value = 0.0001 (**)
3/ concentrated level x time of drenching mean, P-value = 0.0001 (**)
จานวนใบที่ติดอยู่กับต้น
การราดสารพาโคลบิวทราโซลทุกระดับความ
เข้มข้นมีผลต่อจานวนใบที่ติดอยู่กับต้นเฉลี่ยต่ากว่า
การไม่ราดสารอย่างมีนัยสาคัญ โดยพบว่า ที่ระดับ
ความเข้มข้น 200 มก./ล. มีผลต่อการคงอยู่ของใบ
กับต้นต่าที่สุดเพียง 17.22 ใบ ในขณะที่การราดสาร
พร้อมการตัดยอดมีผลต่อจานวนใบเฉลี่ยติดอยู่กับต้น
ต่าที่สุดเพียง 22.92 ใบ เมื่อเปรียบเทียบกับการราด
สารก่อนและหลังการตัดยอด 15 วัน ที่มีจานวนใบติด
อยู่กับต้นเฉลี่ยสูงกว่าอย่างมีนัยสาคัญ ตามลาดับ
ระดับความเข้มข้นและระยะเวลาในการราดสารพาโคล
บิวทราโซล ที่แตกต่างกันไม่แสดงอิทธิพลร่วมอย่างมี
นัยสาคัญต่อจานวนใบที่ติดอยู่กับต้น (Table 5)
Table 5 Number of leaves attached to stem as affected by paclobutrazol
Time of drenching
Concentrated level (mg/l)3/
0 100 200 300 400 Mean2/
Day of shoot cutting 28.13a 22.31a 16.64a 25.87a 21.65a 22.92b
15 days before shoot cutting 29.13a 23.42a 16.95a 25.71a 22.06a 23.45ab
15 days after shoot cutting 29.15a 23.27a 18.06a 26.78a 22.85a 24.02a
Mean1/
28.80a 23.00c 17.22d 26.12b 22.19c C.V. = 5.07%
Means in rows and columns with different letters are significantly different at P≤0.01 by DMRT.
1/ concentrated level mean, P-value = 0.0001 (**); 2/ time of drenching mean, P-value = 0.0073 (**)
3/ concentrated level x time of drenching mean, P-value = 0.9180 (ns)
พื้นที่ใบ
การราดสารพาโคลบิวทราโซลทุกระดับความ
เข้มข้นมีผลต่อพื้นที่ใบเฉลี่ยที่ลดลงอย่างมีนัยสาคัญ
เมื่อเปรียบเทียบกับการไม่ราดสาร โดยทุกระดับความ
เข้มข้นมีผลต่อพื้นที่ใบไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ
ในขณะที่ระยะเวลาการราดสาร และอิทธิพลร่วมของ
ระดับความเข้มข้นและระยะเวลาการราดสารไม่มีผลต่อ
พื้นที่ใบอย่างมีนัยสาคัญ (Table 6)
Journal of Agr. Research & Extension 31(1): 1-12
7
Table 6 Leaf area as affected by paclobutrazol
Time of drenching
Concentrated level (mg/l)3/
0 100 200 300 400 Mean2/
Day of shoot cutting 15.17a 11.22a 9.22a 9.55a 8.19a 10.67a
15 days before shoot cutting 9.88a 6.02a 12.51a 9.59a 7.65a 9.13a
15 days after shoot cutting 13.73a 10.28a 7.70a 10.53a 8.58a 10.17a
Mean1/
12.93a 9.17b 9.81b 9.89b 8.14ba C.V. = 33.93%
Means in a row with different letters are significantly different at P≤0.01 by DMRT.
1/ concentrated level mean, P-value = 0.0048 (**); 2/ time of drenching mean, P-value = 0.2691 (ns)
3/ concentrated level x time of drenching mean, P-value = 0.0580 (ns)
วิจารณ์ผลการทดลอง
การราดสารพาโคลบิวทราโซลหลังการตัด
ยอด 15 วัน ส่งเสริมให้ตาในบริเวณที่อยู่ถัดจากรอย
ตัดลงมาได้มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา แม้ว่าจะไม่ได้
รับสารพาโคลบิวทราโซลก็ตาม แต่เมื่อถูกกระตุ้น
โดยสารดังกล่าว อาจส่งผลต่อสัดส่วนระหว่างไซโตไคนิน
และออกซินที่เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากสัดส่วนของ
ไซโตไคนินเพิ่มขึ้นสูงกว่าออกซินจะชักนาให้เกิดการ
สร้างยอดใหม่ (Krikorian et al., 1990) ซึ่งสอดคล้อง
กับผลการศึกษาในพืชหลายชนิด ที่พบว่า สารประกอบ
ในกลุ่มไทรอะโซลแสดงอิทธิพลต่อการเพิ่มขึ้นของ
ปริมาณไซโตไคนินในข้าว (Izumi etal., 1988) คาร์เนชั่น
(Sebastian et al., 2002) แอปเปิ้ล (Zhu et al., 2004)
การเพิ่มขึ้นของไซโตไคนินในพืชยังมีผลต่อการ
ส่งเสริมการแบ่งเซลล์เพิ่มขึ้น ตลอดจนการพัฒนา
ของตา (Arteca, 1996) นอกจากนี้แล้วการตัดยอดของ
พืชทดลองออกไป เปรียบเสมือนการทาลายแหล่ง
สังเคราะห์ออกซินที่ควบคุมการเติบโตของตาข้างที่อยู่
ถัดลงมา ดังนั้นการพัฒนาของตาที่อยู่ถัดลงมาจาก
รอยตัดจึงอาจเป็นผลจากสาเหตุทั้งสองประการ
ดังกล่าวข้างต้น
การคลี่บานเต็มที่ของใบใหม่ที่ปรากฏ ซึ่งเป็น
ลาดับพัฒนาการที่ต่อเนื่องมาจากการปรากฏของใบ
ใหม่ดังกล่าวแล้วนั้น ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า
การราดด้วยน้ากลั่น พร้อมการตัดยอดส่งเสริมให้ใบใหม่
คลี่บานเต็มที่โดยใช้เวลาน้อยที่สุด เนื่องจากการคลี่
บานของใบ มีความสัมพันธ์กับไซโตไคนินภายในต้น
พืชตามธรรมชาติ ซึ่งการเติบโตของใบถูกส่งเสริมโดย
การเพิ่มการเติบโตของเซลล์ เป็นผลให้เกิดการยืด
ขยายของเซลล์ (Salisbury and Ross, 1985; Hamada
et al., 2008) และอาจมีความสัมพันธ์กับระดับและการ
กระจายตัวของไซไคนินภายในต้นพืช ซึ่งตามธรรมชาติ
จะถูกควบคุมโดยออกซินจากปลายยอด (Tamas, 1995)
การราดด้วยน้ากลั่นพร้อมการตัดยอดจึงเป็นผลให้เกิด
การเติบโตของใบใหม่ขึ้น ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นใบที่อยู่ใน
ตาแหน่งของตาข้าง และไม่ได้อยู่ภายใต้อิทธิพลของ
ออกซิเจนจากปลายยอด เนื่องจากยอดพืชทดลองถูก
ตัดออกไป การคลี่บานของใบใหม่จึงเกิดขึ้นอย่าง
รวดเร็ว ทั้งนี้น้ากลั่นซึ่งไม่มีสารพาโคลบิวทราโซลละลาย
อยู่ ย่อมไม่มีผลโดยตรงต่อการเปลี่ยนแปลงสมดุลของ
ไซโตไคนินและออกซิน แต่อาจมีผลโดยอ้อมต่อระดับ
และการกระจายตัวของฮอร์โมนพืชชนิดอื่นๆ ที่มีผล
ต่อการคลี่บานของใบได้
จานวนยอดใหม่ที่ปรากฏมากที่สุด เนื่องจาก
ได้รับสารพาโคลบิวทราโซลที่ระดับความเข้มข้นสูงถึง
300 มก./ล. ทั้งในขณะที่ตัดยอดและหลังตัดยอด 15
วัน อาจเป็นผลมาจากการที่ราดสารพาโคลบิวทราโซล
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 31(1): 1-12
8
ยังไม่มีโอกาสที่จะถูกดูดซึมเข้าสู่รากได้มาก เนื่องจาก
ส่วนยอดของพืชทดลองที่ถูกตัดออกไป เป็นผลให้
แรงดึงเนื่องจากการคายน้าของใบถูกทาให้หมดไป
เช่นเดียวกัน คงมีเพียงแต่แรงดันรากที่มีผลต่อการดูด
ซึมดังกล่าว ปริมาณสารจานวนน้อยและการกระจาย
ตัวของสารในกลุ่มนี้ อาจมีความสัมพันธ์กับปริมาณ
ของไซโตไคนินภายในลาต้นพืชทดลองส่วนที่เหลือ
จากการตัดยอด ซึ่งสารในกลุ่มไทรอะโซลนี้จัดเป็นสาร
ที่ศักยภาพในการยับยั้งการเติบโตของยอดที่ระดับ
ความเข้มข้นต่า (Tsegaw, 2005) อย่างไรก็ตามชวนชม
พันธุ์ฮอลแลนด์ที่ยังคงมียอดเดิมติดอยู่กับลาต้น พบว่า
มีการเจริญเติบโตของกิ่งแขนงเพิ่มขึ้นตามระดับความ
เข้มข้นของสารที่ได้รับ (ใจศิลป์, 2542)
การร่วงหล่นของใบรวมเฉลี่ยสูงที่สุด เมื่อพืช
ทดลองได้รับสารพาโคลบิวทราโซลที่ระดับความ
เข้มข้น 200 มก./ล. หลังการตัดยอด 15 วัน ซึ่งเป็น
ความเข้มข้นในระดับปานกลางแสดงให้เห็นว่า ที่ระดับ
ความเข้มข้นและระยะเวลาในการราดสารดังกล่าว
ส่งเสริมให้เกิดการชราภาพและการหลุดร่วงของใบ
ตามลาดับ ซึ่งอาจเป็นผลมาจากการชักนาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงสมดุลของฮอร์โมนภายในพืชทดลอง
(Fletcher and Hofstra, 1985) อันนาไปสู่การลดระดับ
ของจิบเบอเรลลิน และการเพิ่มขึ้นของไซโตไคนิน
และกรดแอบซิสซิก (Basra, 2000) ซึ่งกรดแอบซิสซิก
มีบทบาทในการส่งเสริมการสร้างเอทธิลีนเพิ่มขึ้น
อันเป็นกลไกที่กระตุ้นการทางานของยีนจานวนมากที่
เกี่ยวข้องกับการหลุดร่วง (Osborne, 1989)
ใบที่ติดอยู่กับต้นของพืชทดลอง มีแนวโน้ม
ลดลงตามระดับความเข้มข้นของสารเพิ่มขึ้น โดยพืช
ทดลองที่ไม่ได้รับสาร ปรากฏจานวนใบเฉลี่ยมากที่สุด
แสดงให้เห็นว่า ระดับการกระจายตัวของฮอร์โมน
ภายในพืชทดลองเปลี่ยนแปลงไป หลังจากได้รับ
สารพาโคลบิวทราโซล (Fletcher and Hofstra, 1985)
ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมิได้เกิดขึ้นอย่างเฉพาะ
เจาะจงแต่เพียงไซโตไคนินเท่านั้น แต่ยังมีผลต่อ
จิบเบอเรลลินและกรดแอบซิสซิก การเพิ่มขึ้นของกรด
ดังกล่าวในพืชที่ได้รับสารในกลุ่มไทรอะโซล มีความ
สัมพันธ์กับการป้องกันคาทาบอลิซึมของกรดชนิดนี้ไป
เป็นกรดฟาเซอิก ซึ่งถูกกระตุ้นโดยไซโตโครม P-450-
dependent โมโนออกซีจีเนส (Rademacher, 1997)
ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงที่ไม่ได้สมดุลดังกล่าว
อาจมีผลทาให้มีปริมาณกรดแอบซิสซิกเพิ่มขึ้น ใน
ปริมาณที่สามารถส่งเสริมการชราภาพ และการหลุดร่วง
ของใบได้ในที่สุด ซึ่งการศึกษาในครั้งนี้ไม่สอดคล้อง
กับผลการศึกษาในไม้เนื้อแข็ง ที่ได้รับการฉีดสาร
พาโคลบิวทราโซลเข้าสู่ลาต้น ที่พบว่า สารดังกล่าว
มีผลต่อใบซึ่งมีจุดกาเนิดที่ปลายยอด จานวนใบจึง
ไม่เปลี่ยนแปลง (Sterrett, 1985) แต่สอดคล้องกับผล
การศึกษาของ นาถฤดี (2533) ซึ่งพบว่า มะม่วงพันธุ์
เขียวเสวยที่ได้รับสารพาโคลบิวทราโซลมีจานวนใบ
น้อยกว่าต้นที่ไม่ได้รับสาร ทั้งนี้การราดสารหลังการตัด
ยอด 15 วัน มีผลต่อจานวนใบเฉลี่ยติดอยู่กับต้นมาก
ที่สุด อาจเป็นผลมาจากระดับไซโตไคนินที่เพิ่มขึ้น
ตลอดจนการเพิ่มการเปลี่ยนแปลงของคลอโรพลาสต์
และชีวสังเคราะห์ของคลอโรฟิลล์ที่ถูกกระตุ้นโดย
พาโคลบิวทราโซล (Fletcher et al., 1982) เมื่อส่วนยอด
ของพืชทดลองถูกตัดออกไป ไซโตไคนินส่วนใหญ่ซึ่ง
ตามธรรมชาติถูกสังเคราะห์ที่บริเวณเนื้อเยื่อเจริญ
ปลายราก (Weston, 1994) อาจมีระดับและการกระจายตัว
ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งการลาเลียงสู่
ปลายยอดใหม่ โดยใบใหม่อันเกิดจากตาข้างเป็นแหล่ง
รองรับไซโตไคนินเหล่านี้ และด้วยเหตุผลสาคัญที่
พบว่า ไซโตไคนินมีผลในการชะลอการชราภาพของใบ
(Arteca, 1996; Weston, 1994) และชะลอการเสื่อมสภาพ
ของคลอโรฟิลล์ (Fletcher et al., 1982) โดยมีผลการ
ศึกษาจานวนมาก ที่สนับสนุนอิทธิพลของสารกลุ่ม
ไทรอะโซล ต่อการชะลอการเข้าสู่ระยะเริ่มต้นของการ
ชราภาพในพืชหลายชนิด เช่น องุ่น (Hunter and Proctor,
1992) และบลูเบอร์รี่ (Basiouny and Sass, 1993)
นอกจากนี้แล้ว ไซโตไคนินยังมีความเกี่ยวข้องกับ
Journal of Agr. Research & Extension 31(1): 1-12
9
เมทาบอลิซึมและการลาเลียงคาร์โบไฮเดรท (Roitsch
and Ehneβ, 2000) โดยพบว่า มีปริมาณเม็ดแป้งในใบ
ของอะโวกาโดพันธุ์ Hass ที่ได้รับสารพาโคลบิวทราโซล
สูงกว่าใบที่ไม่ได้รับสาร (Symons et al., 1990) ดังนั้น
ผลของพาโคลบิวทราโซลที่อาจมีผลต่อระดับและการ
กระจายตัวของไซโตไคนิน จึงอาจเป็นสาเหตุที่ทาให้
การเข้าสู่ระยะชราภาพของใบใหม่ถูกชะลอลง การ
หลุดร่วงจึงปรากฏได้น้อยกว่า
พื้นที่ใบเฉลี่ยของพืชทดลองที่ได้รับสารพาโคล
บิวทราโซล มีขนาดลดลงในทุกระดับความเข้มข้น
ของสาร แสดงให้เห็นถึงผลของสารต่อกลไกการยังยั้ง
ชีวสังเคราะห์ของจิบเบอเรลลิน เป็นผลให้การยืดยาว
ของเซลล์ลดลงและการเติบโตที่ชะลอลง (Fletcher etal.,
1982; Rademacher, 2000) โดยพืชที่ได้รับสารดังกล่าว
มีระดับความเข้มข้นของจิบเบอเรลลินที่ตรวจวัดได้
ต่าลง (Steffens et al., 1992) ซึ่งสอดคล้องกับผลการ
ศึกษาในพืชหลายชนิด เช่น เข็มเชียงใหม่ (ภานุพงศ์,
2548)มะกอก(AntognozziandPreziosi,1986)คาร์เนชั่น
(Sebastian etal., 2002) มะม่วง (Yeshitela etal., 2004)
และมะเขือเทศประดับ (de Moraes et al., 2005)
สรุปผลการทดลอง
การราดสารพาโคลบิวทราโซลในระยะเวลาที่
แตกต่างกัน สามารถส่งเสริมและชะลอพัฒนาการของ
ใบชวนชมในบางลักษณะได้ในเวลาเดียวกัน การราด
สารชนิดนี้หลังการตัดยอด 15 วัน ส่งเสริมให้ใบใหม่
ปรากฏได้เร็วที่สุด ซึ่งใบใหม่ที่ปรากฏดังกล่าวถูกชะลอ
การคลี่บานเต็มที่ เมื่อได้รับสารในทุกระดับความ
เข้มข้นและทุกระยะเวลาของการราดสาร นอกจากนี้
ระดับความเข้มข้นของสารที่เพิ่มขึ้นถึง 300 มก./ล.
โดยราดพร้อมการตัดยอดและหลังการตัดยอด 15 วัน
ส่งเสริมให้มีจานวนยอดใหม่เพิ่มขึ้นมากที่สุด ในขณะที่
ใบของชวนชมมีการร่วงหล่นมากที่สุดเมื่อได้รับสารที่
ระดับความเข้มข้น 200 มก./ล. หลังการตัดยอด 15
วัน แต่เมื่อระดับความเข้มข้นเพิ่มขึ้นถึง 400 มก./ล.
โดยราดสารในระยะเวลาเดียวกันส่งเสริมให้ใบมีการ
ร่วงหล่นน้อยที่สุด การราดสารในทุกระดับความเข้มข้น
มีผลต่อจานวนใบที่ติดอยู่กับต้นลดลง โดยการราดสาร
หลังการตัดยอด 15 วัน ส่งเสริมให้มีจานวนใบติดอยู่
กับต้นมากที่สุด และการราดสารที่ระดับความเข้มข้น
เพียง 100 มก./ล. สามารถลดพื้นที่ใบได้ไม่แตกต่าง
จากการราดสารที่ระดับความเข้มข้นที่สูงกว่า
กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบคุณหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรศาสตร์
และสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุรินทร์ ที่เอื้อเฟื้อสถานที่สาหรับทาการทดลองและ
งบประมาณสนับสนุนการวิจัย
เอกสารอ้างอิง
เกียมศักดิ์คาแปง และวันดี สุริยวงศ์. 2548.
เทคโนโลยีการผลิตยูมีโคสเพื่อการค้า.
วารสารโครงการหลวง 9(4): 4-8.
ใจศิลป์ ก้อนใจ. 2542. การศึกษาอิทธิพลของสาร
พาโคลบิวทราโซลที่มีผลต่อการเจริญเติบโต
และการออกดอกของชวนชม. 52 น. ใน
รายงานผลการวิจัย. เชียงใหม่: สถานีวิจัย
และศูนย์ฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
นาถฤดี ศุภกิจจารักษ์. 2533. ผลของพาโคลบิว-
ทราโซลต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณสาร
คล้ายจิบเบอเรลลินที่ปลายยอดและการ
ออกดอกของมะม่วงพันธุ์เขียวเสวย.
วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์. 64 น.
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 31(1): 1-12
8
ภาณุพงศ์ ศรีอ่อน. 2548. ผลของสาร
Paclobutrazol และ Trinexapac- ethyl
ต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของ
ไม้ดอกและไม้ประดับบางชนิด.
วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์. 113 น.
Antognozzi, E. and P. Preziosi. 1986. Effects of
paclobutrazol (PP333) on nursery trees
of olive. [Online]. Available http://www.
actahort.org/book/179_97.html
(16 January 2012).
Arteca, R. N. 1996. Plant Growth Substances:
Principles and Applications. New York:
Chapman & Hall. 332 p.
Basiouny, F. M. and P. Sass. 1993. Shelf life
and quality of rabbiteye blueberry fruit
in response to preharvest application
of CaEDTA, nutrical and paclobutazol.
[Online]. Available http://www.actahort.
org/books/368/368_107.html
(16 April 2011).
Basra, A. S. 2000. Plant Growth Regulators in
Agriculture and Horticulture: Their Role
and Commercial Uses. New York:
The Haworth. 264 p.
Conover, C. A. and L. N. Satterthwaite. 1996.
Paclobutrazol optimizes leaf size, vine
length and plant grade of golden pothos
(Epipremnum aureum) on totems.
J. Envi. Hortic. 14(1): 44-46.
Cummings, H. D., F. H. Yelverton and
T. W. Rufly. 1999. Rooting of creeping
bentgrass in response to plant growth
regulators and preemergence
herbicides. [Online]. Available
http:www.weedscience.msstate.edu/swss/
Proceedings/1999/section П.pdf
(4 April 2010).
Davis, T. S., G. L. Steffens, and N. Sankhla.
1988. Triazole plant growth regulators.
pp. 63-105. In Janick, J. (ed.).
Horticultural Reviews. Volume 10.
Portland: Timber Press.
de Moraes, P. J., J. A. Saraiva Grossi,
S. de Araújo Tinoco, D.J. Henriques da Silva,
P.R. Cecon and J.G. Barbosa. 2005.
Ornamental tomato growth and fruiting
response to paclobutrazol. [Online].
Available http://www.actahort.rg/books/
683/ 683_40.html (20 April 2012).
Fletcher, R. A. and G. Hofstra. 1985.
Triadimefon-A plant multi-protectant.
Plant Cell Physiol. 26(4): 775-780.
Fletcher, R. A., V. Kallidumbil and P. Steele.
1982. Au improved bioassay for cytokinin
using cucumber cotyledons.
Plant Physiol. 69(3): 675-677.
Hamada, K., K. Hasegawa and T. Ogata. 2008.
Strapping and a synthetic cytokinin
promote cell enlargement in
‘Hiratanenashi’ Japanese persimmon.
Plant Growth Regul. 54(3): 225-230.
10
Journal of Agr. Research & Extension 31(1): 1-12
11
Hunter, D. M. and J. T. A. Proctor. 1992.
Paclobutrazol affects growth and fruit
composition of potted grapevines.
HortSci. 27(4): 319-321.
Izumi, K., S. Nakagawa, M. Kobayashi, H. Oshio,
A. Sakurai and N. Takahashi. 1988.
Levels of IAA, cytokinins, ABA and
ethylene in rice plants as affected by GA
biosynthesis inhibitor, uniconazole-P.
Plant Cell Physiol. 29(1): 97-104.
Krikorian, A.,D. K. Kelly and D. L. Smith. 1990.
Hormones in tissue culture and micro-
propagation. pp. 596-613. In Davies,
P. J. (ed.). Plant Hormones and their
Role in Plant Growth and Development.
Dordrecth: Kluwer Academic.
LeCain, D. R., K. A. Scheke and R. L. Wample.
1986. Growth retarding effects of
paclobutrazol on weeping fig.
HortSci. 21(5): 1150-1152.
Osborne, D. J. 1989. Abscission.
Crit. Rev. Plant Sci. 8(2): 103-129.
Rademacher, E. 2000. Growth retardants:
effects on gibberellin biosynthesis and
other metabolic pathway. Annu. Rev.
Plant Physiol. Plant Mol. Biol.
51: 501-531.
Rademacher, W. 1997. Bioregulation in crop
plants with inhibitors of gibberellin
biosynthesis. pp. 27-31. In Proceedings
of the Plant Growth Regulation Society
of America, 31 March 2000. Atlanta.
Roitsch, T. and R. Ehneβ. 2000. Regulation of
source/sink relations by cytokinins.
Plant Growth Regul. 32(2-3): 359-367.
Salisbury, F.B. and C.W. Ross. 1985. Plant
Physiology. 3rd
ed. Belmont: Wadsworth
540 p.
Sebastian, B., G. Alberto, A. C. Emilio, A. F. Jose
and A. F. Juan. 2002. Growth,
development and colour response of
potted Dianthus caryophyllus cv.
Mondriaan to paclobutrazol treatment.
Sci. Hortic. 9(3): 371-377.
Steffens, G. L., J. T. Lin, A. E. Stafford,
J. D. Metzger and J. P. Hazebroek.
1992. Gibberellin content of immature
apple seeds from paclobutrazol treated
trees over three seasons. J. Plant
Growth Regul. 11(3): 165-170.
Sterrett, J. P. 1985. Paclobutrazol: A promising
growth inhibitor for injection into woody
plants. J. Amer Soc. Hortic. Sci.
110(1): 4-8.
Symons, P. R. R., P. J. Hofman and B. N.
Wolstenholme. 1990. Responses to
paclobutrazol of potted ‘Hass’ avocado
trees. [Online] Available http://www.
actahort.org/books/275/275-21.html
(7 November 2011).
Tamas, I. A. 1995. Hormonal Regulation of
Apical Dominance. pp. 572-597. In
Davies, P. J. (ed.) Plant Hormones:
Physiology, Biochemistry and
Molecular Biology. Dordrecht: Kluwer
Academic.
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 31(1): 1-12
8
Tsegaw, T. 2005. Response of Potato to
Paclobutrazol and Manipulation of
Reproductive Growth under Tropical
Conditions. Doctoral dissertation.
University of Pretoria. 203 p.
Weston, G. D. 1994. Crop Physiology.
Butterworth-Heinemann. Oxford: 270 p.
Yeshitela, T., P. J. Robbertse and P.J.C. Stassen.
2004. Paclobutrazol suppressed
vegetative growth and improved yield as
well as fruit quality of ‘Tommy Atkins’
mango (Mangifera indica) in Ethiopia.
New Zea. J. Crop Hortic. Sci.
32(3): 281-293.
Zhu, L-F., A. van de Peppel, X-Y. Li and
M. Welander. 2004. Changes of leaf
water potential and endogenous
cytokinins in young apple trees treated
with or without paclobutrazol under
drought conditions. Sci. Hortic.
99(2): 133-141.
12
Journal of Agr. Research & Extension 31(1): 13-22
13
ผลของกรดแนฟทาลีนอะซีติกและเบนซิลอะดีนีนต่อความเป็นพิษของฟลูออรีน
และฟลูออแรนทีนในข้าวเจ้าพันธุ์ กข 47
Effect of Naphthalene Acetic Acid and Benzyladenine on Fluorene
and Fluoranthene Toxicity in Rice cv. RD 47
วราภรณ์ ฉุยฉาย1*
พรรณี ชาติชัย1
และขนิษฐา สมตระกูล2
Waraporn Chouychai1*
, Pannee Chatchai1
and Khanitta Somtrakoon2
1สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นครสวรรค์ 60000
2ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาสารคาม 44150
1Biology Program, Faculty of Science and Technology, Nakhonsawan Rajabhat University, Nakhonsawan, Thailand 60000
2Department of Biology, Faculty of Science, Mahasarakham University, Mahasarakham, Thailand 44150
*Correspornding author: chouychai@yahoo.com
Abstract
The effect of 2 plant growth regulators, NAA and BA, as concentration 0, 1.0, 10.0 mg/l on growth
of rice cv. RD 47 in 100 mg/kg fluorene or fluoranthene contaminated soil were studied. The results shown
that rice seed immersion in all concentration of NAA and BA did not affect on shoot growth but increased
root fresh weight of seedling growing in fluorene-contaminated soil. Only BA could induce root dried weight
of rice seedlings. For fluoranthene contaminated soil, rice seed immersion in all concentration of NAA and
BA did not affect on shoot and root length but 10 mg/l NAA increased shoot fresh weight and 1.0 mg/l BA
increased root dried weight of rice seedlings significantly when compared with other treatments. Used of
NAA and BA to decrease phytotoxicity of fluorine or fluoranthene contaminated soil is possible.
Keywords: auxin, cytokinin, phytotoxicity, polycyclic aromatic hydrocarbons
บทคัดย่อ
ศึกษาผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตของ
พืช 2 ชนิด คือ กรดแนฟทาลีนอะซีติก (Naphthalene
acetic acid; NAA) และเบนซิลอะดีนีน (Benzyladenine;
BA) ที่ความเข้มข้น 0, 1.0และ 10.0มก./กก.ต่อการเจริญ
ของข้าวเจ้าพันธุ์ กข 47 ในดินที่ปนเปื้อนฟลูออรีนหรือ
ฟลูออแรนทีน 100 มก./กก. พบว่า การแช่เมล็ดข้าวใน
สารละลาย NAA และ BA ทุกระดับความเข้มข้น ไม่มี
ผลต่อการเจริญของยอดข้าวที่ปลูกในดินปนเปื้อน
ฟลูออรีน แต่จะทาให้น้าหนักสดของรากข้าวเพิ่มขึ้น
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ โดยเฉพาะ BA ทุกระดับ
ความเข้มข้นทาให้น้าหนักแห้งของรากข้าวเพิ่มขึ้น
ส่วนในดินที่ปนเปื้อนฟลูออแรนทีน การแช่เมล็ดข้าวใน
สารละลาย NAA และ BA ทุกระดับความเข้มข้น ไม่มี
ผลต่อทั้งความยาวยอดและความยาวราก แต่ NAA 10
มก./ล. ทาให้น้าหนักสดของยอดข้าวมากกว่าต้นกล้า
ข้าวในทรีทเมนต์อื่นๆ และ BA 1.0 มก./ล. ทาให้ต้น
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 31(1): 13-22
14
กล้าข้าวมีน้าหนักแห้งของรากสูงกว่าทรีทเมนต์อื่นๆ
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ดังนั้น การใช้ NAA และ BA
จึงมีความเป็นไปได้ในการลดความเป็นพิษฟลูออรีน
และฟลูออแรนทีนที่ปนเปื้อนในดินต่อพืช
คาสาคัญ: ความเป็นพิษต่อพืช ไซโทไคนิน
พอลิไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน
ออกซิน
คานา
ฟลูออรีนและฟลูออแรนทีนเป็นสารประกอบ
ในกลุ่มพอลิไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน ที่อยู่ใน
กลุ่มสารมลพิษที่ต้องเร่งกาจัดออกจากสิ่งแวดล้อมตาม
รายการของ US-EPA (Paraiba etal., 2010) การปนเปื้อน
ฟลูออรีนและฟลูออแรนทีนมีรายงานโดยทั่วไป เช่น
ในฮ่องกงพบฟลูออรีน 0.001-0.003 มก./กก. และ
ฟลูออแรนทีน 0.003-0.01มก./กก. น้าหนักแห้งของดิน
ในพื้นที่เกษตรกรรม และพบฟลูออรีนประมาณ 0.004
มก./กก. และฟลูออแรนทีน 0.024-0.028 มก./กก.
น้าหนักแห้งของดิน ในพื้นที่เขตเมือง (Zhang et al.,
2006) นอกจากนั้นมีรายงานว่า พบฟลูออรีนและ
ฟลูออแรนทีน 0.008 และ 0.027 มก./กก. ตามลาดับ
ในดินตะกอนของทะเลสาบไปยังเตียน และพบ
ฟลูออรีนและฟลูออแรนทีน 0.08 และ 0.42 มก./กก.
ตามลาดับ ในดินตะกอนของแม่น้าฟู ทางตอนเหนือ
ของประเทศจีน (Hu et al., 2010) และพบฟลูออรีน
0.002-0.023 มก./กก. และฟลูออแรนทีน 0.02-0.18
มก./กก. ในดินในพื้นที่อุตสาหกรรมของประเทศสเปน
(Nadal et al., 2004) เป็นต้น
มีรายงานจานวนมากที่แสดงให้เห็นถึง
ความเป็นพิษต่อพืชของฟลูออรีนและฟลูออแรนทีน
ฟลูออแรนทีน และฟลูออรีนที่ปนเปื้อนในดิน 400
มก./กก. ทาให้ความยาวยอดและความยาวรากของถั่ว
เขียวและถั่วฝักยาวลดลง (ขนิษฐา และคณะ, 2554)
การปนเปื้อนร่วมกันของฟลูออรีนและฟลูออแรนทีนที่
ความเข้มข้นรวม 400 มก./กก. ทาให้น้าหนักสดทั้งต้น
ของผักบุ้งลดลง (ขนิษฐา และคณะ, 2555) ฟลูออแรนทีน
และฟลูออรีนที่ปนเปื้อนในดิน 400 มก./กก. ทาให้
ความยาวรากของข้าวโพดหวาน และข้าวโพดข้าวเหนียว
ลดลง (Somtrakoon and Chouychai, 2013)
สาหรับข้าวที่เป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญใน
จังหวัดนครสวรรค์และพื้นที่ใกล้เคียงนั้น มีรายงานว่า
พีเอเอชหลายชนิดเป็นพิษต่อการเจริญเติบโตของข้าว
ตัวอย่างเช่น การปนเปื้อนร่วมกันของฟลูออรีนและ
ฟลูออแรนทีนที่ความเข้มข้นรวม 20 มก./กก. ทาให้
ความยาวรากของต้นกล้าข้าวเหนียวพันธุ์ กข 6 ลดลง
ส่วนความเข้มข้นรวมที่ทาให้ความยาวยอดและ
น้าหนักสดทั้งต้นลดลงเป็น 200 และ 400 มก./กก.
ตามลาดับ (ขนิษฐา และคณะ, 2555) แต่การปนเปื้อน
ของฟลูออแรนทีนเพียงชนิดเดียวที่ความเข้มข้น 2-200
มก./กก. ไม่มีผลต่อการเจริญของต้นกล้าข้าวเหนียว
พันธุ์เดียวกัน (ขนิษฐา และคณะ, 2554) ฟลูออแรนทีน
และฟลูออรีนที่ปนเปื้อนในดิน 200 มก./กก. ยังทาให้
ความยาวยอด ความยาวราก และน้าหนักสดทั้งต้น
ของต้นกล้าข้าวเจ้าพันธุ์หอมดอกมะลิ 105 ลดลงด้วย
(Somtrakoon and Chouychai, 2013)
การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
เพื่อลดความเป็นพิษของสารมลพิษต่อพืชนั้น ได้มี
การศึกษาอย่างกว้างขวางทั้งกับโลหะหนักและสารมลพิษ
อินทรีย์ เช่น การใช้กรดอินโดลอะซีติก (Indoleacetic
acid; IAA) พร้อมกับตะกั่วกับทานตะวันที่เจริญแบบ
ไฮโดรโพนิกส์ ทาให้การเจริญของยอดและรากของ
ทานตะวันที่ได้รับตะกั่ว แข็งแรงกว่าการได้รับโลหะ
หนักเพียงอย่างเดียว (Fassler et al., 2010) การให้
บราสสิโนสเตอรอยด์แก่ต้นมะเขือเทศ ที่สัมผัสกับ
ฟีแนนทรีนหรือไพรีนแบบไฮโดรโพนิกส์ ทาให้ความ
ยาวยอด ความยาวราก และระดับคลอโรฟิลล์ของ
มะเขือเทศแข็งแรง เมื่อเทียบกับต้นที่ไม่ได้รับบราสสิโน
สเตอรอยด์ (Ahammed et al., 2012) อย่างไรก็ตาม
Journal of Agr. Research & Extension 31(1): 13-22
15
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จของการใช้สารควบคุมการ
เจริญเติบโตของพืชนั้น นอกจากชนิดและความเข้มข้น
ของสารควบคุมการเจริญเติบโตนั้นแล้ว ชนิดและความ
เข้มข้นของสารมลพิษเอง ก็ส่งผลต่อการออกฤทธิ์ของ
สารควบคุมการเจริญเติบโตด้วย เช่น การแช่เมล็ด
ข้าวโพดในสารละลายไทเดียซูรอน (Thidiazuron: TDZ)
1.0 มก./ล. สามารถส่งเสริมการเจริญของข้าวโพดใน
ดินที่ปนเปื้อนฟลูออรีน 10 มก./กก. ได้ แต่ไม่ได้ผล
ถ้าปริมาณฟลูออรีนในดินเพิ่มขึ้นเป็น 100 มก./กก.
(วราภรณ์ และคณะ, 2554) การแช่เมล็ดผักกวางตุ้ง
ในสารละลายกรดอินโดลบิวไทริก (Indolebutyric acid:
IBA) 1.0-10.0 มก./ล. แล้วนาไปเพาะในดินที่ปนเปื้อน
แอลฟาเอนโดซัลแฟน 20 มก./กก. ทาให้การเจริญ
เติบโตของผักกวางตุ้งดีขึ้นได้เมื่อเทียบกับต้นที่ไม่ได้
รับสารควบคุมการเจริญเติบโต (Chouychai, 2012)
แต่จะไม่ได้ผลถ้านาไปเพาะในทรายที่ปนเปื้อนเอนโด
ซัลแฟนซัลเฟต 4-100 มก./กก. (ขนิษฐา และมาลียา,
2555)
ดังนั้น ในการศึกษานี้ได้ศึกษาผลของการใช้
NAA ซึ่งเป็นสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชกลุ่ม
ออกซิน และ BA ซึ่งเป็นสารควบคุมการเจริญเติบโตของ
พืชกลุ่มไซโทไคนิน ในระดับความเข้มข้นที่แตกต่างกัน
เพื่อลดความเป็นพิษของฟลูออรีนหรือฟลูออแรนทีน
ต่อการเจริญระยะต้นกล้าของข้าวเจ้าพันธุ์ กข 47
ซึ่งเป็นพันธุ์ข้าวที่นิยมปลูกในจังหวัดชัยนาท และ
นครสวรรค์พันธุ์หนึ่ง เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการ
ศึกษาการออกฤทธิ์ของสารควบคุมการเจริญเติบโตใน
สภาวะที่พืชได้รับสารพิษ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการ
นาไปใช้งานทั้งทางการเกษตรและสิ่งแวดล้อมต่อไป
อุปกรณ์และวิธีการ
เก็บตัวอย่างดินที่ไม่มีประวัติการปนเปื้อน
สารประกอบในกลุ่มพอลิไซคลิก อะโรมาติก
ไฮโดรคาร์บอน มาจากศูนย์การศึกษาเกษตรเขาแรด
คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นาไปวิเคราะห์
คุณสมบัติพื้นฐานของดินที่บริษัทห้องปฏิบัติการกลาง
กรุงเทพฯ พบว่า เป็นดินด่าง (pH 8.9) มีปริมาณ
ฟอสฟอรัสต่า (น้อยกว่า 0.29 กรัม/100 กรัมน้าหนัก
แห้งของดิน) มีไนโตรเจนทั้งหมด 0.21 กรัม/100 กรัม
น้าหนักแห้งของดินโพแทสเซียมทั้งหมด 0.13 กรัม/
100 กรัมน้าหนักแห้งของดิน และสารอินทรีย์ในดิน
1.78 กรัม/100 กรัมน้าหนักแห้งของดิน
เตรียมดินที่ปนเปื้อนโดยชั่งฟลูออรีน (Sigma-
aldrich ประเทศเยอรมัน ความบริสุทธิ์ร้อยละ 98) และ
ฟลูออแรนทีน (Fluka ประเทศสหรัฐอเมริกา ความ
บริสุทธิ์ร้อยละ 99) แล้วละลายด้วยอะซีโตน จากนั้นจึง
เติมลงในดินให้ได้ความเข้มข้นเป็น 100 มก./กก. ดินที่
เติมเฉพาะอะซิโตน ใช้เป็นชุดควบคุมที่ 0 มก./กก. ผึ่ง
ดินไว้ 24 ชั่วโมง เพื่อให้อะซิโตนระเหยไปให้หมด
ก่อนใช้เพาะเมล็ด
แช่เมล็ดข้าวพันธุ์ กข 47 (Oryza sativa) ที่
ได้รับความอนุเคราะห์จากเกษตรกรในจังหวัดชัยนาท
ในสารละลายต่างๆ ต่อไปนี้ คือ BA 1.0 และ 10.0 มก./ล.
และ NAA 1.0 และ 10.0 มก./ล. เป็นเวลา 3 ชั่วโมง
แล้วจึงนาไปเพาะบนจานแก้วที่มีดินที่ผสมฟลูออรีน
หรือฟลูออแรนทีนจานละ 10 เมล็ด จานวน 3 จานต่อ
ทรีทเมนต์ โดยมีเมล็ดที่แช่ในน้ากลั่นเป็นชุดควบคุม
ซึ่งจะเพาะลงในดินที่ปนเปื้อนและไม่ปนเปื้อนฟลูออรีน
หรือฟลูออแรนทีนเมื่อครบ 10 วัน นาต้นกล้าที่งอก
ทั้งหมดมาวัดความยาวของยอดและราก น้าหนักสดและ
น้าหนักแห้งของยอดและราก ทดสอบความแตกต่าง
ทางสถิติด้วย One-way ANOVA และ Tukey’s test ที่
ระดับนัยสาคัญ 0.05
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 31(1): 13-22
14
ผลการทดลอง
ผลของ NAA และ BA ต่อความเป็นพิษของ
ฟลูออรีน
การเจริญเติบโตของต้นกล้าข้าวเจ้าพันธุ์
กข 47 ในดินที่มีและไม่มีฟลูออรีน ไม่มีความแตกต่าง
กันทั้งการเจริญเติบโตของยอดและราก ตัวอย่างเช่น
ความยาวรากของต้นกล้าข้าวที่เจริญเติบโตในดินที่
ไม่ปนเปื้อนเป็น 9.4±2.6 ซม. ส่วนความยาวรากของ
ต้นกล้าข้าวที่เจริญเติบโตในดินที่ปนเปื้อนฟลูออรีนเป็น
8.1±2.9 ซม. (Figure 1, Table 1 and 2) ซึ่งแสดงว่า
ฟลูออรีนที่ปนเปื้อนในดินที่ความเข้มข้น 100 มก./กก.
ไม่มีความเป็นพิษต่อการเจริญเติบโตของข้าวเจ้าพันธุ์
นี้ การแช่เมล็ดข้าวในสารละลาย NAA หรือ BA ก่อน
นาไปเพาะในดินที่ปนเปื้อนฟลูออรีนนั้น พบว่า ไม่ได้
ทาให้การเจริญของต้นกล้าข้าวสูงกว่าต้นที่มาจาก
เมล็ดที่แช่น้ากลั่น แล้วจึงนาไปเพาะในดินที่ปนเปื้อน
ฟลูออรีน (Table 1) การแช่เมล็ดข้าวในสารละลาย
NAA หรือ BA ไม่มีผลต่อความยาวรากของต้นกล้าข้าว
แต่ทาให้น้าหนักสดของรากข้าวสูงกว่าต้นที่มาจาก
เมล็ดที่แช่น้ากลั่น แล้วเพาะในดินที่ไม่ปนเปื้อน
ฟลูออรีนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ โดยต้นกล้าข้าวที่
ได้รับ NAA หรือ BA มีน้าหนักสดของรากอยู่ระหว่าง
0.06-0.07 กรัม ส่วนต้นที่มาจากเมล็ดที่แช่น้ากลั่นแล้ว
เพาะในดิน ที่ไม่ปนเปื้อนฟลูออรีนมีน้าหนักสดของราก
เป็น 0.05±0.01 กรัม นอกจากนั้น การแช่เมล็ดใน
สารละลาย BA ทุกความเข้มข้น ทาให้น้าหนักแห้งของ
รากข้าวมากกว่าต้นที่มาจากเมล็ดที่แช่น้ากลั่น แล้ว
เพาะในดินที่ปนเปื้อนฟลูออรีนอย่างมีนัยสาคัญทาง
สถิติ แต่ต้นที่มาจากเมล็ดที่แช่ในสารละลาย NAA ทุก
ความเข้มข้น มีน้าหนักแห้งของรากไม่ต่างจากต้นที่มา
จากเมล็ดที่แช่น้ากลั่น โดยต้นกล้าข้าวที่ได้รับ BA มี
น้าหนักแห้งของรากอยู่ระหว่าง 0.022-0.023 กรัม
ส่วนต้นที่มาจากเมล็ดที่แช่น้ากลั่นหรือ NAA มีน้าหนัก
แห้งของรากอยู่ระหว่าง 0.019-0.020 กรัม (Table 2)
Figure 1 Rice seedling of each treatment growing in 100 mg/kg fluorine-contaminated soil
or non-contaminated soil (control) for 10 days
16
Journal of Agr. Research & Extension 31(1): 13-22
15
Table 1 Shoot length, shoot fresh weight and shoot dried weight of rice cv. RD47 induced with various
concentrations of NAA and BA and grew in 100 mg/kg fluorene-(FLU) contaminated soil for 10 days
Treatment Shoot length
(cm)
Shoot fresh weight
(g)
Shoot dried weight
(g)
Non-contaminated soil 7.7±2.9a 0.03±0.01a 0.004±0.001a
FLU 10.3±4.0a 0.04±0.02a 0.005±0.002a
FLU+NAA 1.0 mg/l 10.4±4.4a 0.04±0.01a 0.004±0.002a
FLU+NAA 10 mg/l 10.3±3.8a 0.04±0.03a 0.007±0.01a
FLU+BA 1.0 mg/l 10.2±3.1a 0.04±0.01a 0.006±0.002a
FLU+BA 10 mg/l 8.8±4.6a 0.03±0.02a 0.004±0.002a
Table 2 Root length, root fresh weight and root dried weight of rice cv. RD 47 induced with various
concentrations of NAA and BA and grew in 100 mg/kg fluorene-(FLU) contaminated soil for 10 days
Treatment Root length
(cm)
Root fresh weight
(g)
Root dried weight
(g)
Non-contaminated soil 9.4±2.6a 0.05±0.01b 0.02±0.002ab
FLU 8.1±2.9a 0.06±0.01ab 0.019±0.004b
FLU+NAA 1.0 mg/l 8.4±3.1a 0.07±0.01a 0.02±0.005b
FLU+NAA 10 mg/l 8.5±1.8a 0.06±0.009ab 0.02±0.004b
FLU+BA 1.0 mg/l 8.8±2.1a 0.07±0.02a 0.022±0.005a
FLU+BA 10 mg/l 8.0±3.9a 0.07±0.02a 0.023±0.004a
ผลของ NAA และ BA ต่อความเป็ นพิษของ
ฟลูออแรนทีน
การเจริญของต้นกล้าข้าวเจ้าพันธุ์ กข 47 ใน
ดินที่มีและไม่มีฟลูออแรนทีน ไม่มีความแตกต่างกัน
เมื่อพิจารณาจากทั้งความยาวและน้าหนักสดของยอด
และราก แต่ต้นที่เจริญในดินที่ปนเปื้อนฟลูออแรนทีน
มีน้าหนักแห้งทั้งของยอดและรากสูงกว่าต้นที่ปลูกใน
ดินที่ไม่ปนเปื้อนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ โดยต้นที่
เจริญเติบโตในดินที่ปนเปื้อนฟลูออแรนทีนมีน้าหนัก
แห้งของยอดและของรากเป็น 0.01±0.002 กรัม และ
0.025±0.003 กรัม ตามลาดับ ส่วนของต้นที่ปลูกในดิน
ไม่ปนเปื้อนมีค่าเป็น 0.008±0.001 กรัม และ 0.019±
0.003 กรัม ตามลาดับ (Figure 2, Table 3 and 4)
แสดงว่า ฟลูออแรนทีนที่ปนเปื้อนในดินที่ความเข้มข้น
100 มก./กก. ไม่มีความเป็นพิษต่อการเจริญของข้าวเจ้า
พันธุ์นี้ การกระตุ้นเมล็ดด้วยสารละลาย NAA และ BA
ทุกความเข้มข้น ไม่มีผลต่อความยาวยอดและความ
ยาวรากของต้นกล้าข้าว การกระตุ้นเมล็ดด้วย NAA
10 มก./ล. ทาให้น้าหนักสดของยอดข้าวเป็น 0.06±0.01
กรัม ซึ่งมากกว่าต้นกล้าข้าวในทรีทเมนต์อื่นๆ ที่ได้
รับฟลูออแรนทีนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ แต่ทาให้
น้าหนักสดของรากเป็น 0.04±0.02 กรัม ซึ่งต่ากว่าต้น
กล้าข้าวในทรีทเมนต์อื่นๆ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
เช่นกัน (Table 3 and 4) การกระตุ้นเมล็ดด้วย NAA
17
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von สุพัชชา อักษรพันธ์

แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชนแม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชนสุพัชชา อักษรพันธ์
 
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอกแม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอกสุพัชชา อักษรพันธ์
 
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ1051 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105สุพัชชา อักษรพันธ์
 

Mehr von สุพัชชา อักษรพันธ์ (18)

Sexmag
SexmagSexmag
Sexmag
 
วารสารยางพารา ปีที่ 35 ฉบับที่ 4
วารสารยางพารา ปีที่ 35 ฉบับที่ 4วารสารยางพารา ปีที่ 35 ฉบับที่ 4
วารสารยางพารา ปีที่ 35 ฉบับที่ 4
 
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 3 ปีที่ 35
 
วารสารยางพารา ฉบับที่ 2 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 2 ปีที่ 35วารสารยางพารา ฉบับที่ 2 ปีที่ 35
วารสารยางพารา ฉบับที่ 2 ปีที่ 35
 
วารสารยางพาราฉบับที่ 1 ปีที่ 35
วารสารยางพาราฉบับที่ 1  ปีที่ 35วารสารยางพาราฉบับที่ 1  ปีที่ 35
วารสารยางพาราฉบับที่ 1 ปีที่ 35
 
MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014
MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014
MBA WALAILAK RALLY OPEN 2014
 
วารสารยางพาราฉบับที่ 4 ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4 ปีที่ 34
 
Nissan juke e brochure
Nissan juke e brochureNissan juke e brochure
Nissan juke e brochure
 
Munzzz magazine
Munzzz magazineMunzzz magazine
Munzzz magazine
 
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชนแม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
แม่โจ้ศูนย์กลางความรู้ทางการเกษตรของชุมชน
 
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอกแม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
แม่โจ้ 80 ปี แมลงศัตรูที่ต้องระวังช่วงลำไยออกดอก
 
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ1051 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
1 ตค 56 เทคโนโลยีชาวบ้าน ข้าวขาวดอกมะลิ105
 
วารสารยางพาราฉบับที่ 2 ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 2 ปีที่ 34วารสารยางพาราฉบับที่ 2 ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 2 ปีที่ 34
 
รายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียน
รายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียนรายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียน
รายงานการประชุมวันยางพาราอาเซียน
 
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556 ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 1-2556 ปีที่ 34
 
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
 
รถคันแรก
รถคันแรกรถคันแรก
รถคันแรก
 
อ่านก่อนซื้อรถใหม่
อ่านก่อนซื้อรถใหม่อ่านก่อนซื้อรถใหม่
อ่านก่อนซื้อรถใหม่
 

วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้

  • 1. ผลของพาโคลบิวทราโซลต่อพัฒนาการของใบชวนชม พันธุ์ฮอลแลนด์-มิสไทยแลนด์ นิติพัฒน์ พัฒนฉัตรชัย 1-12 ผลของกรดแนฟทาลีนอะซีติกและเบนซิลอะดีนีนต่อความเป็นพิษ ของฟลูออรีนและฟลูออแรนทีนในข้าวเจ้าพันธุ์ กข 47 วราภรณ์ ฉุยฉาย พรรณี ชาติชัย และขนิษฐา สมตระกูล 13-22 การเลี้ยงปลาดุกลูกผสมด้วยระบบน้าหมุนเวียน กมลวรรณ ศุภวิญญู ยุทธนา สว่างอารมณ์ ศิลป์ชัย มณีขัติย์ และณิชาพล บัวทอง 23-32 การปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมและการย่อยสลายเอนโดซัลแฟนโดยจุลินทรีย์ ขนิษฐา สมตระกูล 33-50 กลยุทธ์การจัดการผลิตผักกางมุ้งของกลุ่มเกษตรกรบ้านสะอาดสมศรี ตาบลภูปอ อาเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ นงนภัส ศิริวรรณ์หอม และสุภาภรณ์ พวงชมภู 51-61 การจัดการปัจจัยการผลิตของเกษตรกรภายใต้โครงการบัตรสินเชื่อเกษตรกร อาเภอบ้านฝาง จังหวัดขอนแก่น เวชยันต์ อบมาสุ่ย และสุภาภรณ์ พวงชมพู 62-70 ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ของชาวไทยภูเขาเผ่ากะเหรี่ยงในโครงการสถานีพัฒนาการเกษตรที่สูง ตามพระราชดาริดอยแบแล อาเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ พงศ์วิชญ์ กันทะวงศ์ และวรทัศน์ อินทรัคคัมพร 71-78 วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร สานักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2557 ISSN 0125-8850
  • 2. วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร JOURNAL OF AGRICULTURAL RESEARCH AND EXTENSION ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จาเนียร ยศราช ผู้ช่วยศาสตราจารย์พาวิน มะโนชัย รองศาสตราจารย์ ดร.ด้วง พุธศุกร์ บรรณาธิการอานวยการ รองศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ ข้ามสี่ รองศาสตราจารย์จาเนียร บุญมาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จีราภรณ์ อินทสาร อาจารย์ ดร.สุรีย์วัลย์ เมฆกมล บรรณาธิการ อาจารย์ ดร.วีรศักดิ์ ปรกติ กองบรรณาธิการ ศาสตราจารย์เฉลิมพล แซมเพชร ศาสตราจารย์ ดร.สิริวัฒน์ วงษ์ศิริ ศาสตราจารย์ ดร.ไพศาล สิทธิกรกุล ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์ ศาสตราจารย์ ดร.ประนอม จันทรโณทัย ศาสตราจารย์ ดร.อนุรักษ์ ปัญญานุวัฒน์ ศาสตราจารย์ ดร.สัญชัย จตุรสิทธา รองศาสตราจารย์ ดร.ปราโมช ศีตะโกเศศ รองศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ จรรยาสุภาพ รองศาสตราจารย์ ดร.สิทธิสิน บวรสมบัติ รองศาสตราจารย์ ดร.นพมณี โทปุญญานนท์ รองศาสตราจารย์อ้อมทิพย์ เมฆรักษาวนิช แคมป์ รองศาสตราจารย์ประวิตร พุทธานนท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธีระพงษ์ สว่างปัญญางกูร อาจารย์ ดร.เสกสันต์ อุสสหตานนท์ คณะกรรมการดาเนินงาน นางสาววารี ระหงษ์ นางธัญรัศมิ์ ธวัชมงคลศักดิ์ นางสาวรังสิมา อัมพวัน นางทิพย์สุดา ปุกมณี นายสมยศ มีสุข นางสาวอัมภา สันทราย นางจิรนันท์ เสนานาญ นางสาวดิษวรรณ สุทัศน์สันติ ฝ่ายประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ นายปริญญา เพียรอุตส่าห์ นายประสิทธิ์ ใจคา นางประไพศรี ทองแจ้ง นางสุรีย์ อภิไชย จัดทาโดย ฝ่ายนวัตกรรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี สานักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290 โทรศัพท์ 0-5387-3935 โทรสาร 0-5387-8106 E-mail: res_journal@mju.ac.th Web site: www.rae.mju.ac.th วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร (ISSN 0125-5580) เป็นวารสารทางวิชาการของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งมีนโยบายเพื่อเผยแพร่งานวิจัยและบทความทางวิชาการด้านการเกษตร เป็นวารสารราย 4 เดือน กาหนดออกปีละ 3 ฉบับ โดยมีการเผยแพร่ออนไลน์ (journal on line) ในรูปวารสารทางอิเล็กทรอนิกส์ และมีการเผยแพร่ในรูปเล่มสาหรับจัดส่งให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการเกษตร
  • 3. บทบรรณาธิการ แนวคิดของปราชญ์เดิมของไทยที่บันทึกภูมิปัญญาที่ได้รวบรวมและสังเคราะห์จากความจริงเชิง ประจักษ์ เบ็ดเสร็จแล้วมักเป็นที่ยกย่องบูชาจนกลายเป็นพระคัมภีร์ต้นแบบการถือปฏิบัติ ปลูกฝังไว้ใน ชีวิตประจาวันมาช้านาน สิ่งที่เป็นคาถามท้าทายในปัจจุบัน คือ เมื่อบริบทเปลี่ยนไป ข้อปฏิบัติจะเป็นอย่างเดิม หรือไม่ ภูมิปัญญาเพื่อสร้างสรรค์สิ่งที่ดีกว่าให้มวลมนุษยชาติ มักเป็นโจทย์ที่ท้าทายแนวคิดและมุมมองของ ผู้ทรงภูมิทั้งหลายเสมอมา ทางออกที่เกิดขึ้นก็พัฒนาสั่งสมเป็นภูมิปัญญาเพิ่มขึ้นจากประสบการณ์ ที่ได้รับมา ร้อยเรียงทดสอบให้เป็นองค์ความรู้ที่ยอมรับได้ในชุมชนที่ขยายตัวไปตามลาดับ นอกเหนือไปจากการทดสอบ ทบทวนองค์ความรู้ที่ได้จากต่างสถานที่ ต่างเวลา และต่างปัจจัยเพื่อ ยืนยันและบันทึกไว้เป็นประโยชน์แก่ชุมชนแล้ว การเผยแพร่บทเรียนที่ได้รับก็สามารถยังประโยชน์ให้ชุมชนอื่น สามารถผนวกรวมกับความรู้เก่าที่มีอยู่ นามาใช้ประโยชน์ให้เกิดผลดียิ่งขึ้นอีกด้วย เราจะเห็นโจทย์คาถามลักษณะเช่นนี้เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน ที่นาเอาวิถีการตอบปัญหาเชิง วิทยาศาสตร์มาใช้เพื่อบุกเบิกขอบฟ้าแห่งภูมิปัญญา มาตอบโจทย์วิธีการที่จะทาให้มนุษยชาติอยู่รอดอย่าง มีความสุข เป็นตัวชี้วัดที่เรียกว่า “ความสุข” หรือ “คุณภาพชีวิต” ที่ดีกว่า ทั้งจากการค้นคว้าวิจัยพื้นฐาน วิจัยประยุกต์ ไม่ว่าจะเน้นเชิงปริมาณหรือคุณภาพก็ตาม ประเด็นแนวคิดต่างๆ ที่ผู้วิจัยนาเสนอเพียงย่อๆ นั้น ก็ยังสามารถชี้นาแนวทางการตอบปัญหาการ เปลี่ยนแปลงของบริบทที่จะเกิดขึ้นในอนาคต หรือเกิดขึ้นแล้วในลักษณะเดียวกันที่ผู้อ่านและผู้สนใจสามารถ นาไปใช้เป็นแสงไฟแห่งปัญญา เพื่อฉายทางออก ทางเลือก หรือทางรอดของภูมิปัญญา ที่จะสนองความ ต้องการของชุมชนต่อไปในรูปของบทวิจัยหรือบทความทางวิชาการ ที่เชื่อมประสานความรู้เดิมสู่องค์ความรู้ ใหม่ เป็นสังคมการเรียนรู้ที่พัฒนาต่อไปโดยไม่หยุดยั้ง ในวารสารฉบับนี้มีทั้งบทสรุปและรายงานวิจัย ทั้งงานวิจัยพื้นฐานและงานวิจัยประยุกต์ ที่ชี้ช่องทาง ให้ผู้อ่านทั้งจากการวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ และข้อสังเกตต่างๆ ในการวิจัยโดยย่อ เพื่อให้ ผู้สนใจติดตามเรื่องราวต่อไปจากผู้วิจัยตามที่อยู่ที่มีอยู่แล้วครับ ขอชื่นชมแรงบันดาลใจใฝ่รู้ของทุกท่านครับ (อาจารย์ ดร.วีรศักดิ์ปรกติ) บรรณาธิการวารสารวิจัยฯ
  • 4.
  • 5. Journal of Agr. Research & Extension 31(1): 1-12 1 ผลของพาโคลบิวทราโซลต่อพัฒนาการของใบชวนชมพันธุ์ฮอลแลนด์-มิสไทยแลนด์ Effects of Paclobutrazol on Leaf Development of Adenium obesum cv. Holland-Miss Thailand นิติพัฒน์ พัฒนฉัตรชัย Nitipat Pattanachatchai สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ สุรินทร์ 32000 Department of Agriculture and Environment, Faculty of Science and Technology, Surindra Rajabhat University Surin, Thailand 32000 Corresponding author: pattanachatchai@gmail.com Abstract The effects of paclobutrazol (PBZ) on leaf development of 4-months-old Adenium obesum cv. Holland-Miss Thailand was carried out during January-May, 2011 at Economic Productive House, Department of Agriculture and Environment, Surindra Rajabhat University. The experiment was arranged as factorial in CRD. Different concentration of PBZ; 0, 100, 200, 300 and 400 mg/l and different time of soil drenching; day of shoot cutting (DSC), 15 days before shoot cutting (15 DBSC) and 15 days after shoot cutting (15 DASC) were determined as main factor. There were 15 treatment combinations which each was replicated 5 times. Seven experimental plants were assingned for each replication. The results revealed that interaction of main factor significantly affected days to full expanding of new leaves, number of new shoot, number of fallen leaves and leaf area (P<0.05). Soil drenching of distilled water at DSC shortened the period of full leaf expanding, whereas soil drenching of 300 mg/l at DSC and 15 DASC highly promoted number of new shoot. Similarly, soil drenching of 200 mg/l PBZ at 15 DASC hastened most of leaf abscission. Nevertheless, leaf area was remarkably decreased by soil drenching of 100 mg/l PBZ. Time of PBZ soil drenching at 15 DASC was only a main factor that affected the least days to new leaf presence. In addition, the greatest number of leaves attached to stem was promoted by the same time of PBZ soil drenching. Soil drenching of 200 mg/l PBZ decreased number of leaves attached to stem. Keywords: paclobutrazol, development, Adenium obesum
  • 6. วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 31(1): 1-12 2 บทคัดย่อ การศึกษาผลของพาโคลบิวทราโซลต่อ พัฒนาการของใบชวนชมพันธุ์ฮอลแลนด์-มิสไทยแลนด์ อายุ 4 เดือน ณ เรือนผลิตพืชเศรษฐกิจ ภาควิชาเกษตร และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ระหว่าง เดือนมกราคมถึงพฤษภาคม 2554 โดยวางแผนการ ทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) ที่จัดสิ่งทดลองแบบ แฟคทอเรียลที่ประกอบด้วย 2 ปัจจัย คือ ความเข้มข้น ที่แตกต่างกัน 5 ระดับ ได้แก่ 0, 100, 200, 300 และ 400 มก./ล. และระยะเวลาในการราดสารที่แตกต่างกัน 3 ระยะ ได้แก่ ราดพร้อมการตัดยอด ราดก่อนการตัด ยอด 15 วัน และราดหลังการตัดยอด 15 วัน มีจานวน 15 กรรมวิธีๆ ละ 5 ซ้าๆ ละ 7 ต้น ผลการทดลอง พบว่า อิทธิพลร่วมกันของระดับความเข้มข้น และระยะเวลา ในการราดสาร มีผลอย่างมีนัยสาคัญ (P<0.05) ต่อจานวน วันที่ใบใหม่คลี่บานเต็มที่ จานวนยอดใหม่ จานวนใบที่ ร่วงหล่น และพื้นที่ใบ โดยกรรมวิธี ที่ราดด้วยน้ากลั่น พร้อมการตัดยอดมีผลทาให้ใบใหม่คลี่บานเต็มที่ใน ระยะเวลาสั้นที่สุด แต่เมื่อราดสารที่ระดับความเข้มข้น 300 มก./ล. พร้อมการตัดยอดและหลังการตัดยอด 15 วัน พบว่า ส่งเสริมให้มีจานวนยอดใหม่ได้มากที่สุด ใน ขณะที่การราดสารที่ระดับความเข้มข้น 200 มก./ล. หลังการตัดยอด 15 วัน มีผลต่อการร่วงหล่นของใบ มากที่สุด อย่างไรก็ตามการลดลงของพื้นที่ใบมากที่สุด นั้นเป็นผลมาจากการได้รับสารที่ระดับความเข้มข้น เพียง 100 มก./ล. สาหรับการตอบสนองด้านจานวน วันที่ใบใหม่ปรากฏได้เร็วที่สุด เป็นผลจากปัจจัยหลัก ด้านระยะเวลาในการราดสารเท่านั้น โดยพบว่า การ ราดสารหลังการตัดยอด 15 วัน มีผลต่อระยะเวลา ดังกล่าวได้สั้นที่สุด และยังมีผลต่อจานวนใบที่ติดอยู่ กับต้นมากที่สุด นอกจากนี้ยังพบว่า จานวนใบที่ติดอยู่ กับต้นที่ลดลงมากที่สุด เป็นผลมาจากการราดสารที่ ระดับความเข้มข้น 200 มก./ล คาสาคัญ: พาโคลบิวทราโซล พัฒนาการ ชวนชม คานา ชวนชม (Adenium obesum (Forssk.) Roem & Schult) เป็นไม้ประดับในวงศ์ Apocynaceae ที่มี ความทนทานต่อสภาพภูมิอากาศที่แห้งแล้งจนได้รับ สมญานามว่า กุหลาบทะเลทราย ด้วยลักษณะนิสัย ตามธรรมชาติ ที่มีอัตราการเจริญเติบโตช้าแต่มีรูปทรง ของลาต้นและพุ่มใบที่สวยงาม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บริเวณโคนลาต้นที่เชื่อมต่อกับโคนราก ซึ่งมีลักษณะ บวมพองออก เรียกว่า โขด (caudex) เพื่อทาหน้าที่ใน การสะสมน้า จึงมีความเหมาะสมอย่างยิ่งต่อการปลูกใน ลักษณะของไม้กระถาง เพื่อการประดับตกแต่งอาคาร และภูมิทัศน์โดยรอบ นอกจากนี้แล้วยังถูกใช้ประโยชน์ เพื่อเป็นต้นตอสาหรับการเสียบยอดพันธุ์ดีอื่นๆ ได้ เป็นอย่างดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งชวนชมพันธุ์ฮอลแลนด์- มิสไทยแลนด์ ที่สามารถตอบสนองต่อการใช้ประโยชน์ ทั้งในด้านการให้ดอกติดกับต้น รูปทรงของโขดที่ สวยงาม และการใช้เพื่อเป็นต้นตอ แต่ด้วยอัตราการ เจริญเติบโตที่ค่อนข้างช้า จึงเป็นผลให้พัฒนาการของ ใบซึ่งเป็นองค์ประกอบที่แสดงความสวยงามของทรง พุ่มอยู่ในอัตราที่ช้าตามไปด้วย นอกจากนี้ การเติบโต ของใบตามธรรมชาติอาจขาดความเหมาะสมกับขนาด ของทรงพุ่มและภาชนะที่ปลูก การปล่อยให้ชวนชมที่ปลูกอยู่ในภาชนะปลูก มีพัฒนาการและการเติบโตตามธรรมชาตินั้น มักพบ เสมอว่า พัฒนาการและการเติบโตของใบไม่ได้สมดุล กับทรงพุ่ม เป็นผลให้มีระยะเวลาการเกิดใบ จานวนใบ ขนาดของใบ อายุของใบในทรงพุ่มเดียวกันแตกต่างกัน ซึ่งในกรณีของการปลูกชวนชมเพื่อเป็นไม้ประดับ กระถางหรือบอนไซนั้นย่อมมีผลต่อความสวยงามที่ ปรากฏ อย่างไรก็ตามการใช้สารชะลอการเจริญเติบโต ของพืชชนิดพาโคลบิวทราโซล ซึ่งมีรายงานถึงความ สาเร็จในการควบคุมการเจริญเติบของใบในพืชหลาย ชนิด เช่น ยูมิโคส (เกียมศักดิ์และวันดี, 2548) ไทร (LeCain et al., 1986) Epipremnum aureum Bunt. (Conover and Satterthwaite, 1996) และมะม่วง
  • 7. Journal of Agr. Research & Extension 31(1): 1-12 3 (นาถฤดี, 2553) เนื่องจากสารพาโคลบิวทราโซลซึ่ง จัดอยู่ในกลุ่มไทรอะโซล มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของ ระดับไซโตไคนินในข้าว (Izumi et al., 1988) คาร์เนชั่น (Sebastian etal., 2002) และแอปเปิ้ล (Zhu etal., 2004) เพราะการเพิ่มขึ้นของไซโตไคนินในพืชมีผลต่อการ ส่งเสริมการแบ่งเซลล์เพิ่มขึ้น และการพัฒนาของตา และยอด (Arteca, 1996) อย่างไรก็ตามบทบาทที่ เด่นชัดของสารในกลุ่มนี้ คือ การยังยั้งการสังเคราะห์ จิบเบอเรลลิน เป็นผลให้ระดับของสารดังกล่าวลดต่าลง (Steffens et al., 1992) อันเป็นสาเหตุของการไม่ยืดยาว ของกิ่ง เนื่องจากการยับยั้งการแบ่งเซลล์และการยืดยาว ของเซลล์ (Cummings et al., 1999) ซึ่งเป็นเซลล์ใน บริเวณใต้ปลายยอด จานวนใบจึงยังคงไม่เปลี่ยนแปลง (Sterrett, 1985) แต่ในรายงานของ Davis et al. (1988) กล่าวถึงการตอบสนองของพืชต่อสารในกลุ่มไทรอะโซล ว่ามีความแตกต่างกันไปตามชนิดพืช อายุพืช พันธุ์พืช ปริมาณกาหนด และวิธีการให้สาร ดังนั้น การทดลอง ใช้สารพาโคลบิวทราโซลเพื่อควบคุมพัฒนาการของ ใบชวนชมพันธุ์ฮอลแลนด์-มิสไทยแลนด์ที่ปลูกเป็น ไม้กระถาง จึงอาจจะเป็นแนวทางในการแก้ปัญหา พัฒนาการของใบในทรงพุ่มได้อย่างเหมาะสม อุปกรณ์และวิธีการ ทาการทดลองกับชวนชมพันธุ์ฮอลแลนด์- มิสไทยแลนด์ อายุ 4 เดือน ที่ได้จากการเพาะเมล็ด ในระบบผสมเกสรด้วยมือจากต้นพ่อและต้นแม่พันธุ์ เดียวกัน จานวน 525 ต้น ณ เรือนผลิตพืชเศรษฐกิจ ภาควิชาเกษตรและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์ อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ ระหว่างเดือน มกราคมถึงพฤษภาคม พ.ศ. 2554 โดยวางแผนการ ทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) ที่จัดสิ่งทดลองแบบ แฟคทอเรียล 5X3 มีปัจจัยแรก คือ ระดับความเข้มข้น ที่ต่างกัน 5 ระดับ ของพาโคลบิวทราโซล ได้แก่ 0, 100, 200, 300, และ 400 มก./ล. และปัจจัยที่สอง คือ ระยะเวลาในการราดสารพาโคลบิวทราโซลที่ ต่างกัน 3 ระยะ ได้แก่ ราดพร้อมการตัดยอด ราดก่อน การตัดยอด 15 วัน และราดหลังการตัดยอด 15 วัน แต่ละกรรมวิธีทา 5 ซ้า แต่ละซ้าใช้พืชทดลอง 7 ต้น ทั้งนี้พืชทดลองแต่ละต้นได้รับการตัดยอดเดิมออกไป โดยวัดระยะความสูงจากผิววัสดุปลูกขึ้นไป 5 ซม. การ ราดสารทาโดยราดสารลงวัสดุปลูกจานวน 1 ครั้ง ใน แต่ละกรรมวิธีปริมาณ 50 มล. ต่อกระถาง ทาการงด การให้น้าในวันที่ราดสาร เพื่อป้องกันการชะล้างสาร ออกไปกับน้าส่วน เกินที่แต่ละกระถางได้รับ การให้น้า กระทาหลังจากวันที่ราดสารแล้ว 2 วัน และหลังจาก นั้นอีกทุก 2 วัน จนกระทั่งครบระยะเวลา 120 วัน การ บันทึกข้อมูลพัฒนาการบางประการของใบ ทาหลังจาก พืชทดลองได้รับกรรมวิธีจนกระทั่งครบ 120 วัน โดย บันทึกลักษณะพัฒนาการใดๆ ที่เกิดขึ้นก่อน จนกระทั่ง ครบทุกหน่วยทดลอง ได้แก่ จานวนวันที่ใบใหม่ปรากฏ จานวนวันที่ใบใหม่คลี่บานเต็มที่ และจานวนใบที่ร่วง หล่น สาหรับลักษณะจานวนใบที่ติดอยู่กับต้น และ พื้นที่ใบบันทึกเมื่อพืชทดลองได้รับกรรมวิธีต่างๆ ครบ 120 วัน ผลการทดลอง จานวนวันที่ใบใหม่ปรากฏ ระดับความเข้มข้นของสารพาโคลบิวทราโซล ที่แตกต่างกันในช่วง 0 ถึง 400 มก./ล. และอิทธิพล ร่วมของระดับความเข้มข้นและระยะเวลาในการราด สาร ไม่แสดงอิทธิพลอย่างมีนัยสาคัญต่อจานวนวันที่ ใบใหม่ปรากฏ ต่อจานวนวันที่ใช้เพื่อการพัฒนาใบใหม่ ในขณะที่ระยะเวลาในการราดสารมีผลต่อลักษณะ ดังกล่าวอย่างมีนัยสาคัญ โดยพบว่า การราดสารหลัง การตัดยอด 15 วัน ส่งเสริมให้ใบใหม่ปรากฏได้ใน ระยะเวลาเฉลี่ยเพียง 5.75 วัน แต่การราดสารพร้อม การตัดยอดและก่อนการตัดยอด 15 วัน ใช้ระยะเวลา เฉลี่ยเพิ่มขึ้นถึง8.27 และ 22.07 วัน ตามลาดับ (Table 1)
  • 8. วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 31(1): 1-12 4 Table 1 Days to new leaf presence as affected by paclobutrazol Time of drenching Concentrated level (mg/l)3/ 0 100 200 300 400 Mean2/ Day of shoot cutting 7.32a 8.14a 8.63a 9.03a 8.20a 8.27b 15 days before shoot cutting 21.72a 21.20a 21.59a 23.02a 22.80a 22.07a 15 days after shoot cutting 6.24a 5.60a 5.83a 5.00a 6.08a 5.75c Mean1/ 11.76a 11.64a 12.02a 12.35a 12.36a C.V. = 8.88% Means in rows and columns with different letters are significantly different at P≤0.01 by DMRT. 1/ concentrated level mean, P-value = 0.2389 (ns); 2/ time of drenching mean, P-value = 0.0001 (**) 3/ concentrated level x time of drenching mean, P-value = 0.0501 (ns) จานวนวันที่ใบใหม่คลี่บานเต็มที่ ระดับความเข้มข้นของสารพาโคลบิวทราโซล ที่เพิ่มขึ้นมีผลต่อจานวนวันที่ใบใหม่คลี่บานเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสาคัญตามลาดับเมื่อเปรียบเทียบกับการ ไม่ได้รับสาร ในขณะที่การราดสารหลังการตัดยอด 15 วัน มีผลต่อจานวนวันคลี่บานของใบใหม่มากที่สุด อย่างมีนัยสาคัญ นอกจากนี้ พบว่า ระดับความเข้มข้น และระยะเวลาในการราดสารพาโคลบิวทราโซลที่ แตกต่างกันแสดงอิทธิพลร่วมอย่างมีนัยสาคัญต่อ จานวนวันเฉลี่ยที่ใช้ในการคลี่บานเต็มที่ของใบใหม่ที่ เกิดขึ้น โดยพบว่า การราดน้ากลั่นพร้อมตัดยอดมีผล ต่อพัฒนาการดังกล่าวที่ใช้ระยะเวลาสั้นที่สุดเพียง 8.30 วัน ในขณะที่การราดสารความเข้มข้น 400 มก./ล. หลังการตัดยอด 15 วัน มีผลต่อจานวนวันที่ใช้ในการ คลี่บานเต็มที่ของใบใหม่ยาวนานที่สุดถึง 17.68 วัน (Table 2) Table 2 Days to full expanding of new leaf as affected by paclobutrazol Time of drenching Concentrated level (mg/l)3/ 0 100 200 300 400 Mean2/ Day of shoot cutting 8.30i 10.83f 12.72e 13.70d 15.59b 12.23b 15 days before shoot cutting 10.48fg 9.64h 10.10gh 12.17e 14.70c 11.42c 15 days after shoot cutting 14.58c 15.00bc 15.17bc 15.49b 17.68a 15.58a Mean1/ 11.12e 11.83d 12.66c 13.79b 15.99a C.V. = 3.87% Means in rows and columns with different letters are significantly different at P≤0.01 by DMRT. 1/ concentrated level mean, P-value = 0.0001 (**); 2/ time of drenching mean, P-value = 0.0001 (**) 3/ concentrated level x time of drenching mean, P-value = 0.0001 (**)
  • 9. Journal of Agr. Research & Extension 31(1): 1-12 5 จานวนยอดใหม่ จานวนยอดใหม่เพิ่มขึ้นสูงที่สุดอย่างมี นัยสาคัญที่ระดับความเข้มข้น 300 มก./ล. และมี จานวนยอดลดลงเมื่อระดับความเข้มข้นเพิ่มขึ้นถึง 400 มก./ล. ในขณะที่การราดสารหลังการตัดยอด 15 วัน มีผลต่อจานวนยอดใหม่ที่เพิ่มขึ้นมากที่สุดอย่าง มีนัยสาคัญ อิทธิพลร่วมระหว่างระดับความเข้มข้นและ ระยะเวลาในการราดสารพาโคลบิวทราโซลที่แตกต่าง กัน มีผลต่อจานวนยอดใหม่ที่ปรากฏอย่างมีนัยสาคัญ โดยพบว่า การราดสารที่ระดับความเข้มข้น 300 มก./ล. พร้อมการตัดยอดและหลังการตัดยอด 15 วัน มีผลทา ให้พืชทดลองพัฒนายอดใหม่เฉลี่ยได้มากที่สุดเท่ากับ 5.95 และ 5.92 ยอด ตามลาดับ ซึ่งการตอบสนองของ พัฒนาการด้านจานวนยอดดังกล่าวในทุกระดับความ เข้มข้นของสารที่ราดหลังการตัดยอด 15 วัน แสดง แนวโน้มไม่แตกต่างจากการราดด้วยน้ากลั่นหลังการ ตัดยอด 15 วัน (Table 3) Table 3 Number of new shoot affected by paclobutrazol Time of drenching Concentrated level (mg/l)3/ 0 100 200 300 400 Mean2/ Day of shoot cutting 5.41bcd 4.70e 5.39dc 5.95a 5.41bcd 5.38b 15 days before shoot cutting 5.08d 5.72abc 5.49bcd 5.62abc 5.09d 5.40b 15 days after shoot cutting 5.80abc 5.76abc 5.77abc 5.92a 5.83ab 5.81a Mean1/ 5.43b 5.39b 5.55b 5.83a 5.45b C.V. = 5.21% Means in rows and columns with different letters are significantly different at P≤0.01 by DMRT. 1/ concentrated level mean, P-value = 0.0001 (**); 2/ time of drenching mean, P-value = 0.0001 (**) 3/ concentrated level x time of drenching mean, P-value = 0.0001 (**) จานวนใบที่ร่วงหล่น การราดสารพาโคลบิวทราโซลที่ระดับความ เข้มข้น 100 ถึง 200 มก./ล. มีผลต่อการร่วงหล่นของ ใบเฉลี่ยมากที่สุดอย่างมีนัยสาคัญ เมื่อเปรียบเทียบกับ การราดสารที่ระดับความเข้มข้น 400 มก./ล. ที่มีผล ต่อการร่วงหล่นของใบน้อยที่สุด ในขณะที่การราดสาร พร้อมการตัดยอดและหลังการตัดยอด 15 วัน มีผลต่อ การร่วงหล่นของใบมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับการราด สารก่อนการตัดยอด 15 วัน อย่างมีนัยสาคัญ และยัง พบว่า ระดับความเข้มข้นและระยะเวลาในการราดสาร พาโคลบิวทราโซลที่แตกต่างกันแสดงอิทธิพลร่วม อย่างมีนัยสาคัญต่อจานวนใบที่ร่วงหล่น โดยพบว่า การราดสารที่ระดับความเข้มข้น 200 มก./ล. หลังการ ตัดยอด 15 วัน มีผลต่อจานวนใบร่วงหล่นเฉลี่ยจากต้น มากที่สุดถึง 76.40 ใบ ในขณะที่การราดสารระดับ ความเข้มข้น 400 มก./ล. ในระยะเวลาเดียวกันมีผลต่อ การร่วงหล่นเฉลี่ยของใบน้อยที่สุดเพียง 52.00 ใบ (Table 4)
  • 10. วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 31(1): 1-12 6 Table 4 Number of fallen leaf as affected by paclobutrazol Time of drenching Concentrated level (mg/l)3/ 0 100 200 300 400 Mean2/ Day of shoot cutting 64.16bcd 65.13bcd 63.99bcd e 63.23cde 67.76b 64.86a 15 days before shoot cutting 60.18ef 67.17bc 58.84fg 58.88fg 56.12g 60.24b 15 days after shoot cutting 65.20bcd 65.68bcd 76.40a 61.72def 52.00h 64.20a Mean1/ 63.18b 65.99a 66.41a 61.28b 58.63c C.V. = 4.42% Means in rows and columns with different letters are significantly different at P≤0.01 by DMRT. 1/ concentrated level mean, P-value = 0.0001 (**); 2/ time of drenching mean, P-value = 0.0001 (**) 3/ concentrated level x time of drenching mean, P-value = 0.0001 (**) จานวนใบที่ติดอยู่กับต้น การราดสารพาโคลบิวทราโซลทุกระดับความ เข้มข้นมีผลต่อจานวนใบที่ติดอยู่กับต้นเฉลี่ยต่ากว่า การไม่ราดสารอย่างมีนัยสาคัญ โดยพบว่า ที่ระดับ ความเข้มข้น 200 มก./ล. มีผลต่อการคงอยู่ของใบ กับต้นต่าที่สุดเพียง 17.22 ใบ ในขณะที่การราดสาร พร้อมการตัดยอดมีผลต่อจานวนใบเฉลี่ยติดอยู่กับต้น ต่าที่สุดเพียง 22.92 ใบ เมื่อเปรียบเทียบกับการราด สารก่อนและหลังการตัดยอด 15 วัน ที่มีจานวนใบติด อยู่กับต้นเฉลี่ยสูงกว่าอย่างมีนัยสาคัญ ตามลาดับ ระดับความเข้มข้นและระยะเวลาในการราดสารพาโคล บิวทราโซล ที่แตกต่างกันไม่แสดงอิทธิพลร่วมอย่างมี นัยสาคัญต่อจานวนใบที่ติดอยู่กับต้น (Table 5) Table 5 Number of leaves attached to stem as affected by paclobutrazol Time of drenching Concentrated level (mg/l)3/ 0 100 200 300 400 Mean2/ Day of shoot cutting 28.13a 22.31a 16.64a 25.87a 21.65a 22.92b 15 days before shoot cutting 29.13a 23.42a 16.95a 25.71a 22.06a 23.45ab 15 days after shoot cutting 29.15a 23.27a 18.06a 26.78a 22.85a 24.02a Mean1/ 28.80a 23.00c 17.22d 26.12b 22.19c C.V. = 5.07% Means in rows and columns with different letters are significantly different at P≤0.01 by DMRT. 1/ concentrated level mean, P-value = 0.0001 (**); 2/ time of drenching mean, P-value = 0.0073 (**) 3/ concentrated level x time of drenching mean, P-value = 0.9180 (ns) พื้นที่ใบ การราดสารพาโคลบิวทราโซลทุกระดับความ เข้มข้นมีผลต่อพื้นที่ใบเฉลี่ยที่ลดลงอย่างมีนัยสาคัญ เมื่อเปรียบเทียบกับการไม่ราดสาร โดยทุกระดับความ เข้มข้นมีผลต่อพื้นที่ใบไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ ในขณะที่ระยะเวลาการราดสาร และอิทธิพลร่วมของ ระดับความเข้มข้นและระยะเวลาการราดสารไม่มีผลต่อ พื้นที่ใบอย่างมีนัยสาคัญ (Table 6)
  • 11. Journal of Agr. Research & Extension 31(1): 1-12 7 Table 6 Leaf area as affected by paclobutrazol Time of drenching Concentrated level (mg/l)3/ 0 100 200 300 400 Mean2/ Day of shoot cutting 15.17a 11.22a 9.22a 9.55a 8.19a 10.67a 15 days before shoot cutting 9.88a 6.02a 12.51a 9.59a 7.65a 9.13a 15 days after shoot cutting 13.73a 10.28a 7.70a 10.53a 8.58a 10.17a Mean1/ 12.93a 9.17b 9.81b 9.89b 8.14ba C.V. = 33.93% Means in a row with different letters are significantly different at P≤0.01 by DMRT. 1/ concentrated level mean, P-value = 0.0048 (**); 2/ time of drenching mean, P-value = 0.2691 (ns) 3/ concentrated level x time of drenching mean, P-value = 0.0580 (ns) วิจารณ์ผลการทดลอง การราดสารพาโคลบิวทราโซลหลังการตัด ยอด 15 วัน ส่งเสริมให้ตาในบริเวณที่อยู่ถัดจากรอย ตัดลงมาได้มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา แม้ว่าจะไม่ได้ รับสารพาโคลบิวทราโซลก็ตาม แต่เมื่อถูกกระตุ้น โดยสารดังกล่าว อาจส่งผลต่อสัดส่วนระหว่างไซโตไคนิน และออกซินที่เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากสัดส่วนของ ไซโตไคนินเพิ่มขึ้นสูงกว่าออกซินจะชักนาให้เกิดการ สร้างยอดใหม่ (Krikorian et al., 1990) ซึ่งสอดคล้อง กับผลการศึกษาในพืชหลายชนิด ที่พบว่า สารประกอบ ในกลุ่มไทรอะโซลแสดงอิทธิพลต่อการเพิ่มขึ้นของ ปริมาณไซโตไคนินในข้าว (Izumi etal., 1988) คาร์เนชั่น (Sebastian et al., 2002) แอปเปิ้ล (Zhu et al., 2004) การเพิ่มขึ้นของไซโตไคนินในพืชยังมีผลต่อการ ส่งเสริมการแบ่งเซลล์เพิ่มขึ้น ตลอดจนการพัฒนา ของตา (Arteca, 1996) นอกจากนี้แล้วการตัดยอดของ พืชทดลองออกไป เปรียบเสมือนการทาลายแหล่ง สังเคราะห์ออกซินที่ควบคุมการเติบโตของตาข้างที่อยู่ ถัดลงมา ดังนั้นการพัฒนาของตาที่อยู่ถัดลงมาจาก รอยตัดจึงอาจเป็นผลจากสาเหตุทั้งสองประการ ดังกล่าวข้างต้น การคลี่บานเต็มที่ของใบใหม่ที่ปรากฏ ซึ่งเป็น ลาดับพัฒนาการที่ต่อเนื่องมาจากการปรากฏของใบ ใหม่ดังกล่าวแล้วนั้น ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า การราดด้วยน้ากลั่น พร้อมการตัดยอดส่งเสริมให้ใบใหม่ คลี่บานเต็มที่โดยใช้เวลาน้อยที่สุด เนื่องจากการคลี่ บานของใบ มีความสัมพันธ์กับไซโตไคนินภายในต้น พืชตามธรรมชาติ ซึ่งการเติบโตของใบถูกส่งเสริมโดย การเพิ่มการเติบโตของเซลล์ เป็นผลให้เกิดการยืด ขยายของเซลล์ (Salisbury and Ross, 1985; Hamada et al., 2008) และอาจมีความสัมพันธ์กับระดับและการ กระจายตัวของไซไคนินภายในต้นพืช ซึ่งตามธรรมชาติ จะถูกควบคุมโดยออกซินจากปลายยอด (Tamas, 1995) การราดด้วยน้ากลั่นพร้อมการตัดยอดจึงเป็นผลให้เกิด การเติบโตของใบใหม่ขึ้น ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นใบที่อยู่ใน ตาแหน่งของตาข้าง และไม่ได้อยู่ภายใต้อิทธิพลของ ออกซิเจนจากปลายยอด เนื่องจากยอดพืชทดลองถูก ตัดออกไป การคลี่บานของใบใหม่จึงเกิดขึ้นอย่าง รวดเร็ว ทั้งนี้น้ากลั่นซึ่งไม่มีสารพาโคลบิวทราโซลละลาย อยู่ ย่อมไม่มีผลโดยตรงต่อการเปลี่ยนแปลงสมดุลของ ไซโตไคนินและออกซิน แต่อาจมีผลโดยอ้อมต่อระดับ และการกระจายตัวของฮอร์โมนพืชชนิดอื่นๆ ที่มีผล ต่อการคลี่บานของใบได้ จานวนยอดใหม่ที่ปรากฏมากที่สุด เนื่องจาก ได้รับสารพาโคลบิวทราโซลที่ระดับความเข้มข้นสูงถึง 300 มก./ล. ทั้งในขณะที่ตัดยอดและหลังตัดยอด 15 วัน อาจเป็นผลมาจากการที่ราดสารพาโคลบิวทราโซล
  • 12. วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 31(1): 1-12 8 ยังไม่มีโอกาสที่จะถูกดูดซึมเข้าสู่รากได้มาก เนื่องจาก ส่วนยอดของพืชทดลองที่ถูกตัดออกไป เป็นผลให้ แรงดึงเนื่องจากการคายน้าของใบถูกทาให้หมดไป เช่นเดียวกัน คงมีเพียงแต่แรงดันรากที่มีผลต่อการดูด ซึมดังกล่าว ปริมาณสารจานวนน้อยและการกระจาย ตัวของสารในกลุ่มนี้ อาจมีความสัมพันธ์กับปริมาณ ของไซโตไคนินภายในลาต้นพืชทดลองส่วนที่เหลือ จากการตัดยอด ซึ่งสารในกลุ่มไทรอะโซลนี้จัดเป็นสาร ที่ศักยภาพในการยับยั้งการเติบโตของยอดที่ระดับ ความเข้มข้นต่า (Tsegaw, 2005) อย่างไรก็ตามชวนชม พันธุ์ฮอลแลนด์ที่ยังคงมียอดเดิมติดอยู่กับลาต้น พบว่า มีการเจริญเติบโตของกิ่งแขนงเพิ่มขึ้นตามระดับความ เข้มข้นของสารที่ได้รับ (ใจศิลป์, 2542) การร่วงหล่นของใบรวมเฉลี่ยสูงที่สุด เมื่อพืช ทดลองได้รับสารพาโคลบิวทราโซลที่ระดับความ เข้มข้น 200 มก./ล. หลังการตัดยอด 15 วัน ซึ่งเป็น ความเข้มข้นในระดับปานกลางแสดงให้เห็นว่า ที่ระดับ ความเข้มข้นและระยะเวลาในการราดสารดังกล่าว ส่งเสริมให้เกิดการชราภาพและการหลุดร่วงของใบ ตามลาดับ ซึ่งอาจเป็นผลมาจากการชักนาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงสมดุลของฮอร์โมนภายในพืชทดลอง (Fletcher and Hofstra, 1985) อันนาไปสู่การลดระดับ ของจิบเบอเรลลิน และการเพิ่มขึ้นของไซโตไคนิน และกรดแอบซิสซิก (Basra, 2000) ซึ่งกรดแอบซิสซิก มีบทบาทในการส่งเสริมการสร้างเอทธิลีนเพิ่มขึ้น อันเป็นกลไกที่กระตุ้นการทางานของยีนจานวนมากที่ เกี่ยวข้องกับการหลุดร่วง (Osborne, 1989) ใบที่ติดอยู่กับต้นของพืชทดลอง มีแนวโน้ม ลดลงตามระดับความเข้มข้นของสารเพิ่มขึ้น โดยพืช ทดลองที่ไม่ได้รับสาร ปรากฏจานวนใบเฉลี่ยมากที่สุด แสดงให้เห็นว่า ระดับการกระจายตัวของฮอร์โมน ภายในพืชทดลองเปลี่ยนแปลงไป หลังจากได้รับ สารพาโคลบิวทราโซล (Fletcher and Hofstra, 1985) ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมิได้เกิดขึ้นอย่างเฉพาะ เจาะจงแต่เพียงไซโตไคนินเท่านั้น แต่ยังมีผลต่อ จิบเบอเรลลินและกรดแอบซิสซิก การเพิ่มขึ้นของกรด ดังกล่าวในพืชที่ได้รับสารในกลุ่มไทรอะโซล มีความ สัมพันธ์กับการป้องกันคาทาบอลิซึมของกรดชนิดนี้ไป เป็นกรดฟาเซอิก ซึ่งถูกกระตุ้นโดยไซโตโครม P-450- dependent โมโนออกซีจีเนส (Rademacher, 1997) ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงที่ไม่ได้สมดุลดังกล่าว อาจมีผลทาให้มีปริมาณกรดแอบซิสซิกเพิ่มขึ้น ใน ปริมาณที่สามารถส่งเสริมการชราภาพ และการหลุดร่วง ของใบได้ในที่สุด ซึ่งการศึกษาในครั้งนี้ไม่สอดคล้อง กับผลการศึกษาในไม้เนื้อแข็ง ที่ได้รับการฉีดสาร พาโคลบิวทราโซลเข้าสู่ลาต้น ที่พบว่า สารดังกล่าว มีผลต่อใบซึ่งมีจุดกาเนิดที่ปลายยอด จานวนใบจึง ไม่เปลี่ยนแปลง (Sterrett, 1985) แต่สอดคล้องกับผล การศึกษาของ นาถฤดี (2533) ซึ่งพบว่า มะม่วงพันธุ์ เขียวเสวยที่ได้รับสารพาโคลบิวทราโซลมีจานวนใบ น้อยกว่าต้นที่ไม่ได้รับสาร ทั้งนี้การราดสารหลังการตัด ยอด 15 วัน มีผลต่อจานวนใบเฉลี่ยติดอยู่กับต้นมาก ที่สุด อาจเป็นผลมาจากระดับไซโตไคนินที่เพิ่มขึ้น ตลอดจนการเพิ่มการเปลี่ยนแปลงของคลอโรพลาสต์ และชีวสังเคราะห์ของคลอโรฟิลล์ที่ถูกกระตุ้นโดย พาโคลบิวทราโซล (Fletcher et al., 1982) เมื่อส่วนยอด ของพืชทดลองถูกตัดออกไป ไซโตไคนินส่วนใหญ่ซึ่ง ตามธรรมชาติถูกสังเคราะห์ที่บริเวณเนื้อเยื่อเจริญ ปลายราก (Weston, 1994) อาจมีระดับและการกระจายตัว ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งการลาเลียงสู่ ปลายยอดใหม่ โดยใบใหม่อันเกิดจากตาข้างเป็นแหล่ง รองรับไซโตไคนินเหล่านี้ และด้วยเหตุผลสาคัญที่ พบว่า ไซโตไคนินมีผลในการชะลอการชราภาพของใบ (Arteca, 1996; Weston, 1994) และชะลอการเสื่อมสภาพ ของคลอโรฟิลล์ (Fletcher et al., 1982) โดยมีผลการ ศึกษาจานวนมาก ที่สนับสนุนอิทธิพลของสารกลุ่ม ไทรอะโซล ต่อการชะลอการเข้าสู่ระยะเริ่มต้นของการ ชราภาพในพืชหลายชนิด เช่น องุ่น (Hunter and Proctor, 1992) และบลูเบอร์รี่ (Basiouny and Sass, 1993) นอกจากนี้แล้ว ไซโตไคนินยังมีความเกี่ยวข้องกับ
  • 13. Journal of Agr. Research & Extension 31(1): 1-12 9 เมทาบอลิซึมและการลาเลียงคาร์โบไฮเดรท (Roitsch and Ehneβ, 2000) โดยพบว่า มีปริมาณเม็ดแป้งในใบ ของอะโวกาโดพันธุ์ Hass ที่ได้รับสารพาโคลบิวทราโซล สูงกว่าใบที่ไม่ได้รับสาร (Symons et al., 1990) ดังนั้น ผลของพาโคลบิวทราโซลที่อาจมีผลต่อระดับและการ กระจายตัวของไซโตไคนิน จึงอาจเป็นสาเหตุที่ทาให้ การเข้าสู่ระยะชราภาพของใบใหม่ถูกชะลอลง การ หลุดร่วงจึงปรากฏได้น้อยกว่า พื้นที่ใบเฉลี่ยของพืชทดลองที่ได้รับสารพาโคล บิวทราโซล มีขนาดลดลงในทุกระดับความเข้มข้น ของสาร แสดงให้เห็นถึงผลของสารต่อกลไกการยังยั้ง ชีวสังเคราะห์ของจิบเบอเรลลิน เป็นผลให้การยืดยาว ของเซลล์ลดลงและการเติบโตที่ชะลอลง (Fletcher etal., 1982; Rademacher, 2000) โดยพืชที่ได้รับสารดังกล่าว มีระดับความเข้มข้นของจิบเบอเรลลินที่ตรวจวัดได้ ต่าลง (Steffens et al., 1992) ซึ่งสอดคล้องกับผลการ ศึกษาในพืชหลายชนิด เช่น เข็มเชียงใหม่ (ภานุพงศ์, 2548)มะกอก(AntognozziandPreziosi,1986)คาร์เนชั่น (Sebastian etal., 2002) มะม่วง (Yeshitela etal., 2004) และมะเขือเทศประดับ (de Moraes et al., 2005) สรุปผลการทดลอง การราดสารพาโคลบิวทราโซลในระยะเวลาที่ แตกต่างกัน สามารถส่งเสริมและชะลอพัฒนาการของ ใบชวนชมในบางลักษณะได้ในเวลาเดียวกัน การราด สารชนิดนี้หลังการตัดยอด 15 วัน ส่งเสริมให้ใบใหม่ ปรากฏได้เร็วที่สุด ซึ่งใบใหม่ที่ปรากฏดังกล่าวถูกชะลอ การคลี่บานเต็มที่ เมื่อได้รับสารในทุกระดับความ เข้มข้นและทุกระยะเวลาของการราดสาร นอกจากนี้ ระดับความเข้มข้นของสารที่เพิ่มขึ้นถึง 300 มก./ล. โดยราดพร้อมการตัดยอดและหลังการตัดยอด 15 วัน ส่งเสริมให้มีจานวนยอดใหม่เพิ่มขึ้นมากที่สุด ในขณะที่ ใบของชวนชมมีการร่วงหล่นมากที่สุดเมื่อได้รับสารที่ ระดับความเข้มข้น 200 มก./ล. หลังการตัดยอด 15 วัน แต่เมื่อระดับความเข้มข้นเพิ่มขึ้นถึง 400 มก./ล. โดยราดสารในระยะเวลาเดียวกันส่งเสริมให้ใบมีการ ร่วงหล่นน้อยที่สุด การราดสารในทุกระดับความเข้มข้น มีผลต่อจานวนใบที่ติดอยู่กับต้นลดลง โดยการราดสาร หลังการตัดยอด 15 วัน ส่งเสริมให้มีจานวนใบติดอยู่ กับต้นมากที่สุด และการราดสารที่ระดับความเข้มข้น เพียง 100 มก./ล. สามารถลดพื้นที่ใบได้ไม่แตกต่าง จากการราดสารที่ระดับความเข้มข้นที่สูงกว่า กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ และสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์ ที่เอื้อเฟื้อสถานที่สาหรับทาการทดลองและ งบประมาณสนับสนุนการวิจัย เอกสารอ้างอิง เกียมศักดิ์คาแปง และวันดี สุริยวงศ์. 2548. เทคโนโลยีการผลิตยูมีโคสเพื่อการค้า. วารสารโครงการหลวง 9(4): 4-8. ใจศิลป์ ก้อนใจ. 2542. การศึกษาอิทธิพลของสาร พาโคลบิวทราโซลที่มีผลต่อการเจริญเติบโต และการออกดอกของชวนชม. 52 น. ใน รายงานผลการวิจัย. เชียงใหม่: สถานีวิจัย และศูนย์ฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. นาถฤดี ศุภกิจจารักษ์. 2533. ผลของพาโคลบิว- ทราโซลต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณสาร คล้ายจิบเบอเรลลินที่ปลายยอดและการ ออกดอกของมะม่วงพันธุ์เขียวเสวย. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. 64 น.
  • 14. วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 31(1): 1-12 8 ภาณุพงศ์ ศรีอ่อน. 2548. ผลของสาร Paclobutrazol และ Trinexapac- ethyl ต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของ ไม้ดอกและไม้ประดับบางชนิด. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. 113 น. Antognozzi, E. and P. Preziosi. 1986. Effects of paclobutrazol (PP333) on nursery trees of olive. [Online]. Available http://www. actahort.org/book/179_97.html (16 January 2012). Arteca, R. N. 1996. Plant Growth Substances: Principles and Applications. New York: Chapman & Hall. 332 p. Basiouny, F. M. and P. Sass. 1993. Shelf life and quality of rabbiteye blueberry fruit in response to preharvest application of CaEDTA, nutrical and paclobutazol. [Online]. Available http://www.actahort. org/books/368/368_107.html (16 April 2011). Basra, A. S. 2000. Plant Growth Regulators in Agriculture and Horticulture: Their Role and Commercial Uses. New York: The Haworth. 264 p. Conover, C. A. and L. N. Satterthwaite. 1996. Paclobutrazol optimizes leaf size, vine length and plant grade of golden pothos (Epipremnum aureum) on totems. J. Envi. Hortic. 14(1): 44-46. Cummings, H. D., F. H. Yelverton and T. W. Rufly. 1999. Rooting of creeping bentgrass in response to plant growth regulators and preemergence herbicides. [Online]. Available http:www.weedscience.msstate.edu/swss/ Proceedings/1999/section П.pdf (4 April 2010). Davis, T. S., G. L. Steffens, and N. Sankhla. 1988. Triazole plant growth regulators. pp. 63-105. In Janick, J. (ed.). Horticultural Reviews. Volume 10. Portland: Timber Press. de Moraes, P. J., J. A. Saraiva Grossi, S. de Araújo Tinoco, D.J. Henriques da Silva, P.R. Cecon and J.G. Barbosa. 2005. Ornamental tomato growth and fruiting response to paclobutrazol. [Online]. Available http://www.actahort.rg/books/ 683/ 683_40.html (20 April 2012). Fletcher, R. A. and G. Hofstra. 1985. Triadimefon-A plant multi-protectant. Plant Cell Physiol. 26(4): 775-780. Fletcher, R. A., V. Kallidumbil and P. Steele. 1982. Au improved bioassay for cytokinin using cucumber cotyledons. Plant Physiol. 69(3): 675-677. Hamada, K., K. Hasegawa and T. Ogata. 2008. Strapping and a synthetic cytokinin promote cell enlargement in ‘Hiratanenashi’ Japanese persimmon. Plant Growth Regul. 54(3): 225-230. 10
  • 15. Journal of Agr. Research & Extension 31(1): 1-12 11 Hunter, D. M. and J. T. A. Proctor. 1992. Paclobutrazol affects growth and fruit composition of potted grapevines. HortSci. 27(4): 319-321. Izumi, K., S. Nakagawa, M. Kobayashi, H. Oshio, A. Sakurai and N. Takahashi. 1988. Levels of IAA, cytokinins, ABA and ethylene in rice plants as affected by GA biosynthesis inhibitor, uniconazole-P. Plant Cell Physiol. 29(1): 97-104. Krikorian, A.,D. K. Kelly and D. L. Smith. 1990. Hormones in tissue culture and micro- propagation. pp. 596-613. In Davies, P. J. (ed.). Plant Hormones and their Role in Plant Growth and Development. Dordrecth: Kluwer Academic. LeCain, D. R., K. A. Scheke and R. L. Wample. 1986. Growth retarding effects of paclobutrazol on weeping fig. HortSci. 21(5): 1150-1152. Osborne, D. J. 1989. Abscission. Crit. Rev. Plant Sci. 8(2): 103-129. Rademacher, E. 2000. Growth retardants: effects on gibberellin biosynthesis and other metabolic pathway. Annu. Rev. Plant Physiol. Plant Mol. Biol. 51: 501-531. Rademacher, W. 1997. Bioregulation in crop plants with inhibitors of gibberellin biosynthesis. pp. 27-31. In Proceedings of the Plant Growth Regulation Society of America, 31 March 2000. Atlanta. Roitsch, T. and R. Ehneβ. 2000. Regulation of source/sink relations by cytokinins. Plant Growth Regul. 32(2-3): 359-367. Salisbury, F.B. and C.W. Ross. 1985. Plant Physiology. 3rd ed. Belmont: Wadsworth 540 p. Sebastian, B., G. Alberto, A. C. Emilio, A. F. Jose and A. F. Juan. 2002. Growth, development and colour response of potted Dianthus caryophyllus cv. Mondriaan to paclobutrazol treatment. Sci. Hortic. 9(3): 371-377. Steffens, G. L., J. T. Lin, A. E. Stafford, J. D. Metzger and J. P. Hazebroek. 1992. Gibberellin content of immature apple seeds from paclobutrazol treated trees over three seasons. J. Plant Growth Regul. 11(3): 165-170. Sterrett, J. P. 1985. Paclobutrazol: A promising growth inhibitor for injection into woody plants. J. Amer Soc. Hortic. Sci. 110(1): 4-8. Symons, P. R. R., P. J. Hofman and B. N. Wolstenholme. 1990. Responses to paclobutrazol of potted ‘Hass’ avocado trees. [Online] Available http://www. actahort.org/books/275/275-21.html (7 November 2011). Tamas, I. A. 1995. Hormonal Regulation of Apical Dominance. pp. 572-597. In Davies, P. J. (ed.) Plant Hormones: Physiology, Biochemistry and Molecular Biology. Dordrecht: Kluwer Academic.
  • 16. วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 31(1): 1-12 8 Tsegaw, T. 2005. Response of Potato to Paclobutrazol and Manipulation of Reproductive Growth under Tropical Conditions. Doctoral dissertation. University of Pretoria. 203 p. Weston, G. D. 1994. Crop Physiology. Butterworth-Heinemann. Oxford: 270 p. Yeshitela, T., P. J. Robbertse and P.J.C. Stassen. 2004. Paclobutrazol suppressed vegetative growth and improved yield as well as fruit quality of ‘Tommy Atkins’ mango (Mangifera indica) in Ethiopia. New Zea. J. Crop Hortic. Sci. 32(3): 281-293. Zhu, L-F., A. van de Peppel, X-Y. Li and M. Welander. 2004. Changes of leaf water potential and endogenous cytokinins in young apple trees treated with or without paclobutrazol under drought conditions. Sci. Hortic. 99(2): 133-141. 12
  • 17. Journal of Agr. Research & Extension 31(1): 13-22 13 ผลของกรดแนฟทาลีนอะซีติกและเบนซิลอะดีนีนต่อความเป็นพิษของฟลูออรีน และฟลูออแรนทีนในข้าวเจ้าพันธุ์ กข 47 Effect of Naphthalene Acetic Acid and Benzyladenine on Fluorene and Fluoranthene Toxicity in Rice cv. RD 47 วราภรณ์ ฉุยฉาย1* พรรณี ชาติชัย1 และขนิษฐา สมตระกูล2 Waraporn Chouychai1* , Pannee Chatchai1 and Khanitta Somtrakoon2 1สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นครสวรรค์ 60000 2ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาสารคาม 44150 1Biology Program, Faculty of Science and Technology, Nakhonsawan Rajabhat University, Nakhonsawan, Thailand 60000 2Department of Biology, Faculty of Science, Mahasarakham University, Mahasarakham, Thailand 44150 *Correspornding author: chouychai@yahoo.com Abstract The effect of 2 plant growth regulators, NAA and BA, as concentration 0, 1.0, 10.0 mg/l on growth of rice cv. RD 47 in 100 mg/kg fluorene or fluoranthene contaminated soil were studied. The results shown that rice seed immersion in all concentration of NAA and BA did not affect on shoot growth but increased root fresh weight of seedling growing in fluorene-contaminated soil. Only BA could induce root dried weight of rice seedlings. For fluoranthene contaminated soil, rice seed immersion in all concentration of NAA and BA did not affect on shoot and root length but 10 mg/l NAA increased shoot fresh weight and 1.0 mg/l BA increased root dried weight of rice seedlings significantly when compared with other treatments. Used of NAA and BA to decrease phytotoxicity of fluorine or fluoranthene contaminated soil is possible. Keywords: auxin, cytokinin, phytotoxicity, polycyclic aromatic hydrocarbons บทคัดย่อ ศึกษาผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตของ พืช 2 ชนิด คือ กรดแนฟทาลีนอะซีติก (Naphthalene acetic acid; NAA) และเบนซิลอะดีนีน (Benzyladenine; BA) ที่ความเข้มข้น 0, 1.0และ 10.0มก./กก.ต่อการเจริญ ของข้าวเจ้าพันธุ์ กข 47 ในดินที่ปนเปื้อนฟลูออรีนหรือ ฟลูออแรนทีน 100 มก./กก. พบว่า การแช่เมล็ดข้าวใน สารละลาย NAA และ BA ทุกระดับความเข้มข้น ไม่มี ผลต่อการเจริญของยอดข้าวที่ปลูกในดินปนเปื้อน ฟลูออรีน แต่จะทาให้น้าหนักสดของรากข้าวเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ โดยเฉพาะ BA ทุกระดับ ความเข้มข้นทาให้น้าหนักแห้งของรากข้าวเพิ่มขึ้น ส่วนในดินที่ปนเปื้อนฟลูออแรนทีน การแช่เมล็ดข้าวใน สารละลาย NAA และ BA ทุกระดับความเข้มข้น ไม่มี ผลต่อทั้งความยาวยอดและความยาวราก แต่ NAA 10 มก./ล. ทาให้น้าหนักสดของยอดข้าวมากกว่าต้นกล้า ข้าวในทรีทเมนต์อื่นๆ และ BA 1.0 มก./ล. ทาให้ต้น
  • 18. วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 31(1): 13-22 14 กล้าข้าวมีน้าหนักแห้งของรากสูงกว่าทรีทเมนต์อื่นๆ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ดังนั้น การใช้ NAA และ BA จึงมีความเป็นไปได้ในการลดความเป็นพิษฟลูออรีน และฟลูออแรนทีนที่ปนเปื้อนในดินต่อพืช คาสาคัญ: ความเป็นพิษต่อพืช ไซโทไคนิน พอลิไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน ออกซิน คานา ฟลูออรีนและฟลูออแรนทีนเป็นสารประกอบ ในกลุ่มพอลิไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน ที่อยู่ใน กลุ่มสารมลพิษที่ต้องเร่งกาจัดออกจากสิ่งแวดล้อมตาม รายการของ US-EPA (Paraiba etal., 2010) การปนเปื้อน ฟลูออรีนและฟลูออแรนทีนมีรายงานโดยทั่วไป เช่น ในฮ่องกงพบฟลูออรีน 0.001-0.003 มก./กก. และ ฟลูออแรนทีน 0.003-0.01มก./กก. น้าหนักแห้งของดิน ในพื้นที่เกษตรกรรม และพบฟลูออรีนประมาณ 0.004 มก./กก. และฟลูออแรนทีน 0.024-0.028 มก./กก. น้าหนักแห้งของดิน ในพื้นที่เขตเมือง (Zhang et al., 2006) นอกจากนั้นมีรายงานว่า พบฟลูออรีนและ ฟลูออแรนทีน 0.008 และ 0.027 มก./กก. ตามลาดับ ในดินตะกอนของทะเลสาบไปยังเตียน และพบ ฟลูออรีนและฟลูออแรนทีน 0.08 และ 0.42 มก./กก. ตามลาดับ ในดินตะกอนของแม่น้าฟู ทางตอนเหนือ ของประเทศจีน (Hu et al., 2010) และพบฟลูออรีน 0.002-0.023 มก./กก. และฟลูออแรนทีน 0.02-0.18 มก./กก. ในดินในพื้นที่อุตสาหกรรมของประเทศสเปน (Nadal et al., 2004) เป็นต้น มีรายงานจานวนมากที่แสดงให้เห็นถึง ความเป็นพิษต่อพืชของฟลูออรีนและฟลูออแรนทีน ฟลูออแรนทีน และฟลูออรีนที่ปนเปื้อนในดิน 400 มก./กก. ทาให้ความยาวยอดและความยาวรากของถั่ว เขียวและถั่วฝักยาวลดลง (ขนิษฐา และคณะ, 2554) การปนเปื้อนร่วมกันของฟลูออรีนและฟลูออแรนทีนที่ ความเข้มข้นรวม 400 มก./กก. ทาให้น้าหนักสดทั้งต้น ของผักบุ้งลดลง (ขนิษฐา และคณะ, 2555) ฟลูออแรนทีน และฟลูออรีนที่ปนเปื้อนในดิน 400 มก./กก. ทาให้ ความยาวรากของข้าวโพดหวาน และข้าวโพดข้าวเหนียว ลดลง (Somtrakoon and Chouychai, 2013) สาหรับข้าวที่เป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญใน จังหวัดนครสวรรค์และพื้นที่ใกล้เคียงนั้น มีรายงานว่า พีเอเอชหลายชนิดเป็นพิษต่อการเจริญเติบโตของข้าว ตัวอย่างเช่น การปนเปื้อนร่วมกันของฟลูออรีนและ ฟลูออแรนทีนที่ความเข้มข้นรวม 20 มก./กก. ทาให้ ความยาวรากของต้นกล้าข้าวเหนียวพันธุ์ กข 6 ลดลง ส่วนความเข้มข้นรวมที่ทาให้ความยาวยอดและ น้าหนักสดทั้งต้นลดลงเป็น 200 และ 400 มก./กก. ตามลาดับ (ขนิษฐา และคณะ, 2555) แต่การปนเปื้อน ของฟลูออแรนทีนเพียงชนิดเดียวที่ความเข้มข้น 2-200 มก./กก. ไม่มีผลต่อการเจริญของต้นกล้าข้าวเหนียว พันธุ์เดียวกัน (ขนิษฐา และคณะ, 2554) ฟลูออแรนทีน และฟลูออรีนที่ปนเปื้อนในดิน 200 มก./กก. ยังทาให้ ความยาวยอด ความยาวราก และน้าหนักสดทั้งต้น ของต้นกล้าข้าวเจ้าพันธุ์หอมดอกมะลิ 105 ลดลงด้วย (Somtrakoon and Chouychai, 2013) การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช เพื่อลดความเป็นพิษของสารมลพิษต่อพืชนั้น ได้มี การศึกษาอย่างกว้างขวางทั้งกับโลหะหนักและสารมลพิษ อินทรีย์ เช่น การใช้กรดอินโดลอะซีติก (Indoleacetic acid; IAA) พร้อมกับตะกั่วกับทานตะวันที่เจริญแบบ ไฮโดรโพนิกส์ ทาให้การเจริญของยอดและรากของ ทานตะวันที่ได้รับตะกั่ว แข็งแรงกว่าการได้รับโลหะ หนักเพียงอย่างเดียว (Fassler et al., 2010) การให้ บราสสิโนสเตอรอยด์แก่ต้นมะเขือเทศ ที่สัมผัสกับ ฟีแนนทรีนหรือไพรีนแบบไฮโดรโพนิกส์ ทาให้ความ ยาวยอด ความยาวราก และระดับคลอโรฟิลล์ของ มะเขือเทศแข็งแรง เมื่อเทียบกับต้นที่ไม่ได้รับบราสสิโน สเตอรอยด์ (Ahammed et al., 2012) อย่างไรก็ตาม
  • 19. Journal of Agr. Research & Extension 31(1): 13-22 15 ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จของการใช้สารควบคุมการ เจริญเติบโตของพืชนั้น นอกจากชนิดและความเข้มข้น ของสารควบคุมการเจริญเติบโตนั้นแล้ว ชนิดและความ เข้มข้นของสารมลพิษเอง ก็ส่งผลต่อการออกฤทธิ์ของ สารควบคุมการเจริญเติบโตด้วย เช่น การแช่เมล็ด ข้าวโพดในสารละลายไทเดียซูรอน (Thidiazuron: TDZ) 1.0 มก./ล. สามารถส่งเสริมการเจริญของข้าวโพดใน ดินที่ปนเปื้อนฟลูออรีน 10 มก./กก. ได้ แต่ไม่ได้ผล ถ้าปริมาณฟลูออรีนในดินเพิ่มขึ้นเป็น 100 มก./กก. (วราภรณ์ และคณะ, 2554) การแช่เมล็ดผักกวางตุ้ง ในสารละลายกรดอินโดลบิวไทริก (Indolebutyric acid: IBA) 1.0-10.0 มก./ล. แล้วนาไปเพาะในดินที่ปนเปื้อน แอลฟาเอนโดซัลแฟน 20 มก./กก. ทาให้การเจริญ เติบโตของผักกวางตุ้งดีขึ้นได้เมื่อเทียบกับต้นที่ไม่ได้ รับสารควบคุมการเจริญเติบโต (Chouychai, 2012) แต่จะไม่ได้ผลถ้านาไปเพาะในทรายที่ปนเปื้อนเอนโด ซัลแฟนซัลเฟต 4-100 มก./กก. (ขนิษฐา และมาลียา, 2555) ดังนั้น ในการศึกษานี้ได้ศึกษาผลของการใช้ NAA ซึ่งเป็นสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชกลุ่ม ออกซิน และ BA ซึ่งเป็นสารควบคุมการเจริญเติบโตของ พืชกลุ่มไซโทไคนิน ในระดับความเข้มข้นที่แตกต่างกัน เพื่อลดความเป็นพิษของฟลูออรีนหรือฟลูออแรนทีน ต่อการเจริญระยะต้นกล้าของข้าวเจ้าพันธุ์ กข 47 ซึ่งเป็นพันธุ์ข้าวที่นิยมปลูกในจังหวัดชัยนาท และ นครสวรรค์พันธุ์หนึ่ง เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการ ศึกษาการออกฤทธิ์ของสารควบคุมการเจริญเติบโตใน สภาวะที่พืชได้รับสารพิษ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการ นาไปใช้งานทั้งทางการเกษตรและสิ่งแวดล้อมต่อไป อุปกรณ์และวิธีการ เก็บตัวอย่างดินที่ไม่มีประวัติการปนเปื้อน สารประกอบในกลุ่มพอลิไซคลิก อะโรมาติก ไฮโดรคาร์บอน มาจากศูนย์การศึกษาเกษตรเขาแรด คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นาไปวิเคราะห์ คุณสมบัติพื้นฐานของดินที่บริษัทห้องปฏิบัติการกลาง กรุงเทพฯ พบว่า เป็นดินด่าง (pH 8.9) มีปริมาณ ฟอสฟอรัสต่า (น้อยกว่า 0.29 กรัม/100 กรัมน้าหนัก แห้งของดิน) มีไนโตรเจนทั้งหมด 0.21 กรัม/100 กรัม น้าหนักแห้งของดินโพแทสเซียมทั้งหมด 0.13 กรัม/ 100 กรัมน้าหนักแห้งของดิน และสารอินทรีย์ในดิน 1.78 กรัม/100 กรัมน้าหนักแห้งของดิน เตรียมดินที่ปนเปื้อนโดยชั่งฟลูออรีน (Sigma- aldrich ประเทศเยอรมัน ความบริสุทธิ์ร้อยละ 98) และ ฟลูออแรนทีน (Fluka ประเทศสหรัฐอเมริกา ความ บริสุทธิ์ร้อยละ 99) แล้วละลายด้วยอะซีโตน จากนั้นจึง เติมลงในดินให้ได้ความเข้มข้นเป็น 100 มก./กก. ดินที่ เติมเฉพาะอะซิโตน ใช้เป็นชุดควบคุมที่ 0 มก./กก. ผึ่ง ดินไว้ 24 ชั่วโมง เพื่อให้อะซิโตนระเหยไปให้หมด ก่อนใช้เพาะเมล็ด แช่เมล็ดข้าวพันธุ์ กข 47 (Oryza sativa) ที่ ได้รับความอนุเคราะห์จากเกษตรกรในจังหวัดชัยนาท ในสารละลายต่างๆ ต่อไปนี้ คือ BA 1.0 และ 10.0 มก./ล. และ NAA 1.0 และ 10.0 มก./ล. เป็นเวลา 3 ชั่วโมง แล้วจึงนาไปเพาะบนจานแก้วที่มีดินที่ผสมฟลูออรีน หรือฟลูออแรนทีนจานละ 10 เมล็ด จานวน 3 จานต่อ ทรีทเมนต์ โดยมีเมล็ดที่แช่ในน้ากลั่นเป็นชุดควบคุม ซึ่งจะเพาะลงในดินที่ปนเปื้อนและไม่ปนเปื้อนฟลูออรีน หรือฟลูออแรนทีนเมื่อครบ 10 วัน นาต้นกล้าที่งอก ทั้งหมดมาวัดความยาวของยอดและราก น้าหนักสดและ น้าหนักแห้งของยอดและราก ทดสอบความแตกต่าง ทางสถิติด้วย One-way ANOVA และ Tukey’s test ที่ ระดับนัยสาคัญ 0.05
  • 20. วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 31(1): 13-22 14 ผลการทดลอง ผลของ NAA และ BA ต่อความเป็นพิษของ ฟลูออรีน การเจริญเติบโตของต้นกล้าข้าวเจ้าพันธุ์ กข 47 ในดินที่มีและไม่มีฟลูออรีน ไม่มีความแตกต่าง กันทั้งการเจริญเติบโตของยอดและราก ตัวอย่างเช่น ความยาวรากของต้นกล้าข้าวที่เจริญเติบโตในดินที่ ไม่ปนเปื้อนเป็น 9.4±2.6 ซม. ส่วนความยาวรากของ ต้นกล้าข้าวที่เจริญเติบโตในดินที่ปนเปื้อนฟลูออรีนเป็น 8.1±2.9 ซม. (Figure 1, Table 1 and 2) ซึ่งแสดงว่า ฟลูออรีนที่ปนเปื้อนในดินที่ความเข้มข้น 100 มก./กก. ไม่มีความเป็นพิษต่อการเจริญเติบโตของข้าวเจ้าพันธุ์ นี้ การแช่เมล็ดข้าวในสารละลาย NAA หรือ BA ก่อน นาไปเพาะในดินที่ปนเปื้อนฟลูออรีนนั้น พบว่า ไม่ได้ ทาให้การเจริญของต้นกล้าข้าวสูงกว่าต้นที่มาจาก เมล็ดที่แช่น้ากลั่น แล้วจึงนาไปเพาะในดินที่ปนเปื้อน ฟลูออรีน (Table 1) การแช่เมล็ดข้าวในสารละลาย NAA หรือ BA ไม่มีผลต่อความยาวรากของต้นกล้าข้าว แต่ทาให้น้าหนักสดของรากข้าวสูงกว่าต้นที่มาจาก เมล็ดที่แช่น้ากลั่น แล้วเพาะในดินที่ไม่ปนเปื้อน ฟลูออรีนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ โดยต้นกล้าข้าวที่ ได้รับ NAA หรือ BA มีน้าหนักสดของรากอยู่ระหว่าง 0.06-0.07 กรัม ส่วนต้นที่มาจากเมล็ดที่แช่น้ากลั่นแล้ว เพาะในดิน ที่ไม่ปนเปื้อนฟลูออรีนมีน้าหนักสดของราก เป็น 0.05±0.01 กรัม นอกจากนั้น การแช่เมล็ดใน สารละลาย BA ทุกความเข้มข้น ทาให้น้าหนักแห้งของ รากข้าวมากกว่าต้นที่มาจากเมล็ดที่แช่น้ากลั่น แล้ว เพาะในดินที่ปนเปื้อนฟลูออรีนอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติ แต่ต้นที่มาจากเมล็ดที่แช่ในสารละลาย NAA ทุก ความเข้มข้น มีน้าหนักแห้งของรากไม่ต่างจากต้นที่มา จากเมล็ดที่แช่น้ากลั่น โดยต้นกล้าข้าวที่ได้รับ BA มี น้าหนักแห้งของรากอยู่ระหว่าง 0.022-0.023 กรัม ส่วนต้นที่มาจากเมล็ดที่แช่น้ากลั่นหรือ NAA มีน้าหนัก แห้งของรากอยู่ระหว่าง 0.019-0.020 กรัม (Table 2) Figure 1 Rice seedling of each treatment growing in 100 mg/kg fluorine-contaminated soil or non-contaminated soil (control) for 10 days 16
  • 21. Journal of Agr. Research & Extension 31(1): 13-22 15 Table 1 Shoot length, shoot fresh weight and shoot dried weight of rice cv. RD47 induced with various concentrations of NAA and BA and grew in 100 mg/kg fluorene-(FLU) contaminated soil for 10 days Treatment Shoot length (cm) Shoot fresh weight (g) Shoot dried weight (g) Non-contaminated soil 7.7±2.9a 0.03±0.01a 0.004±0.001a FLU 10.3±4.0a 0.04±0.02a 0.005±0.002a FLU+NAA 1.0 mg/l 10.4±4.4a 0.04±0.01a 0.004±0.002a FLU+NAA 10 mg/l 10.3±3.8a 0.04±0.03a 0.007±0.01a FLU+BA 1.0 mg/l 10.2±3.1a 0.04±0.01a 0.006±0.002a FLU+BA 10 mg/l 8.8±4.6a 0.03±0.02a 0.004±0.002a Table 2 Root length, root fresh weight and root dried weight of rice cv. RD 47 induced with various concentrations of NAA and BA and grew in 100 mg/kg fluorene-(FLU) contaminated soil for 10 days Treatment Root length (cm) Root fresh weight (g) Root dried weight (g) Non-contaminated soil 9.4±2.6a 0.05±0.01b 0.02±0.002ab FLU 8.1±2.9a 0.06±0.01ab 0.019±0.004b FLU+NAA 1.0 mg/l 8.4±3.1a 0.07±0.01a 0.02±0.005b FLU+NAA 10 mg/l 8.5±1.8a 0.06±0.009ab 0.02±0.004b FLU+BA 1.0 mg/l 8.8±2.1a 0.07±0.02a 0.022±0.005a FLU+BA 10 mg/l 8.0±3.9a 0.07±0.02a 0.023±0.004a ผลของ NAA และ BA ต่อความเป็ นพิษของ ฟลูออแรนทีน การเจริญของต้นกล้าข้าวเจ้าพันธุ์ กข 47 ใน ดินที่มีและไม่มีฟลูออแรนทีน ไม่มีความแตกต่างกัน เมื่อพิจารณาจากทั้งความยาวและน้าหนักสดของยอด และราก แต่ต้นที่เจริญในดินที่ปนเปื้อนฟลูออแรนทีน มีน้าหนักแห้งทั้งของยอดและรากสูงกว่าต้นที่ปลูกใน ดินที่ไม่ปนเปื้อนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ โดยต้นที่ เจริญเติบโตในดินที่ปนเปื้อนฟลูออแรนทีนมีน้าหนัก แห้งของยอดและของรากเป็น 0.01±0.002 กรัม และ 0.025±0.003 กรัม ตามลาดับ ส่วนของต้นที่ปลูกในดิน ไม่ปนเปื้อนมีค่าเป็น 0.008±0.001 กรัม และ 0.019± 0.003 กรัม ตามลาดับ (Figure 2, Table 3 and 4) แสดงว่า ฟลูออแรนทีนที่ปนเปื้อนในดินที่ความเข้มข้น 100 มก./กก. ไม่มีความเป็นพิษต่อการเจริญของข้าวเจ้า พันธุ์นี้ การกระตุ้นเมล็ดด้วยสารละลาย NAA และ BA ทุกความเข้มข้น ไม่มีผลต่อความยาวยอดและความ ยาวรากของต้นกล้าข้าว การกระตุ้นเมล็ดด้วย NAA 10 มก./ล. ทาให้น้าหนักสดของยอดข้าวเป็น 0.06±0.01 กรัม ซึ่งมากกว่าต้นกล้าข้าวในทรีทเมนต์อื่นๆ ที่ได้ รับฟลูออแรนทีนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ แต่ทาให้ น้าหนักสดของรากเป็น 0.04±0.02 กรัม ซึ่งต่ากว่าต้น กล้าข้าวในทรีทเมนต์อื่นๆ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ เช่นกัน (Table 3 and 4) การกระตุ้นเมล็ดด้วย NAA 17