SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 91
Downloaden Sie, um offline zu lesen
วิชาการคิดและการตัดสินใจ (4000106)
อาจารย์ศิริพร จรรยา
คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
การคิดและกระบวนการคิดของมนุษย์
บทนำ
 การคิดเป็นสิ่งสาคัญและจาเป็นอย่างมาก
ต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์ สังคมที่
มนุษย์อยู่ร่วมกันจะมีการพัฒนาต่อไปได้
ก็ต่อเมื่อบุคคลในสังคมมีความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์ คิดมีเหตุมีผล รู้จักป้ องกัน
และแก้ไขปัญหาในชีวิตประจาวันได้
 ดังนั้นบุคคลควรฝึกให้ตนเองเป็นคนคิด
อย่างเป็นระบบ คิดถูกต้องและเหมาะสม
เพื่อสามารถดาเนินชีวิตได้อย่างมี
คุณภาพและประสบผลสาเร็จในชีวิต
ความหมายของการคิด
 การคิด หมายถึง พฤติกรรมภายใน
ที่เกิดจากกระบวนการทางานของ
สมอง ในการรวบรวมจัดระบบ
ข้อมูลและประสบการณ์ต่าง ๆ ทา
ให้เกิดเป็นรูปร่างหรือมโนภาพที่
เป็นเรื่องราวขึ้นในใจและสื่อสาร
ออกมาโดยใช้คาพูดหรือแสดงออก
ความหมายของการคิด
 จอห์น ดิวอี้ (Jonh Dewey) ให้ความหมายว่า การคิดจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมี
ความสับสนวุ่นวายสงสัย หรือเกิดคับข้องใจ หรือขัดแย้งในใจ หลังจากนั้นจึง
จะเกิดพฤติกรรมต่างๆ เพื่อค้นหาวิธีการแก้ปัญหา หรือขจัดสิ่งที่สงสัยนั้น
 ฮิลการ์ด (Hillgard) กล่าวว่า การคิดเป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสมองอัน
เนื่องมาจากการใช้สัญลักษณ์แทนสิ่งของและสถานการณ์ต่างๆ
 มากาเร็ต ดับบลิว แมทลิน (Matlin) ให้ความหมายไว้ว่า ความคิดเป็น
กิจกรรมทางสมอง เป็นกระบวนการทางปัญญา ซึ่งประกอบด้วยการสัมผัส
การรับรู้ การรวบรวม การจา การรื้อฟื้ นข้อมูลเก่าหรือประสบการณ์
โครงสร้างและการทางานของสมองกับการคิด
 สมองเป็นส่วนสาคัญที่สุดในการคิดของมนุษย์เพราะสมองเป็นศูนย์กลาง
ควบคุมการทางานของร่างกาย และเป็นศูนย์กลางความรู้สึกนึกคิด
 สมองแต่ละส่วนทาหน้าที่ควบคุมพฤติกรรมต่างๆ เช่น การจา การรับรู้ การ
เรียนรู้ การคิดหาเหตุผล การคิดแยกแยะข้อมูลต่างๆ การคิดวิพากษ์วิจารณ์
และการคิดสร้างสรรค์ เป็นต้น
 สมองมนุษย์วัยเด็กจะมีการพัฒนาอย่างรวดเร็วกว่าอวัยวะส่วนอื่นๆ ของ
ร่างกาย และมีสิ่งชี้วัดถึงความเจริญเติบโตของสมองคือ น้าหนักของสมอง ใน
เด็กอายุ 5 ปี จะมีสมองหนักประมาณ 90 % ของสมองในผู้ใหญ่
โครงสร้างและการทางานของสมองกับการคิด
 โรเจอร์ สเปอร์รีย์ และโรเบิร์ต ออร์นสไตล์ ค้นพบว่าสมองของคนเราแบ่งเป็น 2
ซีก คือ สมองซีกซ้าย (Left Hemisphere) กับสมองซีกขวา (Right Hemissphere)
ซึ่งแต่ละซีกมีหน้าที่ต่างกันดังนี้
 การกระตุ้นหรือพัฒนา
สมองควรพัฒนาให้เติบโต
ทั้งสองซีกอย่างสมดุลกัน
เพราะสมองมีผลต่อการ
กาหนดความสามารถใน
ด้ านต่างๆ ของมนุษย์
รวมถึงผลต่อการกาหนด
อุปนิสัยของมนุษย์ด้วย
ปั จจัยที่มีผลต่อสมอง
 ปัจจัยภายใน ได้แก่ พันธุกรรม เนื่องด้วยมนุษย์ได้รับการถ่ายทอดทาง
พันธุกรรมจากพ่อ-แม่
 ปัจจัยภายนอก หรือสิ่งแวดล้อม หมายความถึงทุกอย่างที่ไม่ใช่พันธุกรรมแต่
มีสิ่งเกี่ยวข้องกับสมองของบุคคลนั้น ได้แก่ อาหาร สุขภาพของบุคคล การ
อบรมเลี้ยงดูและการฝึกฝน วัฒนธรรม ค่านิยม และความเชื่อ
กระบวนการของการคิด
สิ่งเร้า
สถานการณ์ที่เป็นปัญหา
ความต้องการ
ความสงสัย
จิต (ใส่ใจ)
สมอง (คิด)
รับรู้สิ่งเร้า
ประสาทสัมผัสทั้ง 5
ข้อมูล/ความรู้/เนื้อหา/ประสบการณ์
ผลของการคิด
คาตอบ/บทสรุป
แผนปฏิบัติงาน
แนวคิดใหม่ๆ
ความรู้ใหม่ๆ
สามารถตัดสินใจได้
การทานาย
วิธีที่มีประสิทธิภาพที่จะทาให้ปัญหา
หรือความต้องการ หรือความสงสัยลดลงหรือหมดไป
ประเภทของการคิด
 การคิดของมนุษย์ย่อมแตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ประจาวันตลอดจนสภาพแวดล้อม ประเภทของการคิดแบ่งได้เป็นหลายชนิด
ดังนี้
1. แบ่งตามขอบเขตความคิด
2. แบ่งตามความแตกต่างของเพศ
3. แบ่งตามความสนใจของนักจิตวิทยา
4. แบ่งตามลักษณะของการคิด
แบ่งตำมขอบเขตควำมคิด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท
 การคิดในระบบปิด หมายถึง การคิดที่มีขอบเขตจากัดมีแนวความคิดไม่
เปลี่ยนแปลง เช่น การคิดทางคณิตศาสตร์ การคิดทางตรรกศาสตร์
 การคิดในระบบเปิด หมายถึง การคิดในขอบเขตของความรู้ความสามารถ
ของแต่ละบุคคล ซึ่งแตกต่างกันตามสิ่งแวดล้อมและประสบการณ์
แบ่งตำมควำมแตกต่ำงของเพศ แบ่งได้เป็น 2 ประเภท
 การคิดแบบวิเคราะห์ (Analytical Style) เป็นการคิดโดยอาศัยสิ่งเร้าที่เป็นจริง
เป็นเกณฑ์ การคิดแบบนี้เป็นการคิดของคนอารมณ์มั่นคง มองสิ่งต่างๆ โดย
ไม่ถือเอาความคิดของตนเป็นใหญ่ เป็นการคิดซึ่งเป็นพื้นฐานของการคิดแบบ
วิทยาศาสตร์ซึ่งส่วนใหญ่เป็นลักษณะการคิดของเพศชาย
 การคิดแบบโยงความสัมพันธ์ (Relational Style) เป็นการคิดที่สัมพันธ์กับ
อารมณ์ มักยึดตนเองเป็นใหญ่ เกิดจากการมองหาความสัมพันธ์ของสิ่งเร้า
ตั้งแต่สองชนิดขึ้นไป เช่น สัมพันธ์ทางด้านหน้าที่ สถานที่หรือกาลเวลา
โดยมากเป็น ความคิดของเพศหญิง
แบ่งตำมควำมสนใจของนักจิตวิทยำ แบ่งได้เป็น 3 ประเภท
 การคิดรวมยอด (Concept) เป็นการคิดได้จากการรับรู้ มีการเปรียบเทียบทั้ง
ในลักษณะที่เหมือนและแตกต่างกัน โดยอาศัยประสบการเดิม
 การคิดหาเหตุผล (Reasoning) การคิดหาเหตุผลแบบนี้เป็นการคิดทาง
วิทยาศาสตร์และจะต้องมีการทดสอบก่อน ดังการคิดหาเหตุผลจะต้องเริ่มต้น
จากการตั้งสมมติฐาน และทดสอบสมมติฐานเสมอ
 ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) เป็นการคิดเพื่อสร้างสิ่งใหม่ๆ ขึ้นมา
โดยอาศัยการหยั่งเห็นเป็นสาคัญ หรือเป็นการค้นหาความสัมพันธ์ใหม่ๆ
ระหว่างสิ่งต่างๆ ทาให้สามารถแก้ปัญหา คิดประดิษฐ์เครื่องมือ หรือคิดหา
วิธีการใหม่ๆ มาแก้ปัญหา
แบ่งตำมลักษณะของกำรคิด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท
(1) การคิดประเภทสัมพันธ์ (Associative Thinking) เป็นการคิดที่ไม่มี
จุดมุ่งหมาย ไม่มีแนวทาง คิดเรื่องนี้แล้วก็คิดเรื่องโน้นติดต่อกันไปเรื่อยๆ
ไม่มีการสรุป ดังนี้
 การคิดเลื่อนลอยเป็นการคิดเพ้อฝันมักจะเป็นการคิดเกี่ยวกับเรื่องราวของ
ตัวเองมากกว่าที่จะใช้เหตุผลตามความเป็นจริง
 ฝันกลางวันเป็นการคิดเพ้อฝันมักจะเป็นการคิดเกี่ยวกับเรื่องราวของตัวเอง
มากกว่าที่จะใช้เหตุผลตามความเป็นจริง
 การฝันกลางคืนเป็นการฝันขณะหลับโดยไม่รู้ตัว การฝันนี้เป็นการ
แสดงออกของความต้องการที่เก็บกดไว้ อาจมีสาเหตุหลายอย่าง
 การคิดที่เป็นอิสระเป็นการคิดที่ตามกันมาเป็นสายไม่หยุด นักจิตวิทยา
วิเคราะห์เชื่อว่าการคิดที่เป็นอิสระเป็นการระบายความต้องการที่อยู่ภายใต้
จิตไร้สานึก การวิเคราะห์ผลจากการคิดเป็นอิสระจะช่วยให้เข้าใจปัญหาที่
ฝังลึกอยู่ในจิตใจของคนได้
 การคิดที่ถูกควบคุมเป็นการคิดโดยอาศัยสิ่งที่เป็นแนวให้คิด หมายถึงเริ่ม
คิดอะไรได้อย่างหนึ่งแล้วคิดเกี่ยวกับเรื่องเดิมนั้นต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆ ซึ่ง
การคิดแบบนี้มีกฎเกณฑ์ว่าจะต้องอยู่ใต้การแนะนา คือถูกควบคุมให้คิด
เฉพาะแต่เรื่องนั้น
แบ่งตำมลักษณะของกำรคิด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท
(2) การคิดที่มีจุดมุ่งหมาย (Directive Thinking) การคิดโดยตรงที่ใช้ในการ
แก้ปัญหา การคิดหาเหตุผล จาแนกเป็นแบบต่างๆ ได้ดังนี้
 การคิดแบบวิเคราะห์วิจารณ์ คือการหาเหตุผลโดยอาศัยพิจารณาข้อมูล
และสถานการณ์ต่างๆ ว่ามีข้อเท็จจริงเพียงใด แล้วประเมินตัดสินลง
ความเห็นแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ
 การคิดแบบอุปมาน (Inductive Thinking) คือ การสรุปเป็นกฎทั่วไปจากการ
พิสูจน์ในสถานการณ์หนึ่งๆ
 การคิดแบบอนุมาน (Deductive Thinking) คือ การคิดหาเหตุผลซึ่งอาศัย
ความรู้ที่ทราบกัน หรือตั้งสมมติฐานไว้ แล้วนาความรู้ย่อยอื่นๆ ไปพิจารณา
เปรียบเทียบ
การคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creative Thinking) เป็นการคิดค้น เพื่อพบ
ความสัมพันธ์ใหม่ของสิ่งต่างๆ ที่มีประโยชน์ คุณค่า และแปลกใหม่กว่าเดิม
เป็นสิ่งประดิษฐ์แปลกใหม่ หรือคิดปรับปรุงวิธีการที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้น ง่ายขึ้น
สะดวกขึ้น
การคิดแก้ปัญหา (Problem Solving) เป็นการคิดหาทางแก้ไขอุปสรรคที่
เกิดขึ้นเพื่อให้บรรลุถึงจุดมุ่งหมาย
การคิดอย่างมีเหตุมีผล (Reasoning Thinking) เป็นการคิดโดยอาศัยข้อมูล
ต่างๆ พิจารณาความสัมพันธ์ของข้อมูล เป็นความสามารถในการคิดหา
เหตุผลทั้งที่เป็นอุปมานและอนุมาน
การฝึกทักษะการคิดและลักษณะการคิด
 ทักษะการคิด หมายถึง ความสามารถย่อยๆ ในการคิดในลักษณะต่างๆ ซึ่ง
เป็นองค์ประกอบของกระบวนการคิดที่ซับซ้อน ทักษะการคิดแบ่งออกได้ 3
ประเภท คือ
1) ทักษะการคิดพื้นฐาน (Basic Skills) หมายถึง ทักษะการคิดที่เป็นพื้นฐาน
เช่น ทักษะการฟัง การอ่าน การพูด การเขียน การรับรู้ การจดจา เป็นต้น
2) ทักษะการคิดทั่วไป (General Thinking Skills) หมายถึง ทักษะการคิดที่
จาเป็นต้องใช้อยู่เสมอในการดารงชีวิตประจาวัน เช่น ทักษะการสังเกต การ
สารวจ การตั้งคาถาม การเก็บรวบรวมข้อมูล การจาแนกแยกแยะ เป็นต้น
3) ทักษะการคิดที่ซับซ้อน (More Complexed Thinking Skills) หมายถึง
ทักษะการคิดที่มีขั้นตอนหลายชั้นและต้องอาศัยทักษะการสื่อความหมาย
และทักษะการคิดทั่วไป เช่น ทักษะการสรุปความ การวิเคราะห์การให้คา
จากัดความ การผสมผสานข้อมูล เป็นต้น
การฝึกทักษะการคิดและลักษณะการคิด
 ลักษะการคิด เป็นแบบแผนในการคิดที่มีจุดมุ่งหมาย ดังนั้นบุคคลจึงต้องมี
ความเข้าใจว่าลักษณะการคิดนั้นๆ คืออะไร มีจุดมุ่งหมาย วิธีการหรือ
กระบวนการคิดอย่างไร เพื่อนาไปสู่การฝึกฝนและพัฒนาลักษณะการคิดที่พึง
ประสงค์ให้เกิดขึ้นกับตัวบุคคลต่อไป
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
1. การคิดคล่องและคิดหลายหลาย เป็นความสามารถที่คิดเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือใน
สถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง ได้ผลการคิดจานวนมาก รวดเร็ว ตรงประเด็น
 การฝึกหรือการพัฒนาการคิดคล่องและหลากหลาย สามารถปฏิบัติได้โดยการตั้ง
ปัญหาหรือสถานการณ์ที่เป็นปัญหา แล้วฝึกตอบให้ได้คาตอบมากที่สุดในเวลาจากัด
และคาตอบนั้นต้องมีอยู่ในประเด็นของคาถาม
 คุณค่าของการคิดคล่องและคิดหลากหลาย การคิดคล่องและการคิดหลากหลายเป็น
กระบวนการพื้นฐานในการที่จะได้ความคิดที่ดีที่เหมาะสมเพราะทาให้ได้ความคิด
จานวนมากที่แตกต่างกันทาให้มีตัวเลือกหรือทางเลือกซึ่งเป็นความคิดที่ดีที่
เหมาะสมมากขึ้น
 ตัวอย่างที่ 1 จงบอกประโยชน์ของหนังสือพิมพ์มาให้มากที่สุด ภายในเวลาที่กาหนด….
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
2.การคิดวิเคราะห์และคิดผสมผสาน
 การคิดวิเคราะห์ เป็นการแบ่งหรือแยกแยะสิ่งที่สนใจหรือสิ่งที่ต้องการศึกษา
ออกเป็นส่วนย่อยๆ แล้วทาการศึกษาส่วนย่อยๆนั่นอย่างลึกซึ้ง
 การคิดผสมผสาน เป็นการรวบรวมความรู้ย่อยหรือผลจากการคิดวิเคราะห์ให้เป็น
ข้อมูลใหม่ ข้อสรุปใหม่ กระบวนการใหม่ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ เพื่อนาไปใช้
ประโยชน์ในรูปแบบใหม่ได้มากขึ้น
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
2.การคิดวิเคราะห์และคิดผสมผสาน
 การฝึกเพื่อการพัฒนาการคิดวิเคราะห์ มี 2 ขั้นตอน
 การฝึกหัดแบ่งหรือแยกแยะสิ่งที่สนใจ ซึ่งสามารถทาได้หลายวิธี เช่น แบ่งตาม
สภาพที่มองเห็น แบ่งตามสภาพที่เป็นความรู้ศึกนึกคิด แบ่งตามสาเหตุหรือผลที่จะ
เกิดขึ้น หรือแบ่งเป็นขั้นตอน เป็นต้น
 ตัวอย่างที่ 2 หนังสือ แบ่งส่วนประกอบได้ คือ ……
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
 การฝึกเพื่อการพัฒนาการคิดวิเคราะห์ มี 2 ขั้นตอน
การศึกษาส่วนย่อยที่แบ่งหรือแยกแยะออกมาอย่างลึกซึ้ง ได้แก่ การศึกษา
รายละเอียดของแต่ละส่วนย่อย เพื่อเกิดความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง โดย
เปรียบเทียบในแง่มุมต่างๆ เช่น เป็นคุณ-เป็นโทษ เป็นบวก-เป็นลบ ดี-ไม่ดี
ควร-ไม่ควร ถูก-ผิด จุดเด่น-จุดย้อย ข้อเท็จจริง-ความคิดเห็น ข้อเท็จจริง-
ความรู้สึก
 ตัวอย่างที่ 3 เมื่อต้องการที่จะซื้อบ้าน จาเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับบ้านที่จะซื้อ
อย่างลึกซึ้ง โดยให้แยกแยะส่วนต่างๆ ของบ้าน ทั้งส่วนที่มองเห็นได้ และ
ส่วนย่อยตามสภาพความรู้สึก มีอะไรบ้าง เพื่อเป็นข้อมูลที่ช่วยในการตัดสินใจ
ในการซื้อบ้านได้อย่างดี…….
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
 การฝึกเพื่อพัฒนาการคิดผสมผสาน สามารถทาได้หลายแบบ เช่นการฝึกนาความรู้
ย่อยๆ มาผสมผสาน เพื่อให้ได้แนวคิดใหม่ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ กระบวนการใหม่ ทา
ให้ได้ข้อสรุปในการดาเนินการที่เหมาะสม ถูกต้องมากขึ้น
 ตัวอย่างที่ 4 โทรศัพท์ + เครื่องถ่ายเอกสาร  เครื่องโทรสาร
วงล้อ + เก้าอี้  เก้าอี้เลื่อน
ซาลาเปา + รูปกระต่าย  ซาลาเปารูปกระต่าย
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
 คุณค่าของการคิดวิเคราะห์และการคิดผสมผสาร มีดังนี้
1. ทาให้ได้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่สนใจ หรือเรื่องที่ต้องการศึกษาได้ลึกซึ้ง
ครอบคลุมมากขึ้น
2. ทาให้ศึกษาและค้นพบสิ่งใหม่ๆ ได้ง่ายขึ้น
3. ได้ความรู้ใหม่ ข้อสรุปใหม่ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่
4. เป็นการนาความรู้และข้อมูลต่างๆ มาประกอบในการคิด ทาให้สามารถตัดสินใจ
ดาเนินการต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมมากขึ้น
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
3. การคิดริเริ่ม เป็นการคิดที่ให้ผลของการคิดที่มีความแปลกใหม่แตกต่างไปจาก
ความคิดของคนทั่วๆ ไป มีลักษณะหรือมุมมองไม่เหมือนกับผู้อื่น เป็ นการนา
ความรู้เดิมมาดัดแปลงให้เป็นความคิดใหม่ซึ่งไม่ซ้ากับใคร
 การฝึกเพื่อพัฒนาการคิดริเริ่ม สามารถพัฒนาได้หลายรูปแบบตัวอย่างการฝึกเช่น
 การฝึกจินตนาการ โดยตั้งคาถามเกี่ยวกับสิ่งของ สถานการณ์ หรือเหตุการณ์
แปลกๆ แล้วจินตนาการคาตอบที่แปลกใหม่หลายๆ คาตอบ
 ตัวอย่างที่ 5 คาถามสาหรับการฝึกจินตนาการ ถามว่า ในอนาคตรถยนต์น่าจะมี
รูปร่าง และลักษณะการทางานเป็นอย่างไร ………
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
 การฝึกเพื่อพัฒนาการคิดริเริ่ม
 การฝึกให้มีมุมมองหลากหลาย โดยกาหนดรูปร่างสิ่งของ สถานการณ์ในรูปแบบ
ต่างๆ แล้วพยายามบอกและบอกให้ได้คาตอบที่เกี่ยวข้องกับสิ่งนั้นให้มากที่สุด ให้
แปลกที่สุด
 ตัวอย่างที่ 6 รูปทางขวานี้มองเป็นอะไรได้บ้าง…..
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
 การฝึกเพื่อพัฒนาการคิดริเริ่ม
 การฝึกหาทางเลือกหลากหลาย โดยกาหนดเหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่เป็นปัญหา
แล้วพยายามบอกคาตอบที่เป็นไปได้มากที่สุด ให้แปลกที่สุด เพื่อเป็นทางเลือกใหม่
ในการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ที่เป็นปัญหา
 ตัวอย่างที่ 7 วิธีการที่ทาให้นักศึกษามีความตั้งใจเรียนมากขึ้น…..
 การฝึกผสมผสานความคิด โดยกาหนดของ 2 อย่างมาคู่กัน และพยายามคิดของสิ่ง
หนึ่งตามคุณสมบัติหรือลักษณะของอีกสิ่งหนึ่ง
 ตัวอย่างที่ 8 สถานการณ์ฝึกการผสมผสานความคิด โดยคิดสิ่งหนึ่งตามคุณสมบัติ
ของอีกสิ่งหนึ่ง หรือเชื่อมคุณสมบัติทั้งสองเป็นของใหม่ให้มากที่สุด
รถยนต์ + สบู่ = ?
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
 การฝึกเพื่อพัฒนาการคิดริเริ่ม
 การฝึกคิดปรับปรุงสิ่งที่มีอยู่เดิมให้ดีขึ้น โดยกาหนดสิ่งที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน เช่น
สิ่งของ แนวความคิด การปฏิบัติ กระบวนการต่างๆ เป็นต้น แล้วฝึกวิเคราะห์เพื่อ
ปรับปรุงและพัฒนา โดยคิดตามลาดับ
 สิ่งนี้มีจุดประสงค์อะไร
 สิ่งนี้มีรูปแบบหรือลักษณะอย่างไร และตรงไหนเป็นจุดเด่น-จุดสาคัญ
 หาเหตุผลว่าตอบวัตถุประสงค์ได้อย่างไร และตรงไหนเป็นส่วนสาคัญ
 พิจารณาดัดแปลง ปรับปรุง ตรวจสอบ หาสิ่งทดแทน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้ดีขึ้น
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
 การฝึกเพื่อพัฒนาการคิดริเริ่ม
 ตัวอย่างที่ 9 สิ่งที่เป็นอยู่ในปัจจุบันที่สามารถนามาฝึกคิดปรับปรุง
 การแต่งกายของนักศึกษา
 การจัดกิจกรรมรับน้องใหม่
 การจัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย
………………….
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
 การฝึกเพื่อพัฒนาการคิดริเริ่ม
 การฝึกคิดออกนอกกรอบการคิดปกติ โดยพยายามคิดสร้างสรรค์สิ่งที่ไม่เป็นไป
ตามปกติหรือพยายามคิดออกนอกกรอบของปัญหา การคิดออกนอกระบบวิธีการ
คิดหรือกระบวนการคิดแบบเดิม
 ตัวอย่างที่ 10 ปัญหา “มีจุดอยู่ 9 จุด จัดเรียงกันดังรูปข้างล่าง ให้ลากเส้นตรงผ่าน
จุดทั้ง 9 โดยลากเส้นตรงเพียง 4 เส้น โดยต้องไม่ยกปลายดินสอ (หรือปากกา)
ออกจากกระดาษ”
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
4. การคิดละเอียดชัดเจน
 การคิดละเอียดชัดเจน หมายถึง การคิดที่ให้ผลของการคิดที่มีรายละเอียดทั้งส่วนที่
เป็นหลักของเรื่องที่คิด และส่วนที่เป็นองค์ประกอบย่อยของหลักที่คิด โดยสามารถ
อธิบายเรื่องที่ตนเองคิด หรือยกตัวอย่างที่สอดคล้องกับเรื่องที่ตนเองคิดได้
 การฝึกเพื่อพัฒนาการคิดละเอียดชัดเจน สามารถทาได้โดยฝึกให้คิดวิเคราะห์
ละเอียด โดยวิเคราะห์จากองค์ประกอบหรือปัจจัยหลักสู่ส่วนประกอบย่อย ได้แก่
1) ฝึกการเขียนแผนผัง
2) ฝึกขยายความ
3) ฝึกการวางแผนการจัดกิจกรรมตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
 ฝึกการเขียนแผนผัง โดยกาหนดเหตุการณ์
หรือสถานการณ์ขึ้น แล้วคิดถึงองค์ประกอบ
ที่เกี่ยวข้องนามาเขียนเป็นแผนผัง แล้วจึง
ขยายลงไปในรายละเอียดย่อยๆ แผนผังที่
ใช้มีหลายแบบเช่น แผนผังก้างปลา แผนผัง
แบบ Mind map แผนภูมิเป็นต้น
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
 ฝึกขยายความ โดยกาหนดสิ่งของ เหตุการณ์ สถานการณ์ขึ้นแล้วให้อธิบายเพิ่มเติม
ให้วาดรูปประกอบ ให้สุภาษิต – คาพังเพย – อุปมาอุปไมย หรือยกตัวอย่าง
ประกอบ
 ตัวอย่างที่ 11 คาถามสาหรับการฝึกขยายความ
 จงยกสุภาษิตที่บอกบุคลิกลักษณะทั่วไปของคนไทย……..
 จงยกตัวอย่างประกอบ คนไทยชอบสนุก ไทยมุง……….
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
 ฝึกการวางแผนการจัดกิจกรรมตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด โดยกาหนดงาน หรือ กาหนด
จุดประสงค์ให้กระทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง แล้วให้วางแผนขั้นตอนการดาเนินงานดังกล่าว
 ตัวอย่างที่ 12 คาถามหรือสถานการณ์ที่ฝึกการวางแผน
 ถ้านักศึกษาจะลงทะเบียนเรียน นักศึกษาต้องทาอะไรบ้าง…..
 ถ้านักศึกษาจะปลูกต้นไม้ จะมีขั้นตอนดาเนินอย่างไร……..
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
 คุณค่าของการคิดละเอียดชัดเจน มีดังนี้
1) เป็นการแสดงถึงความเข้าใจในเรื่องที่ตนเองคิด
2) สามารถช่วยให้ผู้อื่นเข้าใจเรื่องที่เราคิดได้ดีขึ้น
3) ช่วยให้มองเห็นองค์ประกอบหรือปัจจัยที่คิดทั้งในส่วนที่เป็นองค์ประกอบหรือ
ปัจจัยหลักและในส่วนย่อย
4) ช่วยในการทางานในชีวิตประจาวันสาเร็จได้ง่ายขึ้น เพราะทางานอย่างมีขั้นตอน
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
5. การคิดอย่างมีเหตุผล เป็นการคิดที่อ้างอิงหลักฐานมาสนับสนุนเพื่อให้ได้ข้อสรุปที่
ถูกต้อง
 การฝึกเพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีเหตุผล สามารถทาได้โดยการฝึกให้ทาการสรุปจาก
ข้อมูล ความรู้ ทฤษฎีที่กาหนดให้ ตัวอย่างแนวทางในการฝึกเพื่อพัฒนาการคิด
อย่างมีเหตุผลได้แก่
1. ฝึกสรุปจากข้อมูล
2. ฝึกการให้เหตุผลสนับสนุน-คัดค้าน
3. ฝึกคาดคะเนคาตอบ
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
1. ฝึกสรุปจากข้อมูล โดยกาหนดข้อมูลซึ่งอาจเป็นข้อความ ความรู้ ตัวเลข รูปภาพ
แล้วให้สรุป ซึ่งอาจสรุปได้โดยตรง หรืออาจต้องใช้ความสามารถทางสติปัญญา
มาประกอบการคิดข้อสรุป
 ตัวอย่างที่ 13 ข้อมูลสาหรับการฝึกสรุปจากข้อมูล
o จากลาดับตัวเลข 1,3,5,7,9,…ตัวเลขต่อไปคืออะไร
o ถ้า A และ B เป็นตัวเลข และ BA +A = AB แล้ว Aและ B คือเลขอะไร
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
2. ฝึกการให้เหตุผลสนับสนุน-คัดค้าน โดยกาหนดข้อสรุป เหตุการณ์ หรือ
สถานการณ์ขึ้น แล้วให้บอกเหตุผลเพื่อสนับสนุนหรือเหตุผลเพื่อคัดค้าน
 ตัวอย่างที่ 14 คาถามหรือสถานการณ์ที่ฝึกการให้เหตุผลสนับสนุน – คัดค้าน
o ให้เหตุผลสนับสนุนหรือคัดค้านสานวน “ไก่งามเพราะขนคนงามเหราะแต่ง”
o ให้เหตุผลสนับสนุนหรือคัดค้าน เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า “ในสังคมไทย ผู้น้อยมักมี
ความเคารพผู้อาวุโส”
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
 ฝึกคาดคะเนคาตอบ โดยการให้ข้อมูล หรือความรู้ย่อยที่ยังไม่สมบูรณ์ แล้วให้
คาดคะเนคาตอบที่จะเป็นไปได้ (เรียกวิธีการนี้ว่า การตั้งสมมติฐาน เพื่อนาคาตอบ
นี้ไปตรวจสอบความถูกต้องต่อไป)
 ตัวอย่างที่ 15 ข้อมูล หรือความรู้ที่ฝึกการคาดคะเนคาตอบ
o จอยเป็นนักศึกษาที่ชอบเล่นอินเตอร์เน็ต และชอบคุยโทรศัพท์กับเพื่อนในเวลา
กลางคืน ปรากฏว่าจอยสอบตกในการสอบปลายภาค สาเหตุที่จอยสอบตกคืออะไร
o แสงช่วยให้พืชปรุงอาหารได้ แสงสีอะไรช่วยให้พืชปรุงอาหารได้ดีที่สุด
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
 คุณค่าของการคิดอย่างมีเหตุผล
1. คนมีเหตุผลสามารถอธิบายหรือชักชวนให้ผู้อื่นยอมรับหรือให้ความเชื่อถือ
2. คนมีเหตุผลสามารถได้ข้อสรุปที่มีโอกาสถูกต้องเป็นจริงมากขึ้น
3. การมีเหตุผลช่วยให้ไม่ตัดสินใจผลีผลามทันทีทันใด ทาให้มีการพิจารณาที่
รอบคอบมากขึ้น และการมีเหตุผลทาให้ไม่เชื่ออะไรอย่างงมงาย
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
6. การคิดกว้างและคิดรอบคอบ หมายถึง การคิดที่คอบคลุมถึงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับ
เรื่องที่คิดในทุกด้านทุกแงทุกมุมที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น
 การฝึกเพื่อพัฒนาความคิดกว้างและรอบคอบ สามารถทาได้โดยการฝึกให้เป็นคนที่
มีความคิดรอบด้าน และเป็นคนที่คิดทุกแงทุกมุม ตัวอย่างแนวทางในการฝึกเพื่อ
พัฒนาความคิดกว้างและรอบคอบ ได้แก่
1. ฝึกระบุหรือบอกองค์ประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่จะคิด
2. ฝึกระบุผลหรือผลกระทบที่เกิด
3. ฝึกคาดคะเนความรู้สึกนึกคิดของบุคคลอื่น
4. ฝึกการคิดทุกแง่ทุกมุม
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
1. ฝึกระบุหรือบอกองค์ประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่จะคิด โดยกาหนดสิ่งของเหตุการณ์
ขึ้น แล้วพยายามระบุองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่กาหนดนั้นในทุกด้าน ได้แก่
องค์ประกอบที่เป็นสาระโดยตรง องค์ประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ตนเอง คน
อื่นๆ สังคม สิ่งแวดล้อม และศีลธรรม เป็นต้น
 ตัวอย่างที่ 16 คาถามหรือสถานการณ์ที่ฝึกระบุหรือบอกองค์ประกอบ
o ถ้านักศึกษาจะเลือกลงวิชาเลือกเสรี นักศึกษาต้องพิจารณาถึงองค์ประกอบอะไรบ้าง
ในการตัดสินใจเลือกลงวิชานั้น
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
2. ฝึกระบุผลหรือผลกระทบที่เกิด โดยกาหนดเหตุการณ์หรือสถานการณ์ขึ้นแล้ว
พยายามบอกผล หรือผลกระทบที่เกิดขึ้นในทุกๆด้าน
 ตัวอย่างที่ 17 เหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่ฝึกระบุผลหรือผลกระทบที่เกิด
o ถ้าบุคคลในครอบครัวติดยาเสพย์ติด จะมีผลกระทบในด้านใดบ้าง และมีผลกระทบ
อย่างไร
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
3. ฝึกคาดคะเนความรู้สึกนึกคิดของบุคคลอื่น โดยกาหนดสถานการณ์หรือ
เหตุการณ์เหตุการณ์ที่มีบุคคลหลายส่วนเข้าไปเกี่ยวข้อง และบอกความรู้สึกนึก
คิดของผู้เกี่ยวข้องเหล่านั้น
 ตัวอย่างที่ 18 สถานการณ์ที่ฝึกคาดคะเนความรู้สึกนึกคิดของบุคคลอื่น
o การทุจริตในการสอบของนักศึกษา มีบุคคลใดเกี่ยวข้องบ้าง และบุคคลเหล่านี้น่าจะ
มีความรู้สึกนึกคิดอย่างไรต่อการทุจริตในการสอบ
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
4. ฝึกการคิดทุกแง่ทุกมุม โดยกาหนดสถานที่ สิ่งของหรือเหตุการณ์ต่างๆ ขึ้น แล้ว
บอกข้อดีข้อเสีย หรือข้อที่น่าสังเกต น่าสนใจ ประโยชน์ – โทษ ผลบวก – ผล
ลบ ข้อจากัดและขอบเขตของเรื่องที่กาหนดให้นั้น
 ตัวอย่างที่ 19 เหตุการณ์ต่างๆ ที่ฝึกการคิดทุกแง่มุม
o อาชีพครู มีข้อดี ข้อเสีย และข้อที่น่าสนใจอะไรบ้าง
o การให้หุ่นยนต์มนุษย์ จะมีผลเกิดขึ้นอย่างไรบ้าง
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
 คุณค่าของการคิดและรอบคอบ
1. ทาให้การตัดสินใจมีความถูกต้องมากขึ้น เพราะได้ข้อมูลจากทุกส่วนทุก
องค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง
2. ทาให้เกิดความเข้าใจในเรื่องต่างๆได้ดีขึ้น ถูกต้องมากขึ้น
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
7. การคิดไกล หมายถึง การคิดถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งอาจเป็นผลที่เกิดขึ้น
จากการกระทาในปัจจุบัน หรือเป็นจุดประสงค์หรือจุดมุ่งหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้น
ในอนาคต
 การฝึกเพื่อพัฒนาการคิดไกล สามารถทาได้โดยการฝึกให้คิดในเรื่องเกี่ยวกับผลที่
จะเกิดขึ้นในอนาคต ตัวอย่างในการฝึกเพื่อพัฒนาการคิดไกล ได้แก่
1. ฝึกให้คิดถึงผลที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
2. ฝึกการวางแผน
3. ฝึกการพยากรณ์
4. ฝึกการมองภาพอนาคต
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
1. ฝึกให้คิดถึงผลที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดย
 กาหนดการกระทา หรือสภาพการณ์ในปัจจุบัน แล้วให้พิจารณาว่าสิ่งที่กาหนดให้จะเป็น
อย่างไรในอนาคต
 กาหนดการกระทา หรือสภาพการณ์ในปัจจุบัน แล้วให้พิจารณาผลกระทบที่เกิดขึ้นใน
อนาคตจากสิ่งที่กาหนดให้
 ตัวอย่างที่ 20 สถานการณ์ที่ฝึกให้คิดถึงผลที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
o บุคคลที่ออกกาลังกายเป็นประจา รับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ สุขภาพในอนาคตจะ
เป็นอย่างไร
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
2. ฝึกการวางแผน โดยกาหนดหลักการ จุดมุ่งหมาย แล้วให้กาหนดขั้นตอนการ
ปฏิบัติเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมาย
 ตัวอย่างที่ 21 สถานการณ์ที่ฝึกการวางแผน
o ถ้าต้องการจะออมเงินไว้สาหรับการศึกษาในอนาคต จะมีการวางแผนในการใช้เงิน
อย่างไร
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
3. ฝึกการพยากรณ์ โดยกาหนดสภาพการณ์ต่างๆที่สมมติว่าเป็นสภาพปัจจุบัน แล้ว
ให้ใช้ความรู้กฎเกณฑ์ ข้อมูลที่มีอยู่ บอกคาตอบที่จะเป็นไปได้ในอนาคต
 ตัวอย่างที่ 22 สถานการณ์ที่ฝึกการพยากรณ์
o ถ้าเกษตรกรใช้สารเคมีในการเพราะปลูกเป็นจานวนมาก จะมีผลกระทบต่อ
สภาพแวดล้อมและชุมชนอย่างไร
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
4. ฝึกการมองภาพอนาคต โดยให้บอกสภาพของสิ่งของต่างๆ ในอนาคตล่วงหน้า
เป็นเวลา 5 ปี, 10 ปี,...40 ปี พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ
 ตัวอย่างที่ 23 สถานการณ์ที่ฝึกการมองภาพอนาคต
o ถ้าไม่ช่วยกันประหยัดไฟฟ้า อีก 10 ปีข้างหน้าจะเป็นอย่างไร
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
 คุณค่าของการคิดไกล
1. ช่วยให้สิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเป็นสิ่งที่ดี เป็นการเตรียมสาหรับอนาคตที่ดี
2. เป็นการป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาในอนาคตหรือป้องกันให้เกิดปัญหาน้อยที่สุด
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
8. การคิดลึกซึ้ง หมายถึง การคิดที่ทาให้เกิดความเข้าใจอย่างถูกต้องและลึกซึ้งกับ
เรื่องที่คิด
 การฝึกเพื่อพัฒนาการคิดลึกซึ้ง สามารถทาได้โดยฝึกตามการพัฒนาการคิดอย่างมี
เหตุผล และฝึกตามการพัฒนาการคิดวิเคราะห์มีตัวอย่างการฝึกดังนี้
1. ฝึกให้พิจารณาลาดับความสาคัญ
2. ฝึกให้พิจารณาลาดับก่อนหลัง
3. ฝึกให้วิเคราะห์และอธิบายความจริงที่อยู่เบื้องหลังปรากฏการณ์
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
1. ฝึกให้พิจารณาลาดับความสาคัญ โดยการกาหนดสถานการณ์ให้วิเคราะห์
องค์ประกอบและให้ประเมินเปรียบเทียบเพื่อจัดลาดับความสาคัญของ
องค์ประกอบที่วิเคราะห์ไว้
 ตัวอย่างที่ 24 สถานการณ์ที่ฝึกให้พิจารณาลาดับความสาคัญ
o ถ้านักศึกษาต้องการซื้อคอมพิวเตอร์ที่มีผู้ใช้แล้ว นักศึกษาต้องคานึงถึง
องค์ประกอบอะไรบ้าง และองค์ประกอบที่สาคัญ 4 อันดับแรกคืออะไรบ้าง
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
2. ฝึกให้พิจารณาลาดับก่อนหลัง โดยการกาหนดสถานการณ์ประเภทที่ต้องเลือก
การปฏิบัติก่อนหลัง และให้พิจารณาความสาคัญและความจาเป็นของ
องค์ประกอบต่างๆ ที่วิเคราะห์ได้จากสถานการณ์ต่างๆ ที่กาหนดให้
 ตัวอย่างที่ 25 สถานการณ์ที่ฝึกให้พิจารณาลาดับก่อนหลัง
o ถ้าต้องการสอบวิชาการคิดการตัดสินใจให้ได้เกรด A นักศึกษาต้องเตรียมตัวใน
ด้านใดบ้าง มีสิ่งใดบ้างที่มีความสาคัญ 2 อันดับแรก และต้องปฏิบัติอะไรก่อนหลัง
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
3. ฝึกให้วิเคราะห์และอธิบายความจริงที่อยู่เบื้องหลังปรากฏการณ์ โดยกาหนดสิ่งที่
ปรากฏขึ้นในสังคมหรือในชีวิตประจาวัน แล้วให้วิเคราะห์อธิบายถึงกฎเกณฑ์
สาเหตุที่ทาให้เกิดปรากฎการณ์นั้น
 ตัวอย่างที่ 26 ให้นักศึกษาวิเคราะห์และอธิบายการเกิดปรากฏการณ์ดังต่อไปนี้
o นักศึกษาที่สาเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษาแล้ว มักจะเข้าไปทางานในเมืองหลวง
มากกว่าทางานในบ้านเกิด
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
 คุณค่าของการคิดลึกซึ้ง
1. ช่วยให้สามารถมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องที่ต้องการศึกษาอย่างลึกซึ้ง
2. สามารถหาข้อสรุปในเรื่องที่ซับซ้อนได้
3. สามารถเลือกปฏิบัติกิจกรรมที่มีความสาคัญและจาเป็นตามลาดับก่อนหลังซึ่งทา
ให้ประหยัดทรัพยากรต่างๆ และสามารถแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทันเวลา
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
9. การคิดดี คิดถูกทาง หมายถึง การคิดที่ตรงจุดมุ่งหมาย คิดในแง่ที่ดีที่เป็นประโยชน์
ต่อตนเอง ต่อส่วนรวม ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
 การฝึกเพื่อพัฒนาการคิดดี คิดถูกทาง สามารถทาได้โดยการฝึกให้คิดในแง่ต่างๆ
ดังนี้
1. ฝึกพิจารณาความสอดคล้องของการกระทา หลักการ และจุดประสงค์
2. ฝึกพิจารณาถึงประโยชน์ส่วนตัว ส่วนรวมในระยะต่างๆ
3. ฝึกพิจารณาคุณค่า
4. ฝึกการคิดในแนวทางที่เร้าคุณธรรม
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
1. ฝึกพิจารณาความสอดคล้องของการกระทา หลักการ และจุดประสงค์ ทาได้โดย
 กาหนดหลักการและจุดมุ่งหมาย แล้วพิจารณาว่าการกระทาใดเป็นไปตามหลักการและ
จุดมุ่งหมาย
 กาหนดกิจกรรมหรือการกระทา แล้วพิจารณาว่ามีจุดมุ่งหมายที่ถูกต้องควรเป็นอย่างไร
• ตัวอย่างที่ 27 หลักการหรือการกระทาที่ฝึกพิจารณาความสอดคล้องของการ
กระทา หลักการและจุดประสงค์
o การจัดแข่งขันกีฬาเพื่อจุดประสงค์อะไร
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
2. ฝึกพิจารณาถึงประโยชน์ส่วนตัว ส่วนรวมในระยะต่างๆ โดยกาหนดการกระทา
แล้วให้พิจารณาประโยชน์หรือโทษที่เกิดขึ้น
 ตัวอย่างที่ 28 การกระทาที่ฝึกพิจารณาถึงประโยชน์ส่วนตัว ส่วนรวมในระยะต่างๆ
o การประหยัดน้ามีประโยชน์ต่อตนเอง ต่อส่วนรวมทั้งในปัจจุบันและอนาคตอย่างไร
บ้าง
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
3. ฝึกพิจารณาคุณค่า โดยกาหนดสิ่งของหรือกิจกรรมต่างๆ แล้วให้พิจารณาคุณ
ค่าที่ถูกต้องของสิ่งที่กาหนดขึ้น
 ตัวอย่างที่ 29 สิ่งของหรือกิจกรรมต่างๆ ที่ฝึกพิจารณาคุณค่า
o โทรศัพท์มือมีคุณค่าที่สาคัญคืออะไร
o วันครูมีคุณค่าที่สาคัญอย่างไร
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
4. ฝึกการคิดในแนวทางที่เร้าคุณธรรม โดยกาหนดสถานการณ์แล้วให้ฝึกพิจารณา
แนวคิดที่เร้าคุณธรรม
 ตัวอย่างที่ 30 สถานการณ์ที่ฝึกการคิดในแนวทางที่เร้าคุณธรรม
o เมื่อเพื่อนที่อกหักและเสียใจมากมาพบนักศึกษา นักศึกษาจะให้คาแนะนาหรือ
แนวคิดกับเพื่อนว่าอย่างไร
ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ
ฝึกฝน คือ
 คุณค่าของการคิดดี คิดถูกทาง
1. ช่วยให้การกระทาหรือการปฏิบัติเป็นไปอย่างถูกต้อง และบรรลุจุดประสงค์มากขึ้น
2. เป็นการสกัดจุดเริ่มต้นของการประพฤติผิด ประพฤติมิชอบ
3. ช่วยให้การดาเนินชีวิตไปในทางที่ถูกต้อง งดงาม มีคุณค่า และเป็นประโยชน์ทั้งต่อ
ตนเองและส่วนรวม
การพัฒนากระบวนการคิด
 กระบวนการ หมายถึง ขั้นตอน สิ่งใดที่มีลักษณะเป็นกระบวนการสิ่งนั้นจะประกอบไปด้วย
ขั้นตอนของการดาเนินงาน เพื่อนาไปสู่เป้าหมายของกระบวนการนั้นๆ
 กระบวนการคิด คือ ขั้นตอนในการคิดเพื่อให้ได้ความคิดที่ต้องการออกมา
 กระบวนการคิดที่สาคัญๆ และมีความจาเป็นต่อการดารงชีวิตมีหลายกระบวนการ
ดังต่อไปนี้
1. การคิดสร้างสรรค์
2. การคิดวิเคราะห์
3. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
4. การคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
5. การคิดทางคณิตศาสตร์
6. การคิดทางการบริหารและการจัดการ
ความหมายของการคิดสร้างสรรค์
 การคิดสร้างสรรค์ (CreativeThinking) หมายถึง ความสามารถทางสมองของ
บุคคลที่ประกอบด้วยความคิดคล่อง คิดยืดหยุ่น คิดละเอียดลออ และคิดริเริ่ม
ผสมผสานกันจนเกิดเป็นการคิดได้หลายทิศทาง
 เป็นการคิดที่ทาให้เกิดสิ่งใหม่ๆ หรือเป็นการดัดแปลงปรับปรุงแก้ไขสิ่งต่างๆ ที่มี
อยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพดีกว่าเดิม หรือประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ๆ ที่ไม่ซ้าของเดิม
และเป็นการคิดที่ไม่ซ้ากับผู้อื่น
องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์
1. ความคิดริเริ่ม (Originality)
2. ความคิดคล่องแคล่ว (Fluency)
3. ความคิดยืดหยุ่น (Flexibility)
4. ความคิดละเอียดลออ (Elaboration)
กระบวนการคิดสร้างสรรค์
 กระบวนการคิดสร้างสรรค์ หมายถึง วิธีการคิดหรือกระบวนการทางานของสมอง
อย่างเป็นขั้นตอน และสามารถคิดแก้ปัญหาได้สาเร็จ เกิดขึ้นเมื่อบุคคลมุ่งคิดเพื่อ
ไปสู่จุดมุ่งหมายที่แปลกใหม่ ขั้นตอนของกระบวนการคิดสร้างสรรค์มีดังนี้ คือ
1. การรับรู้และการเข้าใจ (Cognition) หมายถึง ความสามารถของสมองในการ
เข้าใจสิ่งต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว
2. การจา (Memory) หมายถึง ความสามารถของสมองในการสะสมข้อมูลต่างๆ
ที่ได้เรียนรู้ และสามารถระลึกออกมาได้ตามที่ต้องการ
3. การคิดแบบเอกนัย (Convergent Thinking) หมายถึงความสามารถของ
สมองในการให้การตอบสนองที่ถูกต้องและดีที่สุดจากข้อมูลที่กาหนดให้
4. การประเมินค่า (Evaluation) หมายถึงความสามารถของสมองในการตัดสิน
ข้อมูลที่กาหนดให้ตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้
การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
 แนวคิดในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์มีดังนี้ คือ
1. การเปิดใจกว้าง
2. การให้เวลาฟักความคิด
3. การมีอิสระเสรีในการแสดงออก
4. บรรยากาศที่เอื้ออานวยต่อความคิดสร้างสรรค์
ประโยชน์ของการคิดสร้างสรรค์
 การคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ทาให้เกิดนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ทาให้
สภาพความเป็นอยู่ของมนุษย์ดีขึ้นและมีความสุขเพิ่มมากขึ้น สาหรับประโยชน์ของ
การคิดสร้างสรรค์สรุปได้ดังนี้ คือ
1. ความคิดสร้างสรรค์ช่วยให้สามารถแก้ปัญหาได้
2. ความคิดสร้างสรรค์ก่อให้เกิดนวัตกรรมที่ไม่หยุดยั้ง
3. ความคิดสร้างสรรค์ช่วยให้ได้สิ่งที่ดีกว่าแทนสิ่งที่มีอยู่เดิม
4. ความคิดสร้างสรรค์เป็นองค์ประกอบสาคัญของความฉลาด
ความหมายของการคิดวิเคราะห์
 การคิดวิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะส่วนย่อยๆ ของเหตุการณ์
เรื่องราวหรือเนื้อเรื่องต่างๆ ว่าประกอบด้วยอะไร มีจุดมุ่งหมายหรือความประสงค์
สิ่งใด และส่วนย่อยๆ ที่สาคัญนั้นแต่ละเหตุการณ์เกี่ยวพันกันอย่างไรบ้าง และ
เกี่ยวพันกันโดยอาศัยหลักการใด เพื่อให้เกิดความชัดเจนและความเข้าใจจน
สามารถนาไปสู่การตัดสินใจได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
องค์ประกอบของกำรคิดวิเครำะห์
1. ช่างสังเกต ช่างสงสัย ช่างใคร่ครวญ
2. ช่างซักไซ้ ช่างไต่ถาม ช่างแจกแจง
3. ช่างสืบค้น ช่างสะสม ช่างเรียนรู้
4. ช่างคิด ช่างวิเคราะห์ ไม่อ้างว่าไม่มีเวลาคิด
ประโยชน์ของการวิเคราะห์
 การวิเคราะห์สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ในแง่มุมต่างๆ ช่วยให้เราเข้าใจ
สาเหตุที่เกิดขึ้น ผลกระทบที่ตามมา และสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต อันนาไปสู่การแก้ไข
ปัญหา การเตรียมการป้ องกัน การวางนโยบาย และการวางกลยุทธ์เพื่อมีโอกาสที่ดีกว่าใน
อนาคต
 การวิเคราะห์ข่าว ทาให้เราทราบเบื้องหน้าเบื้องหลังของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน ไม่
เพียงแต่จะรับรู้ว่ามีอะไรเกิดขึ้นเท่านั้น แต่ยังทราบอีกว่าเหตุใดจึงเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว
และยังทาให้ทราบอีกว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจะส่งผลกระทบอย่างไร ซึ่งเป็นประโยชน์ในการ
วางกลยุทธ์และป้องกันอย่างไรต่อไปได้
 การวิเคราะห์บุคคล ช่วยทาให้เราเข้าใจว่าเหตุใดเขาจึงแสดงออกมาเช่นนั้น มีอะไรเป็น
มูลเหตุจูงใจ สิ่งที่เขาแสดงออกมาจะส่งผลกระทบต่อเขาหรือผู้อื่นหรือไม่ อย่างไร ใน
อนาคต และถ้ามูลเหตุเปลี่ยนพฤติกรรมของเขาจะเปลี่ยนไปด้วยหรือไม่
 การวิเคราะห์วัตถุ สสารต่างๆ ทาให้เราทราบว่าสิ่งนั้นประกอบด้วยอะไรบ้าง แต่ละส่วน
ช่วยทางานประสานเชื่อมโยงกันอย่างไร การรู้โครงสร้างและส่วนประกอบทาให้
นักวิทยาศาสตร์สามารถนาสารที่สกัดออกมานั้นไปใช้ประโยชน์ต่างๆ ได้อย่างอเนกอนันต์
ความหมายของการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
 การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) หมายถึง การใช้ความคิดใน
ลักษณะวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปัญหาโดยยึดหลักการคิดด้วยเหตุผล
จากข้อมูลที่เป็นจริงมากกว่าอารมณ์ ที่ทาให้เกิดความลาเอียง ซึ่งจะมีผลเสียต่อการ
ตัดสินใจ
 ดังนั้นการคิดอย่างมีวิจารณญาณจึงเป็นความคิดที่เปิดกว้าง มีเป้ าหมายที่แน่นอน มี
เหตุผล มีความถูกต้อง แม่นยา สามารถตรวจสอบความคิดและประเมินความคิด
ของตนเองได้
องค์ประกอบการคิดอย่างมีวิจารณญาณ มี 7 ประการ คือ
1. จุดมุ่งหมาย
2. ประเด็นคาถาม
3. สารสนเทศ
4. ข้อมูลเชิงประจักษ์
5. แนวคิดอย่างมีเหตุผล
6. ข้อสันนิษฐาน
7. การนาไปใช้และผลที่จะตามมา
กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
1. การกาหนดปัญหา
2. การรวบรวมข้อมูล
3. การจัดระบบข้อมูล
4. การตั้งสมมติฐาน
5. การสรุปอ้างอิงโดยใช้หลักการตรรกศาสตร์
6. การประเมินสรุปอ้างอิง
การพัฒนากระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
 การพัฒนากระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณสามารถทาได้โดยการสร้าง
สถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่เป็นปัญหาในระดับที่ไม่สามารถใช้วิธีการใดวิธีการหนึ่ง
แก้ไขทันที ต้องมีการประมวลข้อมูล ความรู้ หรือข้อคิดเห็นต่างๆ อย่างกว้างขวาง
มาประกอบการพิจารณา เพื่อให้เกิดการคิดที่รอบคอบและสมเหตุสมผล
ประโยชน์ของการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณในการตัดสินใจ
 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณในเรื่องเกี่ยวกับความรู้ การเรียนรู้ การสนทนา หรือ
อภิปราย รวมไปถึงการแก้ปัญหาต่างๆ
 ดังนั้นบุคคลที่มีการคิดอย่างมีวิจารณญาณย่อมมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์
ได้อย่างมีหลักการ สามารถควบคุม จัดการ และตรวจสอบความคิดตนเองได้
รวมทั้งสามารถตัดสินใจและแก้ปัญหาโดยการใช้เหตุผลอย่างถูกต้องเหมาะสม
ความหมายของการคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 การคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง กระบวนการคิดที่ใช้ในการแก้ไข
ปัญหา
 ลาดับขั้นตอนของกระบวนการคิดนี้ได้มาจากการวิเคราะห์วิธีการค้นหาความรู้ของ
นักวิทยาศาสตร์
 หลักการของการคิดแบบนี้ คือ การคาดคะเนคาตอบ (สมมติฐาน) ของปัญหา และ
การหาข้อมูลมาตรวจสอบว่าการคาดคะเนคาตอบนั้นถูกต้องหรือไม่
กระบวนการคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1. ขั้นปัญหา เป็นการกาหนดปัญหาหรือระบุปัญหาให้ชัดเจน
2. ขั้นตั้งสมมติฐาน เป็นการคาดคะเนของคาตอบล่วงหน้าแต่เป็นการคาดคะเน
อย่างมีเหตุผล
3. ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล เป็นขั้นตอนที่เก็บกับวิธีวางแผนในการหาข้อมูลมา
เพื่อสรุปว่าสมมติฐานที่ตั้งไว้ถูกต้องหรือไม่ รวมทั้งหาข้อมูลตามแผนที่คิดไว้ ถ้า
ปัญหาที่คิดเป็นเรื่องทางวิทยาศาสตร์การคิดในขั้นตอนนี้จะเป็นการคิดออกแบบ
การทดลอง เพื่อจะเก็บข้อมูลที่ถูกต้องตรงกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ แต่ถ้าเป็นปัญหา
อื่นอาจเก็บข้อมูลด้วยการค้นคว้าหรือรวบรวมด้วยวิธีการอื่น
4. ขั้นสรุปผล เมื่อทาการรวบรวมข้อมูลได้แล้ว ก็นาข้อมูลมาวิเคราะห์และสรุปเพื่อ
ตรวจสอบว่าสมมติฐานที่ตั้งไว้ถูกต้องหรือไม่ ซึ่งการสรุปนี้จะเป็นคาตอบของ
ปัญหาที่ตั้งไว้ในขั้นตอนที่ 1
การพัฒนาการคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 การพัฒนาการคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สามารถทาได้โดยการสร้าง
สถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่เป็นปัญหาในระดับที่ไม่สามารถใช้วิธีการใดวิธีการหนึ่ง
แก้ไขทันที ลักษณะเด่นของสถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่เหมาะสมกับการคิดตาม
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่
1. สถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่มีคาตอบที่น่าเป็นไปได้อย่างน้อย 1 คาตอบ
2. การตรวจสอบคาตอบที่น่าเป็นไปได้ว่าถูกต้องหรือไม่ ต้องมีการรวบรวมข้อมูล
(ซึ่งอาจเป็นข้อมูลเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ)
3. วิธีการรวบรวมข้อมูลอาจเป็นการทดลอง (ในกรณีเนื้อหาของปัญหาเป็นเรื่องทาง
วิทยาศาสตร์) หรือเป็นเรื่องศึกษาค้นคว้าด้วยวิธีการอื่นอื่นก็ได้
 การคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการแก้ปัญหาหรือการค้นคว้า
หาความรู้ที่ใช้ได้กับเรื่องต่างๆ มากมาย ไม่เพียงเฉพาะวิทยาศาสตร์เท่านั้น
ประโยชน์ของการคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 ทาให้ได้คาตอบในการแสวงหาความรู้ที่ถูกต้อง มีความน่าเชื่อถือเนื่องจากเป็น
กระบวนการที่สามารถพิสูจน์ได้และเป็นที่ยอมรับในทุกๆ วงการ
 อีกทั้งยังเป็นการพัฒนาองค์ความรู้ในเรื่องต่างๆ ทาให้เกิดสิ่งประดิษฐ์ใหม่
นวัตกรรม หรือเทคโนโลยีสมัยใหม่ต่างๆ เครื่องอานวยความสะดวกก็เป็นประโยชน์
ของกระบวนการคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นั่นเอง
ความหมายของการคิดทางคณิตศาสตร์
 การคิดทางคณิตศาสตร์ หมายถึง กระบวนการที่สรุปข้อเท็จจริงอย่างเที่ยงตรงโดย
อาศัยชุดของข้อมูลมาประกอบ ทั้งนี้ต้องสร้างข้อคาดเดา ค้นหาวิธีการศึกษาหา
ความรู้ ทดลอง เพื่อแก้ปัญหาหรือเพื่อสรุปคุณสมบัติหรือกฎเกณฑ์ แล้วตรวจสอบ
ความถูกต้อง และอธิบายเพื่อยืนยันการสรุป ข้อสรุปเหล่านี้จะหลอมรวมเป็น
แนวคิดใหม่
 ธรรมชาติของคณิตศาสตร์เป็นวิชาเกี่ยวกับการคานวณ การแก้ปัญหาและการใช้
เหตุผล ดังนั้นควรทาความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของคณิตศาสตร์ ดังนี้
1. คณิตศาสตร์มีลักษณะเป็นนามธรรม
2. คณิตศาสตร์มีความเป็นระบบ
3. คณิตศาสตร์เกี่ยวข้องกับการใช้เหตุผล
การคิดทางคณิตศาสตร์
1. การคิดขั้นระลึกได้ จะรวมทักษะการคิดซึ่งเป็นไปโดยอัตโนมัติตามธรรมชาติ
และรวมทั้งข้อเท็จจริงเบื้องต้นทางเลขคณิต เช่น 3 x 2 = 6 แนวคิดเหล่านี้จะ
ได้รับการสั่งสอนมาตั้งแต่วัยเด็กโดยผ่านกระบวนการศึกษา
2. การคิดขั้นพื้นฐาน จะรวมการเข้าใจแนวคิดทางคณิตศาสตร์ไว้ด้วย เช่น การบวก
ลบ การคูณและการหาร รวมทั้งการจดจาบทประยุกต์ในปัญหาที่เรียนจาก
โรงเรียนและเรียนจากชีวิตประจาวัน
3. การคิดขั้นวิจารณญาณ เป็นการคิดที่มีการตรวจสอบการมองความสัมพันธ์ การ
ประเมินค่ารูปแบบต่างๆ ของการแก้ปัญหาหรือสถานการณ์
4. การคิดสร้างสรรค์ เป็นจุดเริ่มต้นที่ก่อให้เกิดผลที่ซับซ้อน การคิดสร้างสรรค์เป็น
สิ่งประดิษฐ์ การรู้แจ้งและการจินตนาการ
การพัฒนาการคิดทางคณิตศาสตร์
 เนื่องจากการคิดทางคณิตศาสตร์มีลาดับขั้นตอนการคิด 4 ขั้นตอน ดังนั้นการฝึก
หรือการพัฒนาความคิดจึงควรมีทุกขั้นตอนสาหรับขั้นตอนการระลึกได้นั้นถ้า
ต้องการให้ได้ผลจะต้องอาศัยคุณสมบัติต่อไปนี้
1. เป็นนักสังเกตที่ดี
2. มีสมาธิในการเรียน
3. มีความสามารถสร้างความคิดรวบยอดได้ดี
4. มีความเป็นระเบียบ
5. มีความรอบคอบ
6. มีความอดทน
7. ชอบจุดบันทึก
58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
บทที่  4  การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงานบทที่  4  การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงานืnattakamon thongprung
 
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...KruNistha Akkho
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
การชั่ง ชั้น ป.3
การชั่ง  ชั้น  ป.3การชั่ง  ชั้น  ป.3
การชั่ง ชั้น ป.3Dmath Danai
 
PPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการ
PPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการPPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการ
PPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการAdchara Chaisri
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...Kobwit Piriyawat
 
ใบความรู้ ความกตัญญู ป.1+423+dltvsocp1+55t2soc p01 f15-1page
ใบความรู้ ความกตัญญู ป.1+423+dltvsocp1+55t2soc p01 f15-1pageใบความรู้ ความกตัญญู ป.1+423+dltvsocp1+55t2soc p01 f15-1page
ใบความรู้ ความกตัญญู ป.1+423+dltvsocp1+55t2soc p01 f15-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
แบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรมแบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรมPhajon Kamta
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมโครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมchanaruk
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553Yutthana Sriumnaj
 

Was ist angesagt? (20)

บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
บทที่  4  การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงานบทที่  4  การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
 
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
 
การชั่ง ชั้น ป.3
การชั่ง  ชั้น  ป.3การชั่ง  ชั้น  ป.3
การชั่ง ชั้น ป.3
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
PPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการ
PPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการPPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการ
PPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการ
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
 
ใบความรู้ ความกตัญญู ป.1+423+dltvsocp1+55t2soc p01 f15-1page
ใบความรู้ ความกตัญญู ป.1+423+dltvsocp1+55t2soc p01 f15-1pageใบความรู้ ความกตัญญู ป.1+423+dltvsocp1+55t2soc p01 f15-1page
ใบความรู้ ความกตัญญู ป.1+423+dltvsocp1+55t2soc p01 f15-1page
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
แบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรมแบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรม
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมโครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
 
Stem workshop summary
Stem workshop summaryStem workshop summary
Stem workshop summary
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
 
ปก
ปกปก
ปก
 

Andere mochten auch

Andere mochten auch (8)

305เกมส์ฝึกคิด
305เกมส์ฝึกคิด305เกมส์ฝึกคิด
305เกมส์ฝึกคิด
 
Saber decir no seminaristas
Saber decir no seminaristasSaber decir no seminaristas
Saber decir no seminaristas
 
Unidad 3 pnnc
Unidad 3 pnncUnidad 3 pnnc
Unidad 3 pnnc
 
Convergencia y las tic
Convergencia y las ticConvergencia y las tic
Convergencia y las tic
 
Portafolio de producto
Portafolio de productoPortafolio de producto
Portafolio de producto
 
Actividad 3 sistemas
Actividad 3 sistemasActividad 3 sistemas
Actividad 3 sistemas
 
Isabel gomez
Isabel gomezIsabel gomez
Isabel gomez
 
28´110.795 -- proyecto innovador
28´110.795  -- proyecto innovador28´110.795  -- proyecto innovador
28´110.795 -- proyecto innovador
 

Ähnlich wie 58210401110 งาน1 ss

บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการSupattra Rakchat
 
บทความ
บทความบทความ
บทความaorchalisa
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1olivemu
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical groupED-TA-ro
 
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์Sansana Siritarm
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้uncasanova
 
แนวคิดและเครื่องมือการคิดเชิงวิจารณญาณ
แนวคิดและเครื่องมือการคิดเชิงวิจารณญาณแนวคิดและเครื่องมือการคิดเชิงวิจารณญาณ
แนวคิดและเครื่องมือการคิดเชิงวิจารณญาณPanakrit Udomkitti
 
ความสำคัญด้านความคิด
ความสำคัญด้านความคิดความสำคัญด้านความคิด
ความสำคัญด้านความคิดAun Natthida
 
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบเทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบSakda Hwankaew
 

Ähnlich wie 58210401110 งาน1 ss (20)

งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
บทความ
บทความบทความ
บทความ
 
Mm100
Mm100Mm100
Mm100
 
Thinking skills
Thinking skillsThinking skills
Thinking skills
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical group
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical group
 
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
 
Thinking for computer class
Thinking for computer classThinking for computer class
Thinking for computer class
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
แนวคิดและเครื่องมือการคิดเชิงวิจารณญาณ
แนวคิดและเครื่องมือการคิดเชิงวิจารณญาณแนวคิดและเครื่องมือการคิดเชิงวิจารณญาณ
แนวคิดและเครื่องมือการคิดเชิงวิจารณญาณ
 
ความสำคัญด้านความคิด
ความสำคัญด้านความคิดความสำคัญด้านความคิด
ความสำคัญด้านความคิด
 
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบเทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
 
Constructivism
Constructivism Constructivism
Constructivism
 
Atack
AtackAtack
Atack
 

58210401110 งาน1 ss

  • 1. วิชาการคิดและการตัดสินใจ (4000106) อาจารย์ศิริพร จรรยา คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ การคิดและกระบวนการคิดของมนุษย์
  • 2. บทนำ  การคิดเป็นสิ่งสาคัญและจาเป็นอย่างมาก ต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์ สังคมที่ มนุษย์อยู่ร่วมกันจะมีการพัฒนาต่อไปได้ ก็ต่อเมื่อบุคคลในสังคมมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ คิดมีเหตุมีผล รู้จักป้ องกัน และแก้ไขปัญหาในชีวิตประจาวันได้  ดังนั้นบุคคลควรฝึกให้ตนเองเป็นคนคิด อย่างเป็นระบบ คิดถูกต้องและเหมาะสม เพื่อสามารถดาเนินชีวิตได้อย่างมี คุณภาพและประสบผลสาเร็จในชีวิต
  • 3. ความหมายของการคิด  การคิด หมายถึง พฤติกรรมภายใน ที่เกิดจากกระบวนการทางานของ สมอง ในการรวบรวมจัดระบบ ข้อมูลและประสบการณ์ต่าง ๆ ทา ให้เกิดเป็นรูปร่างหรือมโนภาพที่ เป็นเรื่องราวขึ้นในใจและสื่อสาร ออกมาโดยใช้คาพูดหรือแสดงออก
  • 4. ความหมายของการคิด  จอห์น ดิวอี้ (Jonh Dewey) ให้ความหมายว่า การคิดจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมี ความสับสนวุ่นวายสงสัย หรือเกิดคับข้องใจ หรือขัดแย้งในใจ หลังจากนั้นจึง จะเกิดพฤติกรรมต่างๆ เพื่อค้นหาวิธีการแก้ปัญหา หรือขจัดสิ่งที่สงสัยนั้น  ฮิลการ์ด (Hillgard) กล่าวว่า การคิดเป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสมองอัน เนื่องมาจากการใช้สัญลักษณ์แทนสิ่งของและสถานการณ์ต่างๆ  มากาเร็ต ดับบลิว แมทลิน (Matlin) ให้ความหมายไว้ว่า ความคิดเป็น กิจกรรมทางสมอง เป็นกระบวนการทางปัญญา ซึ่งประกอบด้วยการสัมผัส การรับรู้ การรวบรวม การจา การรื้อฟื้ นข้อมูลเก่าหรือประสบการณ์
  • 5. โครงสร้างและการทางานของสมองกับการคิด  สมองเป็นส่วนสาคัญที่สุดในการคิดของมนุษย์เพราะสมองเป็นศูนย์กลาง ควบคุมการทางานของร่างกาย และเป็นศูนย์กลางความรู้สึกนึกคิด  สมองแต่ละส่วนทาหน้าที่ควบคุมพฤติกรรมต่างๆ เช่น การจา การรับรู้ การ เรียนรู้ การคิดหาเหตุผล การคิดแยกแยะข้อมูลต่างๆ การคิดวิพากษ์วิจารณ์ และการคิดสร้างสรรค์ เป็นต้น  สมองมนุษย์วัยเด็กจะมีการพัฒนาอย่างรวดเร็วกว่าอวัยวะส่วนอื่นๆ ของ ร่างกาย และมีสิ่งชี้วัดถึงความเจริญเติบโตของสมองคือ น้าหนักของสมอง ใน เด็กอายุ 5 ปี จะมีสมองหนักประมาณ 90 % ของสมองในผู้ใหญ่
  • 6. โครงสร้างและการทางานของสมองกับการคิด  โรเจอร์ สเปอร์รีย์ และโรเบิร์ต ออร์นสไตล์ ค้นพบว่าสมองของคนเราแบ่งเป็น 2 ซีก คือ สมองซีกซ้าย (Left Hemisphere) กับสมองซีกขวา (Right Hemissphere) ซึ่งแต่ละซีกมีหน้าที่ต่างกันดังนี้
  • 8. ปั จจัยที่มีผลต่อสมอง  ปัจจัยภายใน ได้แก่ พันธุกรรม เนื่องด้วยมนุษย์ได้รับการถ่ายทอดทาง พันธุกรรมจากพ่อ-แม่  ปัจจัยภายนอก หรือสิ่งแวดล้อม หมายความถึงทุกอย่างที่ไม่ใช่พันธุกรรมแต่ มีสิ่งเกี่ยวข้องกับสมองของบุคคลนั้น ได้แก่ อาหาร สุขภาพของบุคคล การ อบรมเลี้ยงดูและการฝึกฝน วัฒนธรรม ค่านิยม และความเชื่อ
  • 9. กระบวนการของการคิด สิ่งเร้า สถานการณ์ที่เป็นปัญหา ความต้องการ ความสงสัย จิต (ใส่ใจ) สมอง (คิด) รับรู้สิ่งเร้า ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ข้อมูล/ความรู้/เนื้อหา/ประสบการณ์ ผลของการคิด คาตอบ/บทสรุป แผนปฏิบัติงาน แนวคิดใหม่ๆ ความรู้ใหม่ๆ สามารถตัดสินใจได้ การทานาย วิธีที่มีประสิทธิภาพที่จะทาให้ปัญหา หรือความต้องการ หรือความสงสัยลดลงหรือหมดไป
  • 10. ประเภทของการคิด  การคิดของมนุษย์ย่อมแตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ประจาวันตลอดจนสภาพแวดล้อม ประเภทของการคิดแบ่งได้เป็นหลายชนิด ดังนี้ 1. แบ่งตามขอบเขตความคิด 2. แบ่งตามความแตกต่างของเพศ 3. แบ่งตามความสนใจของนักจิตวิทยา 4. แบ่งตามลักษณะของการคิด
  • 11. แบ่งตำมขอบเขตควำมคิด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท  การคิดในระบบปิด หมายถึง การคิดที่มีขอบเขตจากัดมีแนวความคิดไม่ เปลี่ยนแปลง เช่น การคิดทางคณิตศาสตร์ การคิดทางตรรกศาสตร์  การคิดในระบบเปิด หมายถึง การคิดในขอบเขตของความรู้ความสามารถ ของแต่ละบุคคล ซึ่งแตกต่างกันตามสิ่งแวดล้อมและประสบการณ์
  • 12. แบ่งตำมควำมแตกต่ำงของเพศ แบ่งได้เป็น 2 ประเภท  การคิดแบบวิเคราะห์ (Analytical Style) เป็นการคิดโดยอาศัยสิ่งเร้าที่เป็นจริง เป็นเกณฑ์ การคิดแบบนี้เป็นการคิดของคนอารมณ์มั่นคง มองสิ่งต่างๆ โดย ไม่ถือเอาความคิดของตนเป็นใหญ่ เป็นการคิดซึ่งเป็นพื้นฐานของการคิดแบบ วิทยาศาสตร์ซึ่งส่วนใหญ่เป็นลักษณะการคิดของเพศชาย  การคิดแบบโยงความสัมพันธ์ (Relational Style) เป็นการคิดที่สัมพันธ์กับ อารมณ์ มักยึดตนเองเป็นใหญ่ เกิดจากการมองหาความสัมพันธ์ของสิ่งเร้า ตั้งแต่สองชนิดขึ้นไป เช่น สัมพันธ์ทางด้านหน้าที่ สถานที่หรือกาลเวลา โดยมากเป็น ความคิดของเพศหญิง
  • 13. แบ่งตำมควำมสนใจของนักจิตวิทยำ แบ่งได้เป็น 3 ประเภท  การคิดรวมยอด (Concept) เป็นการคิดได้จากการรับรู้ มีการเปรียบเทียบทั้ง ในลักษณะที่เหมือนและแตกต่างกัน โดยอาศัยประสบการเดิม  การคิดหาเหตุผล (Reasoning) การคิดหาเหตุผลแบบนี้เป็นการคิดทาง วิทยาศาสตร์และจะต้องมีการทดสอบก่อน ดังการคิดหาเหตุผลจะต้องเริ่มต้น จากการตั้งสมมติฐาน และทดสอบสมมติฐานเสมอ  ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) เป็นการคิดเพื่อสร้างสิ่งใหม่ๆ ขึ้นมา โดยอาศัยการหยั่งเห็นเป็นสาคัญ หรือเป็นการค้นหาความสัมพันธ์ใหม่ๆ ระหว่างสิ่งต่างๆ ทาให้สามารถแก้ปัญหา คิดประดิษฐ์เครื่องมือ หรือคิดหา วิธีการใหม่ๆ มาแก้ปัญหา
  • 14. แบ่งตำมลักษณะของกำรคิด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท (1) การคิดประเภทสัมพันธ์ (Associative Thinking) เป็นการคิดที่ไม่มี จุดมุ่งหมาย ไม่มีแนวทาง คิดเรื่องนี้แล้วก็คิดเรื่องโน้นติดต่อกันไปเรื่อยๆ ไม่มีการสรุป ดังนี้  การคิดเลื่อนลอยเป็นการคิดเพ้อฝันมักจะเป็นการคิดเกี่ยวกับเรื่องราวของ ตัวเองมากกว่าที่จะใช้เหตุผลตามความเป็นจริง  ฝันกลางวันเป็นการคิดเพ้อฝันมักจะเป็นการคิดเกี่ยวกับเรื่องราวของตัวเอง มากกว่าที่จะใช้เหตุผลตามความเป็นจริง
  • 15.  การฝันกลางคืนเป็นการฝันขณะหลับโดยไม่รู้ตัว การฝันนี้เป็นการ แสดงออกของความต้องการที่เก็บกดไว้ อาจมีสาเหตุหลายอย่าง  การคิดที่เป็นอิสระเป็นการคิดที่ตามกันมาเป็นสายไม่หยุด นักจิตวิทยา วิเคราะห์เชื่อว่าการคิดที่เป็นอิสระเป็นการระบายความต้องการที่อยู่ภายใต้ จิตไร้สานึก การวิเคราะห์ผลจากการคิดเป็นอิสระจะช่วยให้เข้าใจปัญหาที่ ฝังลึกอยู่ในจิตใจของคนได้  การคิดที่ถูกควบคุมเป็นการคิดโดยอาศัยสิ่งที่เป็นแนวให้คิด หมายถึงเริ่ม คิดอะไรได้อย่างหนึ่งแล้วคิดเกี่ยวกับเรื่องเดิมนั้นต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆ ซึ่ง การคิดแบบนี้มีกฎเกณฑ์ว่าจะต้องอยู่ใต้การแนะนา คือถูกควบคุมให้คิด เฉพาะแต่เรื่องนั้น
  • 16. แบ่งตำมลักษณะของกำรคิด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท (2) การคิดที่มีจุดมุ่งหมาย (Directive Thinking) การคิดโดยตรงที่ใช้ในการ แก้ปัญหา การคิดหาเหตุผล จาแนกเป็นแบบต่างๆ ได้ดังนี้  การคิดแบบวิเคราะห์วิจารณ์ คือการหาเหตุผลโดยอาศัยพิจารณาข้อมูล และสถานการณ์ต่างๆ ว่ามีข้อเท็จจริงเพียงใด แล้วประเมินตัดสินลง ความเห็นแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ  การคิดแบบอุปมาน (Inductive Thinking) คือ การสรุปเป็นกฎทั่วไปจากการ พิสูจน์ในสถานการณ์หนึ่งๆ  การคิดแบบอนุมาน (Deductive Thinking) คือ การคิดหาเหตุผลซึ่งอาศัย ความรู้ที่ทราบกัน หรือตั้งสมมติฐานไว้ แล้วนาความรู้ย่อยอื่นๆ ไปพิจารณา เปรียบเทียบ
  • 17. การคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creative Thinking) เป็นการคิดค้น เพื่อพบ ความสัมพันธ์ใหม่ของสิ่งต่างๆ ที่มีประโยชน์ คุณค่า และแปลกใหม่กว่าเดิม เป็นสิ่งประดิษฐ์แปลกใหม่ หรือคิดปรับปรุงวิธีการที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้น ง่ายขึ้น สะดวกขึ้น การคิดแก้ปัญหา (Problem Solving) เป็นการคิดหาทางแก้ไขอุปสรรคที่ เกิดขึ้นเพื่อให้บรรลุถึงจุดมุ่งหมาย การคิดอย่างมีเหตุมีผล (Reasoning Thinking) เป็นการคิดโดยอาศัยข้อมูล ต่างๆ พิจารณาความสัมพันธ์ของข้อมูล เป็นความสามารถในการคิดหา เหตุผลทั้งที่เป็นอุปมานและอนุมาน
  • 18. การฝึกทักษะการคิดและลักษณะการคิด  ทักษะการคิด หมายถึง ความสามารถย่อยๆ ในการคิดในลักษณะต่างๆ ซึ่ง เป็นองค์ประกอบของกระบวนการคิดที่ซับซ้อน ทักษะการคิดแบ่งออกได้ 3 ประเภท คือ 1) ทักษะการคิดพื้นฐาน (Basic Skills) หมายถึง ทักษะการคิดที่เป็นพื้นฐาน เช่น ทักษะการฟัง การอ่าน การพูด การเขียน การรับรู้ การจดจา เป็นต้น 2) ทักษะการคิดทั่วไป (General Thinking Skills) หมายถึง ทักษะการคิดที่ จาเป็นต้องใช้อยู่เสมอในการดารงชีวิตประจาวัน เช่น ทักษะการสังเกต การ สารวจ การตั้งคาถาม การเก็บรวบรวมข้อมูล การจาแนกแยกแยะ เป็นต้น 3) ทักษะการคิดที่ซับซ้อน (More Complexed Thinking Skills) หมายถึง ทักษะการคิดที่มีขั้นตอนหลายชั้นและต้องอาศัยทักษะการสื่อความหมาย และทักษะการคิดทั่วไป เช่น ทักษะการสรุปความ การวิเคราะห์การให้คา จากัดความ การผสมผสานข้อมูล เป็นต้น
  • 19. การฝึกทักษะการคิดและลักษณะการคิด  ลักษะการคิด เป็นแบบแผนในการคิดที่มีจุดมุ่งหมาย ดังนั้นบุคคลจึงต้องมี ความเข้าใจว่าลักษณะการคิดนั้นๆ คืออะไร มีจุดมุ่งหมาย วิธีการหรือ กระบวนการคิดอย่างไร เพื่อนาไปสู่การฝึกฝนและพัฒนาลักษณะการคิดที่พึง ประสงค์ให้เกิดขึ้นกับตัวบุคคลต่อไป
  • 20. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 1. การคิดคล่องและคิดหลายหลาย เป็นความสามารถที่คิดเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือใน สถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง ได้ผลการคิดจานวนมาก รวดเร็ว ตรงประเด็น  การฝึกหรือการพัฒนาการคิดคล่องและหลากหลาย สามารถปฏิบัติได้โดยการตั้ง ปัญหาหรือสถานการณ์ที่เป็นปัญหา แล้วฝึกตอบให้ได้คาตอบมากที่สุดในเวลาจากัด และคาตอบนั้นต้องมีอยู่ในประเด็นของคาถาม  คุณค่าของการคิดคล่องและคิดหลากหลาย การคิดคล่องและการคิดหลากหลายเป็น กระบวนการพื้นฐานในการที่จะได้ความคิดที่ดีที่เหมาะสมเพราะทาให้ได้ความคิด จานวนมากที่แตกต่างกันทาให้มีตัวเลือกหรือทางเลือกซึ่งเป็นความคิดที่ดีที่ เหมาะสมมากขึ้น  ตัวอย่างที่ 1 จงบอกประโยชน์ของหนังสือพิมพ์มาให้มากที่สุด ภายในเวลาที่กาหนด….
  • 21. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 2.การคิดวิเคราะห์และคิดผสมผสาน  การคิดวิเคราะห์ เป็นการแบ่งหรือแยกแยะสิ่งที่สนใจหรือสิ่งที่ต้องการศึกษา ออกเป็นส่วนย่อยๆ แล้วทาการศึกษาส่วนย่อยๆนั่นอย่างลึกซึ้ง  การคิดผสมผสาน เป็นการรวบรวมความรู้ย่อยหรือผลจากการคิดวิเคราะห์ให้เป็น ข้อมูลใหม่ ข้อสรุปใหม่ กระบวนการใหม่ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ เพื่อนาไปใช้ ประโยชน์ในรูปแบบใหม่ได้มากขึ้น
  • 22. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 2.การคิดวิเคราะห์และคิดผสมผสาน  การฝึกเพื่อการพัฒนาการคิดวิเคราะห์ มี 2 ขั้นตอน  การฝึกหัดแบ่งหรือแยกแยะสิ่งที่สนใจ ซึ่งสามารถทาได้หลายวิธี เช่น แบ่งตาม สภาพที่มองเห็น แบ่งตามสภาพที่เป็นความรู้ศึกนึกคิด แบ่งตามสาเหตุหรือผลที่จะ เกิดขึ้น หรือแบ่งเป็นขั้นตอน เป็นต้น  ตัวอย่างที่ 2 หนังสือ แบ่งส่วนประกอบได้ คือ ……
  • 23. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ  การฝึกเพื่อการพัฒนาการคิดวิเคราะห์ มี 2 ขั้นตอน การศึกษาส่วนย่อยที่แบ่งหรือแยกแยะออกมาอย่างลึกซึ้ง ได้แก่ การศึกษา รายละเอียดของแต่ละส่วนย่อย เพื่อเกิดความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง โดย เปรียบเทียบในแง่มุมต่างๆ เช่น เป็นคุณ-เป็นโทษ เป็นบวก-เป็นลบ ดี-ไม่ดี ควร-ไม่ควร ถูก-ผิด จุดเด่น-จุดย้อย ข้อเท็จจริง-ความคิดเห็น ข้อเท็จจริง- ความรู้สึก  ตัวอย่างที่ 3 เมื่อต้องการที่จะซื้อบ้าน จาเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับบ้านที่จะซื้อ อย่างลึกซึ้ง โดยให้แยกแยะส่วนต่างๆ ของบ้าน ทั้งส่วนที่มองเห็นได้ และ ส่วนย่อยตามสภาพความรู้สึก มีอะไรบ้าง เพื่อเป็นข้อมูลที่ช่วยในการตัดสินใจ ในการซื้อบ้านได้อย่างดี…….
  • 24. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ  การฝึกเพื่อพัฒนาการคิดผสมผสาน สามารถทาได้หลายแบบ เช่นการฝึกนาความรู้ ย่อยๆ มาผสมผสาน เพื่อให้ได้แนวคิดใหม่ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ กระบวนการใหม่ ทา ให้ได้ข้อสรุปในการดาเนินการที่เหมาะสม ถูกต้องมากขึ้น  ตัวอย่างที่ 4 โทรศัพท์ + เครื่องถ่ายเอกสาร  เครื่องโทรสาร วงล้อ + เก้าอี้  เก้าอี้เลื่อน ซาลาเปา + รูปกระต่าย  ซาลาเปารูปกระต่าย
  • 25. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ  คุณค่าของการคิดวิเคราะห์และการคิดผสมผสาร มีดังนี้ 1. ทาให้ได้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่สนใจ หรือเรื่องที่ต้องการศึกษาได้ลึกซึ้ง ครอบคลุมมากขึ้น 2. ทาให้ศึกษาและค้นพบสิ่งใหม่ๆ ได้ง่ายขึ้น 3. ได้ความรู้ใหม่ ข้อสรุปใหม่ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ 4. เป็นการนาความรู้และข้อมูลต่างๆ มาประกอบในการคิด ทาให้สามารถตัดสินใจ ดาเนินการต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมมากขึ้น
  • 26. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 3. การคิดริเริ่ม เป็นการคิดที่ให้ผลของการคิดที่มีความแปลกใหม่แตกต่างไปจาก ความคิดของคนทั่วๆ ไป มีลักษณะหรือมุมมองไม่เหมือนกับผู้อื่น เป็ นการนา ความรู้เดิมมาดัดแปลงให้เป็นความคิดใหม่ซึ่งไม่ซ้ากับใคร  การฝึกเพื่อพัฒนาการคิดริเริ่ม สามารถพัฒนาได้หลายรูปแบบตัวอย่างการฝึกเช่น  การฝึกจินตนาการ โดยตั้งคาถามเกี่ยวกับสิ่งของ สถานการณ์ หรือเหตุการณ์ แปลกๆ แล้วจินตนาการคาตอบที่แปลกใหม่หลายๆ คาตอบ  ตัวอย่างที่ 5 คาถามสาหรับการฝึกจินตนาการ ถามว่า ในอนาคตรถยนต์น่าจะมี รูปร่าง และลักษณะการทางานเป็นอย่างไร ………
  • 27. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ  การฝึกเพื่อพัฒนาการคิดริเริ่ม  การฝึกให้มีมุมมองหลากหลาย โดยกาหนดรูปร่างสิ่งของ สถานการณ์ในรูปแบบ ต่างๆ แล้วพยายามบอกและบอกให้ได้คาตอบที่เกี่ยวข้องกับสิ่งนั้นให้มากที่สุด ให้ แปลกที่สุด  ตัวอย่างที่ 6 รูปทางขวานี้มองเป็นอะไรได้บ้าง…..
  • 28. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ  การฝึกเพื่อพัฒนาการคิดริเริ่ม  การฝึกหาทางเลือกหลากหลาย โดยกาหนดเหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่เป็นปัญหา แล้วพยายามบอกคาตอบที่เป็นไปได้มากที่สุด ให้แปลกที่สุด เพื่อเป็นทางเลือกใหม่ ในการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ที่เป็นปัญหา  ตัวอย่างที่ 7 วิธีการที่ทาให้นักศึกษามีความตั้งใจเรียนมากขึ้น…..  การฝึกผสมผสานความคิด โดยกาหนดของ 2 อย่างมาคู่กัน และพยายามคิดของสิ่ง หนึ่งตามคุณสมบัติหรือลักษณะของอีกสิ่งหนึ่ง  ตัวอย่างที่ 8 สถานการณ์ฝึกการผสมผสานความคิด โดยคิดสิ่งหนึ่งตามคุณสมบัติ ของอีกสิ่งหนึ่ง หรือเชื่อมคุณสมบัติทั้งสองเป็นของใหม่ให้มากที่สุด รถยนต์ + สบู่ = ?
  • 29. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ  การฝึกเพื่อพัฒนาการคิดริเริ่ม  การฝึกคิดปรับปรุงสิ่งที่มีอยู่เดิมให้ดีขึ้น โดยกาหนดสิ่งที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน เช่น สิ่งของ แนวความคิด การปฏิบัติ กระบวนการต่างๆ เป็นต้น แล้วฝึกวิเคราะห์เพื่อ ปรับปรุงและพัฒนา โดยคิดตามลาดับ  สิ่งนี้มีจุดประสงค์อะไร  สิ่งนี้มีรูปแบบหรือลักษณะอย่างไร และตรงไหนเป็นจุดเด่น-จุดสาคัญ  หาเหตุผลว่าตอบวัตถุประสงค์ได้อย่างไร และตรงไหนเป็นส่วนสาคัญ  พิจารณาดัดแปลง ปรับปรุง ตรวจสอบ หาสิ่งทดแทน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้ดีขึ้น
  • 30. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ  การฝึกเพื่อพัฒนาการคิดริเริ่ม  ตัวอย่างที่ 9 สิ่งที่เป็นอยู่ในปัจจุบันที่สามารถนามาฝึกคิดปรับปรุง  การแต่งกายของนักศึกษา  การจัดกิจกรรมรับน้องใหม่  การจัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย ………………….
  • 31. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ  การฝึกเพื่อพัฒนาการคิดริเริ่ม  การฝึกคิดออกนอกกรอบการคิดปกติ โดยพยายามคิดสร้างสรรค์สิ่งที่ไม่เป็นไป ตามปกติหรือพยายามคิดออกนอกกรอบของปัญหา การคิดออกนอกระบบวิธีการ คิดหรือกระบวนการคิดแบบเดิม  ตัวอย่างที่ 10 ปัญหา “มีจุดอยู่ 9 จุด จัดเรียงกันดังรูปข้างล่าง ให้ลากเส้นตรงผ่าน จุดทั้ง 9 โดยลากเส้นตรงเพียง 4 เส้น โดยต้องไม่ยกปลายดินสอ (หรือปากกา) ออกจากกระดาษ”
  • 32. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 4. การคิดละเอียดชัดเจน  การคิดละเอียดชัดเจน หมายถึง การคิดที่ให้ผลของการคิดที่มีรายละเอียดทั้งส่วนที่ เป็นหลักของเรื่องที่คิด และส่วนที่เป็นองค์ประกอบย่อยของหลักที่คิด โดยสามารถ อธิบายเรื่องที่ตนเองคิด หรือยกตัวอย่างที่สอดคล้องกับเรื่องที่ตนเองคิดได้  การฝึกเพื่อพัฒนาการคิดละเอียดชัดเจน สามารถทาได้โดยฝึกให้คิดวิเคราะห์ ละเอียด โดยวิเคราะห์จากองค์ประกอบหรือปัจจัยหลักสู่ส่วนประกอบย่อย ได้แก่ 1) ฝึกการเขียนแผนผัง 2) ฝึกขยายความ 3) ฝึกการวางแผนการจัดกิจกรรมตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด
  • 33. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ  ฝึกการเขียนแผนผัง โดยกาหนดเหตุการณ์ หรือสถานการณ์ขึ้น แล้วคิดถึงองค์ประกอบ ที่เกี่ยวข้องนามาเขียนเป็นแผนผัง แล้วจึง ขยายลงไปในรายละเอียดย่อยๆ แผนผังที่ ใช้มีหลายแบบเช่น แผนผังก้างปลา แผนผัง แบบ Mind map แผนภูมิเป็นต้น
  • 34. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ  ฝึกขยายความ โดยกาหนดสิ่งของ เหตุการณ์ สถานการณ์ขึ้นแล้วให้อธิบายเพิ่มเติม ให้วาดรูปประกอบ ให้สุภาษิต – คาพังเพย – อุปมาอุปไมย หรือยกตัวอย่าง ประกอบ  ตัวอย่างที่ 11 คาถามสาหรับการฝึกขยายความ  จงยกสุภาษิตที่บอกบุคลิกลักษณะทั่วไปของคนไทย……..  จงยกตัวอย่างประกอบ คนไทยชอบสนุก ไทยมุง……….
  • 35. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ  ฝึกการวางแผนการจัดกิจกรรมตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด โดยกาหนดงาน หรือ กาหนด จุดประสงค์ให้กระทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง แล้วให้วางแผนขั้นตอนการดาเนินงานดังกล่าว  ตัวอย่างที่ 12 คาถามหรือสถานการณ์ที่ฝึกการวางแผน  ถ้านักศึกษาจะลงทะเบียนเรียน นักศึกษาต้องทาอะไรบ้าง…..  ถ้านักศึกษาจะปลูกต้นไม้ จะมีขั้นตอนดาเนินอย่างไร……..
  • 36. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ  คุณค่าของการคิดละเอียดชัดเจน มีดังนี้ 1) เป็นการแสดงถึงความเข้าใจในเรื่องที่ตนเองคิด 2) สามารถช่วยให้ผู้อื่นเข้าใจเรื่องที่เราคิดได้ดีขึ้น 3) ช่วยให้มองเห็นองค์ประกอบหรือปัจจัยที่คิดทั้งในส่วนที่เป็นองค์ประกอบหรือ ปัจจัยหลักและในส่วนย่อย 4) ช่วยในการทางานในชีวิตประจาวันสาเร็จได้ง่ายขึ้น เพราะทางานอย่างมีขั้นตอน
  • 37. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 5. การคิดอย่างมีเหตุผล เป็นการคิดที่อ้างอิงหลักฐานมาสนับสนุนเพื่อให้ได้ข้อสรุปที่ ถูกต้อง  การฝึกเพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีเหตุผล สามารถทาได้โดยการฝึกให้ทาการสรุปจาก ข้อมูล ความรู้ ทฤษฎีที่กาหนดให้ ตัวอย่างแนวทางในการฝึกเพื่อพัฒนาการคิด อย่างมีเหตุผลได้แก่ 1. ฝึกสรุปจากข้อมูล 2. ฝึกการให้เหตุผลสนับสนุน-คัดค้าน 3. ฝึกคาดคะเนคาตอบ
  • 38. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 1. ฝึกสรุปจากข้อมูล โดยกาหนดข้อมูลซึ่งอาจเป็นข้อความ ความรู้ ตัวเลข รูปภาพ แล้วให้สรุป ซึ่งอาจสรุปได้โดยตรง หรืออาจต้องใช้ความสามารถทางสติปัญญา มาประกอบการคิดข้อสรุป  ตัวอย่างที่ 13 ข้อมูลสาหรับการฝึกสรุปจากข้อมูล o จากลาดับตัวเลข 1,3,5,7,9,…ตัวเลขต่อไปคืออะไร o ถ้า A และ B เป็นตัวเลข และ BA +A = AB แล้ว Aและ B คือเลขอะไร
  • 39. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 2. ฝึกการให้เหตุผลสนับสนุน-คัดค้าน โดยกาหนดข้อสรุป เหตุการณ์ หรือ สถานการณ์ขึ้น แล้วให้บอกเหตุผลเพื่อสนับสนุนหรือเหตุผลเพื่อคัดค้าน  ตัวอย่างที่ 14 คาถามหรือสถานการณ์ที่ฝึกการให้เหตุผลสนับสนุน – คัดค้าน o ให้เหตุผลสนับสนุนหรือคัดค้านสานวน “ไก่งามเพราะขนคนงามเหราะแต่ง” o ให้เหตุผลสนับสนุนหรือคัดค้าน เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า “ในสังคมไทย ผู้น้อยมักมี ความเคารพผู้อาวุโส”
  • 40. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ  ฝึกคาดคะเนคาตอบ โดยการให้ข้อมูล หรือความรู้ย่อยที่ยังไม่สมบูรณ์ แล้วให้ คาดคะเนคาตอบที่จะเป็นไปได้ (เรียกวิธีการนี้ว่า การตั้งสมมติฐาน เพื่อนาคาตอบ นี้ไปตรวจสอบความถูกต้องต่อไป)  ตัวอย่างที่ 15 ข้อมูล หรือความรู้ที่ฝึกการคาดคะเนคาตอบ o จอยเป็นนักศึกษาที่ชอบเล่นอินเตอร์เน็ต และชอบคุยโทรศัพท์กับเพื่อนในเวลา กลางคืน ปรากฏว่าจอยสอบตกในการสอบปลายภาค สาเหตุที่จอยสอบตกคืออะไร o แสงช่วยให้พืชปรุงอาหารได้ แสงสีอะไรช่วยให้พืชปรุงอาหารได้ดีที่สุด
  • 41. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ  คุณค่าของการคิดอย่างมีเหตุผล 1. คนมีเหตุผลสามารถอธิบายหรือชักชวนให้ผู้อื่นยอมรับหรือให้ความเชื่อถือ 2. คนมีเหตุผลสามารถได้ข้อสรุปที่มีโอกาสถูกต้องเป็นจริงมากขึ้น 3. การมีเหตุผลช่วยให้ไม่ตัดสินใจผลีผลามทันทีทันใด ทาให้มีการพิจารณาที่ รอบคอบมากขึ้น และการมีเหตุผลทาให้ไม่เชื่ออะไรอย่างงมงาย
  • 42. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 6. การคิดกว้างและคิดรอบคอบ หมายถึง การคิดที่คอบคลุมถึงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับ เรื่องที่คิดในทุกด้านทุกแงทุกมุมที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น  การฝึกเพื่อพัฒนาความคิดกว้างและรอบคอบ สามารถทาได้โดยการฝึกให้เป็นคนที่ มีความคิดรอบด้าน และเป็นคนที่คิดทุกแงทุกมุม ตัวอย่างแนวทางในการฝึกเพื่อ พัฒนาความคิดกว้างและรอบคอบ ได้แก่ 1. ฝึกระบุหรือบอกองค์ประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่จะคิด 2. ฝึกระบุผลหรือผลกระทบที่เกิด 3. ฝึกคาดคะเนความรู้สึกนึกคิดของบุคคลอื่น 4. ฝึกการคิดทุกแง่ทุกมุม
  • 43. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 1. ฝึกระบุหรือบอกองค์ประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่จะคิด โดยกาหนดสิ่งของเหตุการณ์ ขึ้น แล้วพยายามระบุองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่กาหนดนั้นในทุกด้าน ได้แก่ องค์ประกอบที่เป็นสาระโดยตรง องค์ประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ตนเอง คน อื่นๆ สังคม สิ่งแวดล้อม และศีลธรรม เป็นต้น  ตัวอย่างที่ 16 คาถามหรือสถานการณ์ที่ฝึกระบุหรือบอกองค์ประกอบ o ถ้านักศึกษาจะเลือกลงวิชาเลือกเสรี นักศึกษาต้องพิจารณาถึงองค์ประกอบอะไรบ้าง ในการตัดสินใจเลือกลงวิชานั้น
  • 44. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 2. ฝึกระบุผลหรือผลกระทบที่เกิด โดยกาหนดเหตุการณ์หรือสถานการณ์ขึ้นแล้ว พยายามบอกผล หรือผลกระทบที่เกิดขึ้นในทุกๆด้าน  ตัวอย่างที่ 17 เหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่ฝึกระบุผลหรือผลกระทบที่เกิด o ถ้าบุคคลในครอบครัวติดยาเสพย์ติด จะมีผลกระทบในด้านใดบ้าง และมีผลกระทบ อย่างไร
  • 45. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 3. ฝึกคาดคะเนความรู้สึกนึกคิดของบุคคลอื่น โดยกาหนดสถานการณ์หรือ เหตุการณ์เหตุการณ์ที่มีบุคคลหลายส่วนเข้าไปเกี่ยวข้อง และบอกความรู้สึกนึก คิดของผู้เกี่ยวข้องเหล่านั้น  ตัวอย่างที่ 18 สถานการณ์ที่ฝึกคาดคะเนความรู้สึกนึกคิดของบุคคลอื่น o การทุจริตในการสอบของนักศึกษา มีบุคคลใดเกี่ยวข้องบ้าง และบุคคลเหล่านี้น่าจะ มีความรู้สึกนึกคิดอย่างไรต่อการทุจริตในการสอบ
  • 46. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 4. ฝึกการคิดทุกแง่ทุกมุม โดยกาหนดสถานที่ สิ่งของหรือเหตุการณ์ต่างๆ ขึ้น แล้ว บอกข้อดีข้อเสีย หรือข้อที่น่าสังเกต น่าสนใจ ประโยชน์ – โทษ ผลบวก – ผล ลบ ข้อจากัดและขอบเขตของเรื่องที่กาหนดให้นั้น  ตัวอย่างที่ 19 เหตุการณ์ต่างๆ ที่ฝึกการคิดทุกแง่มุม o อาชีพครู มีข้อดี ข้อเสีย และข้อที่น่าสนใจอะไรบ้าง o การให้หุ่นยนต์มนุษย์ จะมีผลเกิดขึ้นอย่างไรบ้าง
  • 47. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ  คุณค่าของการคิดและรอบคอบ 1. ทาให้การตัดสินใจมีความถูกต้องมากขึ้น เพราะได้ข้อมูลจากทุกส่วนทุก องค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง 2. ทาให้เกิดความเข้าใจในเรื่องต่างๆได้ดีขึ้น ถูกต้องมากขึ้น
  • 48. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 7. การคิดไกล หมายถึง การคิดถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งอาจเป็นผลที่เกิดขึ้น จากการกระทาในปัจจุบัน หรือเป็นจุดประสงค์หรือจุดมุ่งหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้น ในอนาคต  การฝึกเพื่อพัฒนาการคิดไกล สามารถทาได้โดยการฝึกให้คิดในเรื่องเกี่ยวกับผลที่ จะเกิดขึ้นในอนาคต ตัวอย่างในการฝึกเพื่อพัฒนาการคิดไกล ได้แก่ 1. ฝึกให้คิดถึงผลที่จะเกิดขึ้นในอนาคต 2. ฝึกการวางแผน 3. ฝึกการพยากรณ์ 4. ฝึกการมองภาพอนาคต
  • 49. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 1. ฝึกให้คิดถึงผลที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดย  กาหนดการกระทา หรือสภาพการณ์ในปัจจุบัน แล้วให้พิจารณาว่าสิ่งที่กาหนดให้จะเป็น อย่างไรในอนาคต  กาหนดการกระทา หรือสภาพการณ์ในปัจจุบัน แล้วให้พิจารณาผลกระทบที่เกิดขึ้นใน อนาคตจากสิ่งที่กาหนดให้  ตัวอย่างที่ 20 สถานการณ์ที่ฝึกให้คิดถึงผลที่จะเกิดขึ้นในอนาคต o บุคคลที่ออกกาลังกายเป็นประจา รับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ สุขภาพในอนาคตจะ เป็นอย่างไร
  • 50. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 2. ฝึกการวางแผน โดยกาหนดหลักการ จุดมุ่งหมาย แล้วให้กาหนดขั้นตอนการ ปฏิบัติเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมาย  ตัวอย่างที่ 21 สถานการณ์ที่ฝึกการวางแผน o ถ้าต้องการจะออมเงินไว้สาหรับการศึกษาในอนาคต จะมีการวางแผนในการใช้เงิน อย่างไร
  • 51. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 3. ฝึกการพยากรณ์ โดยกาหนดสภาพการณ์ต่างๆที่สมมติว่าเป็นสภาพปัจจุบัน แล้ว ให้ใช้ความรู้กฎเกณฑ์ ข้อมูลที่มีอยู่ บอกคาตอบที่จะเป็นไปได้ในอนาคต  ตัวอย่างที่ 22 สถานการณ์ที่ฝึกการพยากรณ์ o ถ้าเกษตรกรใช้สารเคมีในการเพราะปลูกเป็นจานวนมาก จะมีผลกระทบต่อ สภาพแวดล้อมและชุมชนอย่างไร
  • 52. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 4. ฝึกการมองภาพอนาคต โดยให้บอกสภาพของสิ่งของต่างๆ ในอนาคตล่วงหน้า เป็นเวลา 5 ปี, 10 ปี,...40 ปี พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ  ตัวอย่างที่ 23 สถานการณ์ที่ฝึกการมองภาพอนาคต o ถ้าไม่ช่วยกันประหยัดไฟฟ้า อีก 10 ปีข้างหน้าจะเป็นอย่างไร
  • 53. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ  คุณค่าของการคิดไกล 1. ช่วยให้สิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเป็นสิ่งที่ดี เป็นการเตรียมสาหรับอนาคตที่ดี 2. เป็นการป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาในอนาคตหรือป้องกันให้เกิดปัญหาน้อยที่สุด
  • 54. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 8. การคิดลึกซึ้ง หมายถึง การคิดที่ทาให้เกิดความเข้าใจอย่างถูกต้องและลึกซึ้งกับ เรื่องที่คิด  การฝึกเพื่อพัฒนาการคิดลึกซึ้ง สามารถทาได้โดยฝึกตามการพัฒนาการคิดอย่างมี เหตุผล และฝึกตามการพัฒนาการคิดวิเคราะห์มีตัวอย่างการฝึกดังนี้ 1. ฝึกให้พิจารณาลาดับความสาคัญ 2. ฝึกให้พิจารณาลาดับก่อนหลัง 3. ฝึกให้วิเคราะห์และอธิบายความจริงที่อยู่เบื้องหลังปรากฏการณ์
  • 55. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 1. ฝึกให้พิจารณาลาดับความสาคัญ โดยการกาหนดสถานการณ์ให้วิเคราะห์ องค์ประกอบและให้ประเมินเปรียบเทียบเพื่อจัดลาดับความสาคัญของ องค์ประกอบที่วิเคราะห์ไว้  ตัวอย่างที่ 24 สถานการณ์ที่ฝึกให้พิจารณาลาดับความสาคัญ o ถ้านักศึกษาต้องการซื้อคอมพิวเตอร์ที่มีผู้ใช้แล้ว นักศึกษาต้องคานึงถึง องค์ประกอบอะไรบ้าง และองค์ประกอบที่สาคัญ 4 อันดับแรกคืออะไรบ้าง
  • 56. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 2. ฝึกให้พิจารณาลาดับก่อนหลัง โดยการกาหนดสถานการณ์ประเภทที่ต้องเลือก การปฏิบัติก่อนหลัง และให้พิจารณาความสาคัญและความจาเป็นของ องค์ประกอบต่างๆ ที่วิเคราะห์ได้จากสถานการณ์ต่างๆ ที่กาหนดให้  ตัวอย่างที่ 25 สถานการณ์ที่ฝึกให้พิจารณาลาดับก่อนหลัง o ถ้าต้องการสอบวิชาการคิดการตัดสินใจให้ได้เกรด A นักศึกษาต้องเตรียมตัวใน ด้านใดบ้าง มีสิ่งใดบ้างที่มีความสาคัญ 2 อันดับแรก และต้องปฏิบัติอะไรก่อนหลัง
  • 57. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 3. ฝึกให้วิเคราะห์และอธิบายความจริงที่อยู่เบื้องหลังปรากฏการณ์ โดยกาหนดสิ่งที่ ปรากฏขึ้นในสังคมหรือในชีวิตประจาวัน แล้วให้วิเคราะห์อธิบายถึงกฎเกณฑ์ สาเหตุที่ทาให้เกิดปรากฎการณ์นั้น  ตัวอย่างที่ 26 ให้นักศึกษาวิเคราะห์และอธิบายการเกิดปรากฏการณ์ดังต่อไปนี้ o นักศึกษาที่สาเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษาแล้ว มักจะเข้าไปทางานในเมืองหลวง มากกว่าทางานในบ้านเกิด
  • 58. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ  คุณค่าของการคิดลึกซึ้ง 1. ช่วยให้สามารถมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องที่ต้องการศึกษาอย่างลึกซึ้ง 2. สามารถหาข้อสรุปในเรื่องที่ซับซ้อนได้ 3. สามารถเลือกปฏิบัติกิจกรรมที่มีความสาคัญและจาเป็นตามลาดับก่อนหลังซึ่งทา ให้ประหยัดทรัพยากรต่างๆ และสามารถแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทันเวลา
  • 59. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 9. การคิดดี คิดถูกทาง หมายถึง การคิดที่ตรงจุดมุ่งหมาย คิดในแง่ที่ดีที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเอง ต่อส่วนรวม ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว  การฝึกเพื่อพัฒนาการคิดดี คิดถูกทาง สามารถทาได้โดยการฝึกให้คิดในแง่ต่างๆ ดังนี้ 1. ฝึกพิจารณาความสอดคล้องของการกระทา หลักการ และจุดประสงค์ 2. ฝึกพิจารณาถึงประโยชน์ส่วนตัว ส่วนรวมในระยะต่างๆ 3. ฝึกพิจารณาคุณค่า 4. ฝึกการคิดในแนวทางที่เร้าคุณธรรม
  • 60. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 1. ฝึกพิจารณาความสอดคล้องของการกระทา หลักการ และจุดประสงค์ ทาได้โดย  กาหนดหลักการและจุดมุ่งหมาย แล้วพิจารณาว่าการกระทาใดเป็นไปตามหลักการและ จุดมุ่งหมาย  กาหนดกิจกรรมหรือการกระทา แล้วพิจารณาว่ามีจุดมุ่งหมายที่ถูกต้องควรเป็นอย่างไร • ตัวอย่างที่ 27 หลักการหรือการกระทาที่ฝึกพิจารณาความสอดคล้องของการ กระทา หลักการและจุดประสงค์ o การจัดแข่งขันกีฬาเพื่อจุดประสงค์อะไร
  • 61. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 2. ฝึกพิจารณาถึงประโยชน์ส่วนตัว ส่วนรวมในระยะต่างๆ โดยกาหนดการกระทา แล้วให้พิจารณาประโยชน์หรือโทษที่เกิดขึ้น  ตัวอย่างที่ 28 การกระทาที่ฝึกพิจารณาถึงประโยชน์ส่วนตัว ส่วนรวมในระยะต่างๆ o การประหยัดน้ามีประโยชน์ต่อตนเอง ต่อส่วนรวมทั้งในปัจจุบันและอนาคตอย่างไร บ้าง
  • 62. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 3. ฝึกพิจารณาคุณค่า โดยกาหนดสิ่งของหรือกิจกรรมต่างๆ แล้วให้พิจารณาคุณ ค่าที่ถูกต้องของสิ่งที่กาหนดขึ้น  ตัวอย่างที่ 29 สิ่งของหรือกิจกรรมต่างๆ ที่ฝึกพิจารณาคุณค่า o โทรศัพท์มือมีคุณค่าที่สาคัญคืออะไร o วันครูมีคุณค่าที่สาคัญอย่างไร
  • 63. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ 4. ฝึกการคิดในแนวทางที่เร้าคุณธรรม โดยกาหนดสถานการณ์แล้วให้ฝึกพิจารณา แนวคิดที่เร้าคุณธรรม  ตัวอย่างที่ 30 สถานการณ์ที่ฝึกการคิดในแนวทางที่เร้าคุณธรรม o เมื่อเพื่อนที่อกหักและเสียใจมากมาพบนักศึกษา นักศึกษาจะให้คาแนะนาหรือ แนวคิดกับเพื่อนว่าอย่างไร
  • 64. ทักษะการคิด และลักษณะการคิดที่สาคัญที่ควรพัฒนาและ ฝึกฝน คือ  คุณค่าของการคิดดี คิดถูกทาง 1. ช่วยให้การกระทาหรือการปฏิบัติเป็นไปอย่างถูกต้อง และบรรลุจุดประสงค์มากขึ้น 2. เป็นการสกัดจุดเริ่มต้นของการประพฤติผิด ประพฤติมิชอบ 3. ช่วยให้การดาเนินชีวิตไปในทางที่ถูกต้อง งดงาม มีคุณค่า และเป็นประโยชน์ทั้งต่อ ตนเองและส่วนรวม
  • 65. การพัฒนากระบวนการคิด  กระบวนการ หมายถึง ขั้นตอน สิ่งใดที่มีลักษณะเป็นกระบวนการสิ่งนั้นจะประกอบไปด้วย ขั้นตอนของการดาเนินงาน เพื่อนาไปสู่เป้าหมายของกระบวนการนั้นๆ  กระบวนการคิด คือ ขั้นตอนในการคิดเพื่อให้ได้ความคิดที่ต้องการออกมา  กระบวนการคิดที่สาคัญๆ และมีความจาเป็นต่อการดารงชีวิตมีหลายกระบวนการ ดังต่อไปนี้ 1. การคิดสร้างสรรค์ 2. การคิดวิเคราะห์ 3. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ 4. การคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 5. การคิดทางคณิตศาสตร์ 6. การคิดทางการบริหารและการจัดการ
  • 66. ความหมายของการคิดสร้างสรรค์  การคิดสร้างสรรค์ (CreativeThinking) หมายถึง ความสามารถทางสมองของ บุคคลที่ประกอบด้วยความคิดคล่อง คิดยืดหยุ่น คิดละเอียดลออ และคิดริเริ่ม ผสมผสานกันจนเกิดเป็นการคิดได้หลายทิศทาง  เป็นการคิดที่ทาให้เกิดสิ่งใหม่ๆ หรือเป็นการดัดแปลงปรับปรุงแก้ไขสิ่งต่างๆ ที่มี อยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพดีกว่าเดิม หรือประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ๆ ที่ไม่ซ้าของเดิม และเป็นการคิดที่ไม่ซ้ากับผู้อื่น
  • 67. องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์ 1. ความคิดริเริ่ม (Originality) 2. ความคิดคล่องแคล่ว (Fluency) 3. ความคิดยืดหยุ่น (Flexibility) 4. ความคิดละเอียดลออ (Elaboration)
  • 68. กระบวนการคิดสร้างสรรค์  กระบวนการคิดสร้างสรรค์ หมายถึง วิธีการคิดหรือกระบวนการทางานของสมอง อย่างเป็นขั้นตอน และสามารถคิดแก้ปัญหาได้สาเร็จ เกิดขึ้นเมื่อบุคคลมุ่งคิดเพื่อ ไปสู่จุดมุ่งหมายที่แปลกใหม่ ขั้นตอนของกระบวนการคิดสร้างสรรค์มีดังนี้ คือ 1. การรับรู้และการเข้าใจ (Cognition) หมายถึง ความสามารถของสมองในการ เข้าใจสิ่งต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว 2. การจา (Memory) หมายถึง ความสามารถของสมองในการสะสมข้อมูลต่างๆ ที่ได้เรียนรู้ และสามารถระลึกออกมาได้ตามที่ต้องการ 3. การคิดแบบเอกนัย (Convergent Thinking) หมายถึงความสามารถของ สมองในการให้การตอบสนองที่ถูกต้องและดีที่สุดจากข้อมูลที่กาหนดให้ 4. การประเมินค่า (Evaluation) หมายถึงความสามารถของสมองในการตัดสิน ข้อมูลที่กาหนดให้ตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้
  • 69. การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์  แนวคิดในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์มีดังนี้ คือ 1. การเปิดใจกว้าง 2. การให้เวลาฟักความคิด 3. การมีอิสระเสรีในการแสดงออก 4. บรรยากาศที่เอื้ออานวยต่อความคิดสร้างสรรค์
  • 70. ประโยชน์ของการคิดสร้างสรรค์  การคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ทาให้เกิดนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ทาให้ สภาพความเป็นอยู่ของมนุษย์ดีขึ้นและมีความสุขเพิ่มมากขึ้น สาหรับประโยชน์ของ การคิดสร้างสรรค์สรุปได้ดังนี้ คือ 1. ความคิดสร้างสรรค์ช่วยให้สามารถแก้ปัญหาได้ 2. ความคิดสร้างสรรค์ก่อให้เกิดนวัตกรรมที่ไม่หยุดยั้ง 3. ความคิดสร้างสรรค์ช่วยให้ได้สิ่งที่ดีกว่าแทนสิ่งที่มีอยู่เดิม 4. ความคิดสร้างสรรค์เป็นองค์ประกอบสาคัญของความฉลาด
  • 71. ความหมายของการคิดวิเคราะห์  การคิดวิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะส่วนย่อยๆ ของเหตุการณ์ เรื่องราวหรือเนื้อเรื่องต่างๆ ว่าประกอบด้วยอะไร มีจุดมุ่งหมายหรือความประสงค์ สิ่งใด และส่วนย่อยๆ ที่สาคัญนั้นแต่ละเหตุการณ์เกี่ยวพันกันอย่างไรบ้าง และ เกี่ยวพันกันโดยอาศัยหลักการใด เพื่อให้เกิดความชัดเจนและความเข้าใจจน สามารถนาไปสู่การตัดสินใจได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  • 72. องค์ประกอบของกำรคิดวิเครำะห์ 1. ช่างสังเกต ช่างสงสัย ช่างใคร่ครวญ 2. ช่างซักไซ้ ช่างไต่ถาม ช่างแจกแจง 3. ช่างสืบค้น ช่างสะสม ช่างเรียนรู้ 4. ช่างคิด ช่างวิเคราะห์ ไม่อ้างว่าไม่มีเวลาคิด
  • 73. ประโยชน์ของการวิเคราะห์  การวิเคราะห์สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ในแง่มุมต่างๆ ช่วยให้เราเข้าใจ สาเหตุที่เกิดขึ้น ผลกระทบที่ตามมา และสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต อันนาไปสู่การแก้ไข ปัญหา การเตรียมการป้ องกัน การวางนโยบาย และการวางกลยุทธ์เพื่อมีโอกาสที่ดีกว่าใน อนาคต  การวิเคราะห์ข่าว ทาให้เราทราบเบื้องหน้าเบื้องหลังของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน ไม่ เพียงแต่จะรับรู้ว่ามีอะไรเกิดขึ้นเท่านั้น แต่ยังทราบอีกว่าเหตุใดจึงเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว และยังทาให้ทราบอีกว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจะส่งผลกระทบอย่างไร ซึ่งเป็นประโยชน์ในการ วางกลยุทธ์และป้องกันอย่างไรต่อไปได้  การวิเคราะห์บุคคล ช่วยทาให้เราเข้าใจว่าเหตุใดเขาจึงแสดงออกมาเช่นนั้น มีอะไรเป็น มูลเหตุจูงใจ สิ่งที่เขาแสดงออกมาจะส่งผลกระทบต่อเขาหรือผู้อื่นหรือไม่ อย่างไร ใน อนาคต และถ้ามูลเหตุเปลี่ยนพฤติกรรมของเขาจะเปลี่ยนไปด้วยหรือไม่  การวิเคราะห์วัตถุ สสารต่างๆ ทาให้เราทราบว่าสิ่งนั้นประกอบด้วยอะไรบ้าง แต่ละส่วน ช่วยทางานประสานเชื่อมโยงกันอย่างไร การรู้โครงสร้างและส่วนประกอบทาให้ นักวิทยาศาสตร์สามารถนาสารที่สกัดออกมานั้นไปใช้ประโยชน์ต่างๆ ได้อย่างอเนกอนันต์
  • 74. ความหมายของการคิดอย่างมีวิจารณญาณ  การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) หมายถึง การใช้ความคิดใน ลักษณะวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปัญหาโดยยึดหลักการคิดด้วยเหตุผล จากข้อมูลที่เป็นจริงมากกว่าอารมณ์ ที่ทาให้เกิดความลาเอียง ซึ่งจะมีผลเสียต่อการ ตัดสินใจ  ดังนั้นการคิดอย่างมีวิจารณญาณจึงเป็นความคิดที่เปิดกว้าง มีเป้ าหมายที่แน่นอน มี เหตุผล มีความถูกต้อง แม่นยา สามารถตรวจสอบความคิดและประเมินความคิด ของตนเองได้
  • 75. องค์ประกอบการคิดอย่างมีวิจารณญาณ มี 7 ประการ คือ 1. จุดมุ่งหมาย 2. ประเด็นคาถาม 3. สารสนเทศ 4. ข้อมูลเชิงประจักษ์ 5. แนวคิดอย่างมีเหตุผล 6. ข้อสันนิษฐาน 7. การนาไปใช้และผลที่จะตามมา
  • 76. กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 1. การกาหนดปัญหา 2. การรวบรวมข้อมูล 3. การจัดระบบข้อมูล 4. การตั้งสมมติฐาน 5. การสรุปอ้างอิงโดยใช้หลักการตรรกศาสตร์ 6. การประเมินสรุปอ้างอิง
  • 77. การพัฒนากระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ  การพัฒนากระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณสามารถทาได้โดยการสร้าง สถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่เป็นปัญหาในระดับที่ไม่สามารถใช้วิธีการใดวิธีการหนึ่ง แก้ไขทันที ต้องมีการประมวลข้อมูล ความรู้ หรือข้อคิดเห็นต่างๆ อย่างกว้างขวาง มาประกอบการพิจารณา เพื่อให้เกิดการคิดที่รอบคอบและสมเหตุสมผล
  • 78. ประโยชน์ของการคิดอย่างมีวิจารณญาณ  สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณในการตัดสินใจ  สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณในเรื่องเกี่ยวกับความรู้ การเรียนรู้ การสนทนา หรือ อภิปราย รวมไปถึงการแก้ปัญหาต่างๆ  ดังนั้นบุคคลที่มีการคิดอย่างมีวิจารณญาณย่อมมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ได้อย่างมีหลักการ สามารถควบคุม จัดการ และตรวจสอบความคิดตนเองได้ รวมทั้งสามารถตัดสินใจและแก้ปัญหาโดยการใช้เหตุผลอย่างถูกต้องเหมาะสม
  • 79. ความหมายของการคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  การคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง กระบวนการคิดที่ใช้ในการแก้ไข ปัญหา  ลาดับขั้นตอนของกระบวนการคิดนี้ได้มาจากการวิเคราะห์วิธีการค้นหาความรู้ของ นักวิทยาศาสตร์  หลักการของการคิดแบบนี้ คือ การคาดคะเนคาตอบ (สมมติฐาน) ของปัญหา และ การหาข้อมูลมาตรวจสอบว่าการคาดคะเนคาตอบนั้นถูกต้องหรือไม่
  • 80. กระบวนการคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1. ขั้นปัญหา เป็นการกาหนดปัญหาหรือระบุปัญหาให้ชัดเจน 2. ขั้นตั้งสมมติฐาน เป็นการคาดคะเนของคาตอบล่วงหน้าแต่เป็นการคาดคะเน อย่างมีเหตุผล 3. ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล เป็นขั้นตอนที่เก็บกับวิธีวางแผนในการหาข้อมูลมา เพื่อสรุปว่าสมมติฐานที่ตั้งไว้ถูกต้องหรือไม่ รวมทั้งหาข้อมูลตามแผนที่คิดไว้ ถ้า ปัญหาที่คิดเป็นเรื่องทางวิทยาศาสตร์การคิดในขั้นตอนนี้จะเป็นการคิดออกแบบ การทดลอง เพื่อจะเก็บข้อมูลที่ถูกต้องตรงกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ แต่ถ้าเป็นปัญหา อื่นอาจเก็บข้อมูลด้วยการค้นคว้าหรือรวบรวมด้วยวิธีการอื่น 4. ขั้นสรุปผล เมื่อทาการรวบรวมข้อมูลได้แล้ว ก็นาข้อมูลมาวิเคราะห์และสรุปเพื่อ ตรวจสอบว่าสมมติฐานที่ตั้งไว้ถูกต้องหรือไม่ ซึ่งการสรุปนี้จะเป็นคาตอบของ ปัญหาที่ตั้งไว้ในขั้นตอนที่ 1
  • 81. การพัฒนาการคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  การพัฒนาการคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สามารถทาได้โดยการสร้าง สถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่เป็นปัญหาในระดับที่ไม่สามารถใช้วิธีการใดวิธีการหนึ่ง แก้ไขทันที ลักษณะเด่นของสถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่เหมาะสมกับการคิดตาม กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ 1. สถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่มีคาตอบที่น่าเป็นไปได้อย่างน้อย 1 คาตอบ 2. การตรวจสอบคาตอบที่น่าเป็นไปได้ว่าถูกต้องหรือไม่ ต้องมีการรวบรวมข้อมูล (ซึ่งอาจเป็นข้อมูลเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ) 3. วิธีการรวบรวมข้อมูลอาจเป็นการทดลอง (ในกรณีเนื้อหาของปัญหาเป็นเรื่องทาง วิทยาศาสตร์) หรือเป็นเรื่องศึกษาค้นคว้าด้วยวิธีการอื่นอื่นก็ได้  การคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการแก้ปัญหาหรือการค้นคว้า หาความรู้ที่ใช้ได้กับเรื่องต่างๆ มากมาย ไม่เพียงเฉพาะวิทยาศาสตร์เท่านั้น
  • 82. ประโยชน์ของการคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  ทาให้ได้คาตอบในการแสวงหาความรู้ที่ถูกต้อง มีความน่าเชื่อถือเนื่องจากเป็น กระบวนการที่สามารถพิสูจน์ได้และเป็นที่ยอมรับในทุกๆ วงการ  อีกทั้งยังเป็นการพัฒนาองค์ความรู้ในเรื่องต่างๆ ทาให้เกิดสิ่งประดิษฐ์ใหม่ นวัตกรรม หรือเทคโนโลยีสมัยใหม่ต่างๆ เครื่องอานวยความสะดวกก็เป็นประโยชน์ ของกระบวนการคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นั่นเอง
  • 83. ความหมายของการคิดทางคณิตศาสตร์  การคิดทางคณิตศาสตร์ หมายถึง กระบวนการที่สรุปข้อเท็จจริงอย่างเที่ยงตรงโดย อาศัยชุดของข้อมูลมาประกอบ ทั้งนี้ต้องสร้างข้อคาดเดา ค้นหาวิธีการศึกษาหา ความรู้ ทดลอง เพื่อแก้ปัญหาหรือเพื่อสรุปคุณสมบัติหรือกฎเกณฑ์ แล้วตรวจสอบ ความถูกต้อง และอธิบายเพื่อยืนยันการสรุป ข้อสรุปเหล่านี้จะหลอมรวมเป็น แนวคิดใหม่  ธรรมชาติของคณิตศาสตร์เป็นวิชาเกี่ยวกับการคานวณ การแก้ปัญหาและการใช้ เหตุผล ดังนั้นควรทาความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของคณิตศาสตร์ ดังนี้ 1. คณิตศาสตร์มีลักษณะเป็นนามธรรม 2. คณิตศาสตร์มีความเป็นระบบ 3. คณิตศาสตร์เกี่ยวข้องกับการใช้เหตุผล
  • 84. การคิดทางคณิตศาสตร์ 1. การคิดขั้นระลึกได้ จะรวมทักษะการคิดซึ่งเป็นไปโดยอัตโนมัติตามธรรมชาติ และรวมทั้งข้อเท็จจริงเบื้องต้นทางเลขคณิต เช่น 3 x 2 = 6 แนวคิดเหล่านี้จะ ได้รับการสั่งสอนมาตั้งแต่วัยเด็กโดยผ่านกระบวนการศึกษา 2. การคิดขั้นพื้นฐาน จะรวมการเข้าใจแนวคิดทางคณิตศาสตร์ไว้ด้วย เช่น การบวก ลบ การคูณและการหาร รวมทั้งการจดจาบทประยุกต์ในปัญหาที่เรียนจาก โรงเรียนและเรียนจากชีวิตประจาวัน 3. การคิดขั้นวิจารณญาณ เป็นการคิดที่มีการตรวจสอบการมองความสัมพันธ์ การ ประเมินค่ารูปแบบต่างๆ ของการแก้ปัญหาหรือสถานการณ์ 4. การคิดสร้างสรรค์ เป็นจุดเริ่มต้นที่ก่อให้เกิดผลที่ซับซ้อน การคิดสร้างสรรค์เป็น สิ่งประดิษฐ์ การรู้แจ้งและการจินตนาการ
  • 85. การพัฒนาการคิดทางคณิตศาสตร์  เนื่องจากการคิดทางคณิตศาสตร์มีลาดับขั้นตอนการคิด 4 ขั้นตอน ดังนั้นการฝึก หรือการพัฒนาความคิดจึงควรมีทุกขั้นตอนสาหรับขั้นตอนการระลึกได้นั้นถ้า ต้องการให้ได้ผลจะต้องอาศัยคุณสมบัติต่อไปนี้ 1. เป็นนักสังเกตที่ดี 2. มีสมาธิในการเรียน 3. มีความสามารถสร้างความคิดรวบยอดได้ดี 4. มีความเป็นระเบียบ 5. มีความรอบคอบ 6. มีความอดทน 7. ชอบจุดบันทึก