SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 7
Downloaden Sie, um offline zu lesen
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน 5G
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นายภูบดินทร์ ธาราศักดิ์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เลขที่ 34
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
5G
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
5G
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายภูบดินทร์ ธาราศักดิ์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ช่วงนี้ใครหลายๆคนอาจได้ยินคาว่า 5G กันมาบ้าง แล้ว 5G คืออะไร? วันนี้เราจะมาหาคาตอบกัน 5G คือ
Generation ใหม่ของเทคโนโลยีเครือข่ายไร้สายที่จะมาแทนที่ระบบ 4G ที่เรากาลังใช้อยู่ในปัจจุบัน ซึ่งมันจะไม่
จากัดแค่มือถือเท่านั้น แต่รวมถึงอุปกรณ์ทุกชนิดที่เชื่อมอินเตอร์เน็ตได้ (Internet of Things หรือ IoT)
ก่อนจะไปถึง 5G ลองมาไล่เรียงเทคโนโลยีเครือข่ายไร้สายในแต่ละยุคกัน เริ่มจากในยุคแรก 1G เราพูดคุย
กันด้วยเสียงผ่านมือถือระบบอนาล็อก ต่อมาเราเริ่มส่งข้อความ MMS หากันในยุค 2G จนกระทั่งถึงจุดเปลี่ยนที่
สาคัญคือ เมื่อเข้าสู่ยุค 3G เราสามารถเชื่อมต่อและเล่นอินเตอร์เน็ตผ่านมือถือได้ด้วยความเร็วที่สูงขึ้น (อยู่ระหว่าง
220 Kbps ถึง 42.2 Mbps) จนเข้ามาถึงยุค 4G เราสามารถดูภาพ และเสียงหรือหนังออนไลน์ได้เนื่องจากมี
ความเร็วหลากหลายระดับให้เลือกใช้ ไม่ว่าจะเป็น 4G LTE (100 Mbps), LTE Advanced (1 Gbps) ตอนนี้คุณ
พร้อมหรือยัง? ที่จะก้าวเข้าสู่ยุค 5G
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ได้ความรู้เกี่ยวกับ5G
2.เพื่อเป็นแนวทางในการเข้าถึงเทคโนโลยีใหม่ๆ
ขอบเขตโครงงาน
1. 5G เหนือกว่า 4G อย่างไร?
2.ประโยชน์ของ 5G
3.การพัฒนาการของสัญญาณมือถือ
สมาชิกในกลุ่ม
1. นายภูบดินทร์ ธาราศักดิ์
หลักการและทฤษฎี
5G เหนือกว่า 4G อย่างไร?
ตอบสนองไวขึ้น สามารถสั่งงาน และควบคุมสิ่งต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว หรือเรียกว่าแทบจะทันที เนื่องจาก
มีความหน่วงที่ต่า ตอบสนองได้ไวถึง 1 ส่วนพันวินาที รองรับการ รับ-ส่ง ข้อมูลได้มากกว่า ถ้าเป็น 4G จะสามารถ
รับ-ส่ง ข้อมูลได้ราว 7.2 Exabytes ต่อเดือน แต่สาหรับ 5G จะเพิ่มขึ้นราว 7 เท่า หรือ 50 Exabytes ต่อเดือน
เร็วแรงกว่าเดิม 5G มีความเร็วมากกว่า 4G ถึง 20 เท่า ซึ่งเร็วมากพอที่จะดูวิดีโอ 8K ออนไลน์แบบ 3 มิติ หรือ
ดาวน์โหลดภาพยนตร์ 3 มิติ ได้ในภาย 6 วินาที ความถี่ให้เลือกใช้มากกว่า 5G จะสามารถใช้งานคลื่นความถี่ได้
จนถึง 30GHz ซึ่งเป็นความถี่ย่านใหม่ที่ไม่เคยมีการใช้งานมาก่อน รองรับการใช้งานที่มากกว่า รองรับจานวน
ผู้ใช้งานเพิ่มขึ้น 10 เท่า จากที่สามารถรับคนได้ราว 1 แสนคนต่อพื้นที่ 1 ตร.กม. กลายเป็น 1 ล้านคนต่อพื้นที่ 1
ตร.กม.
ประโยชน์ของ 5G
สาหรับคุณสมบัติหลักเด่นชัดของ 5G ที่เห็นได้ชัดเลยคงเป็นเรื่องของคุณภาพการรับชมวีดีโอ หรือการเล่น
เกมส์ออนไลน์ ที่ช่วยให้ผู้ใช้บริการได้สัมผัสกับคุณภาพความคมชัด และความรวดเร็วเทียบเท่ากับการใช้งานผ่าน
โครงข่ายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic) หรือการที่สามารถทางานและเข้าถึงข้อมูลทุกอย่างที่อยู่บน Cloud ไม่ว่าจะ
รูปแบบภาพ หรือวิดีโอ ได้แบบทันทีที่ต้องการ รวมถึงการพัฒนาเทคโนโลยีให้มีความเร็วในการดาวน์โหลดและอัพ
โหลดที่สูงกว่าเทคโนโลยี 4G อีกด้วย
นอกจากนี้ เทคโนโลยี 5G ยังถูกออกแบบมาเพื่อรองรับการเชื่อมต่อจานวนมากๆ ผ่านอินเตอร์เน็ต หรือที่
เรียกกันว่า IoT อาทิ รถยนต์ไร้คนขับ การผ่าตัดได้จากระยะไกล หุ่นยนต์ในโรงงาน สิ่งเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงการ
เพิ่มประสิทธิภาพในการทางานซึ่งถือว่ามีความเร็วมากกว่าเทคโนโลยี 4G เกิน 10 เท่า รวมถึงช่วยให้เกิดการใช้
งาน AR และ VR ในกิจกรรมต่างๆ อาทิ การสารวจภาคสนาม การสาธารณสุขทางไกล ความบันเทิง และท่อส่ง
ข้อมูลขนาดใหญ่เพื่อใช้ในการเข้าถึงการใช้งาน Cloud Computing ซึ่ง 5G ช่วยพัฒนาศักยภาพของระบบค้าปลีก
การซื้อของออนไลน์ รวมถึงการใช้งานต่างๆ ของออฟฟิศอัจฉริยะ (Smart Office) และนาไปสู่ระบบเมืองอัจฉริยะ
(Smart Cities) ในอนาคต
การพัฒนาการของสัญญาณมือถือ
1G
ระบบ: ใช้ระบบ Analog คือใช้สัญญาณวิทยุในการส่งคลื่นเสียง
การใช้งาน: ด้าน Voice ได้อย่างเดียว คือ โทรออก-รับสาย เท่านั้น ไม่มีการรองรับการใช้งานด้าน Data ใดๆ
ทั้งสิ้น แม้แต่การรับ-ส่ง SMS
2G
ระบบ: เปลี่ยนจากการส่งคลื่นทางคลื่นวิทยุแบบ Analog มาเป็นการเข้ารหัส Digital ส่งทางคลื่น Microwave
เทคโนโลยี: เกิดการกาหนดเส้นทางการเชื่อมกับสถานีฐานหรือที่เรียกว่า Cell Site ก่อให้เกิด ระบบ GSM
(Global System for Mobilization) ซึ่งทาให้เราสามารถถือโทรศัพท์เครื่องเดียวไปใช้ได้เกือบทั่วโลก หรือที่
เรียกว่า Roaming
Data Rate: 64 kbps
การใช้งาน: สามารถรับ-ส่งข้อมูลต่างๆและติดต่อเชื่อมโยงได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นเรื่อยๆ การส่ง SMS คือ
จุดเริ่มของการใช้งานข้อมูลบนมือถือ เริ่มฮิตดาวน์โหลด Ringtone, Wallpaper, Graphic ต่างๆ แต่เป็นริงโทน
แบบ Monotone และ ภาพกราฟิกต่างๆ ก็เป็นเพียงแค่ภาพขาว-ดาที่มีความละเอียดต่าเท่านั้น
2.5G
เทคโนโลยี: เป็นยุคที่กาเนิดเทคโนโลยี GPRS (General Packet Radio Service)
Speed: ตามหลักการแล้ว เทคโนโลยี GPRS นี้สามารถส่งข้อมูลแบบแพคเก็ตได้ที่ความเร็วสูงสุดถึง 115 Kbps
(1G ส่งข้อมูลได้ 9 Kbps ต่อวินาที) แต่ในบ้านเราใช้ได้แค่ 20-40 Kbps ต่อวินาทีเท่านั้น
การใช้งาน: มีการพัฒนาให้เครื่องมือสื่อสารมีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้ โทรศัพท์เคลื่อนที่ได้เพิ่มฟังก์ชั่นการรับส่ง
ข้อมูลในส่วนของ MMS (Multimedia Messaging Service) แต่ยุคนี้ยังเป็นอินเตอร์เน็ตความเร็วต่า ดาวโหลดได้
ช้าและได้จานวนน้อย ซึ่งเราจะเห็นตัวอย่างง่ายๆ จากโทรศัพท์มือถือที่เป็นสีรุ่นแรกๆ นั่นเอง ริงโทนก็ถูกพัฒนาให้
เป็นเสียงแบบ Polyphonic และเข้ามาสู่ยุคที่เสียงเรียกเข้าเป็นแบบ MP3 ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้
2.75G
เทคโนโลยี: เริ่มใช้เทคโนโลยี EDGE (Enhanced Data rates for Global Evolution) ต่อยอดจากการพัฒนาของ
GPRS ลักษณะการทางานจะเป็นการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพความเร็วจากพื้นฐานของ GPRS ให้
Speed: เล่นอินเทอร์เน็ตบนมือถือได้ด้วยความเร็ว 70 - 180 kbps
การใช้งาน: รองรับริงโทนแบบไฟล์ MP3 รายละเอียดเพิ่มเติม
3G
ลักษณะ: คุณสมบัติ Always On กล่าวคือ มีการเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายของ 3G ตลอดเวลาที่เราเปิดใช้งาน
โทรศัพท์โดยไม่จาเป็นต้องเชื่อมต่อและล็อกอินเข้าเครือข่ายข้อมูลเหมือน GPRS การคิดค่าบริการจะเกิดขึ้นเมื่อมี
การเรียกใช้ข้อมูลผ่านเครือข่ายเท่านั้น แตกต่างกับระบบทั่วไปที่จะเสียค่าบริการตั้งแต่ Login เข้าในระบบ
เครือข่าย
เทคโนโลยี: UMTS
WCDMA (Wideband Code Division Multiple Access) is an air interface standard คือระบบเครือข่าย
มาตรฐานใหม่ที่พัฒนามาจาก GSM ซึ่งเป็นรุ่นที่ 3 ต่อจากระบบ GSM หรือ 3G นั่นเอง เครื่องไหนที่รับรองรับ
เครือข่าย WCDMA ก็หมายความว่ารองรับ 3G ส่วน WCDMA นั้นไม่เหมือนกันกับ CDMA และใช้ร่วมกันไม่ได้
เครื่องมือถือที่รองรับสัญญาณเครือข่ายแบบ CDMA ไม่สามารถรับสัญญาณเครือข่ายแบบ WCDMA ได้ และ
ในทางกลับกัน เครื่องที่รองรับ WCDMA ก็ไม่สามารถรองรับ CDMA ได้เช่นกัน (เครื่องที่รองรับ CDMA แทบ
ทั้งหมดจะไม่รองรับ WCDMA อีกด้วยครับ)
UMTS(Universal Mobile Telecommunications System) คือเทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในมาตรฐาน 3G ที่
ส่งผ่านสัญญาณเครือข่ายแบบ WCDMA มีความเร็วสูงสุดอยู่แค่เพียง 384kbps เท่านั้น
HSDPA (High-Speed Downlink Packet Access)คือเทคโนโลยีการรับข้อมูล ที่พัฒนามาจาก UMTS และนี่ทา
ให้ 3G มีความแตกต่างเพราะ การรับข้อมูลแบบ HSDPA สามารถรับความเร็วสูงสุดได้ ถึง 14.4
Mbps(Downlink) ซึ่งความเร็วนั้นก็ขึ้นอยู่กับตัวมือถือและทางผู้ให้บริการระบบเครือข่าย ด้วยว่าจะให้ความเร็วอยู่
ที่เท่าไร (ประเทศไทยคาดว่าจะให้ความเร็วอยู่ที่ 7.2 Mbps) ใครที่กาลังเลือกซื้อมือถือ 3G เพื่อมาใช้เล่นInternet
ก็ต้องคอยมองดูด้วย ว่ารองรับ HSDPA หรือไม่
HSUPA (High-Speed Uplink Packet Access) คือเทคโนโลยีการส่งข้อมูลที่พัฒนามาจาก UMTS เช่นกัน ซึ่ง
ตอนนี้ความเร็วสูงสุดในในการส่งข้อมูลคือ 5.76 Mbps (uplink) (Internet ตามบ้านส่วนใหญ่ความเร็วในการส่ง
ข้อมูลจะอยู่ที่ 512 Kbps) ไม่ว่าการรับข้อมูลจะเร็วแค่ไหนก็ตาม
HSPA (High-Speed Packet Access) คือการรวม HSDPA และ HSUPA เข้าด้วยกัน เรียกรวมๆกันว่าเป็น HSPA
ทาให้ได้ประสิทธิภาพทั้งรับ-ส่ง ที่ดีกว่า Credit
HSPA+ ความเร็วสูงสุด 42Mbps (H+)
Speed: ปัจจุบันอยู่ที่ Download 14.4 Mbps / Upload 384 Kbps ต่อวินาที ในอนาคตมีแนวโน้มว่าอัตราการ
ดาวและอัพโหลดข้อมูลจะมากถึง 42 Mbps ต่อวินาทีเลยที่เดียว A minimum data rate of 2 Mbit/s for
stationary or walking users, and 384 kbit/s in a moving vehicle, 144kbps- 2Mbps
การใช้งาน: ยุคที่โทรศัพท์มือถือกลายเป็นสมาร์ทโฟนอย่างเต็มรูปแบบ สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงด้วย
เทคโนโลยีอย่าง HSPA (หรือที่เราเห็นไอคอน H บนจอมือถือ) ระบบภาพและเสียงที่มีประสิทธิภาพสมจริง
สามารถประชุมทางไกลร่วมกันเพียงผ่านเครื่องมือสื่อสาร
4G
ลักษณะ: Combination of wi-fi and wi-max
Speed: 100Mbps – 1Gbps
เทคโนโลยี: LTE (Long term Evolution) เป็นหนึ่งมาตรฐานจากกลุ่ม 3GPP ซึ่งความหมายเดิมทางวิศวกรรมของ
LTE นั้นจริงๆก็คือยุค 3.9G แต่ในต่างประเทศบรรดาผู้ผลิตโทรศัพท์มือถือ-โอเปอเรเตอร์ก็มักจะเรียกแทนให้ LTE
เป็น 4G นั่นเอง เป็นเทคโนโลยีการส่งข้อมูลที่ให้ความเร็วเหนือกว่า 3G ในปัจจุบันถึง 10 เท่า ซึ่งถือเป็นการ
พัฒนาการอีกขั้นต่อจาก 3G รวมไปถึงได้ถูกสร้างอยู่บนพื้นฐานของ GSM, GPRS,EDGE และ WCDMA รวมถึง
HSPA อีกด้วย โดยคุณสมบัติของ 4G LTE นั้นจะกระจายสัญญาณบนความถี่ 1800 MHz และ 2300 MHz (20
ช่องสัญญาณ) ซึ่งตามทฤษฎี 4G LTE แบ่งเป็น 2 ชื่อมาตรฐาน คือ
4G LTE ที่สามารถอัพโหลด 50 Mbps และดาวน์โหลด 100 Mbps
LTE Advance ที่สามารถอัพโหลด 500 Mbps และดาวน์โหลด 1Gbps
การใช้งาน: ตอบสนองการใช้งานผ่านอินเตอร์เน็ตไร้สายให้ดีขึ้น ทาให้เรานั้นสามารถส่งรับข้อมูลได้รวดเร็วกว่าเดิม
และสามารถใช้โปรแกรมมัลติมีเดียได้อย่างเต็มที่ เช่น การสนทนาผ่านโปรแกรม Video Conference ในระดับ
ความคมชัดแบบ HD ดูหนังออนไลน์หรือฟังเพลงไม่สะดุด และยังสามารถอัพโหลดหรือดาวน์โหลดข้อมูลที่มีขนาด
ไฟล์ใหญ่ๆได้อย่างรวดเร็วอีกด้วย
นั่นคือทางผู้ให้บริการไม่ว่าจะ AIS เอย DTAC เอย Truemove-H เอย เวลาจะให้บริการ 2G 3G 4G พวกนี้ก็ต้อง
ไปเปลี่ยนอุปกรณ์ส่งสัญญาณที่เสาของเขา และทางเราก็ต้องมีมือถือที่รองรับด้วยครับ พูดง่ายๆคือถ้าทางผู้ให้
บริการติดตั้งเครื่องส่งสัญญาณแบบ LTE ขึ้นมามือถือในเมืองไทยที่เราใช้กันทุกวันนี้ ก็จะยังรับ 4G ไม่ได้ถ้า
โทรศัพท์ไม่รองรับ
5G
Speed: สามารถรับส่งข้อมูลได้เร็วถึง 20 Gbps มากกว่า 4G ถึง 20 เท่า (4G มีมาตรฐานอยู่ที่ 1Gbps) ส่วน
ความเร็วถ้าได้ใช้จริงๆอาจจะไม่ถึง 20 Gbps เต็มความสามารถก็ขึ้นอยู่กับหลายๆ ปัจจัยด้วย เช่น พื้นที่ สภาพ
อากาศ อุปกรณ์
การใช้งาน: อาจจะมีการเริ่มใช้งานจริงในปี 2020 ในอนาคตเราจะสามารถโหลดไฟล์วีดีโอแบบ HD ที่มีไฟล์ขนาด
7.5 GB ได้ภายใน 1 วินาที อีกหน่อยหมออาจจะสามารถผ่าตัดทางไกลได้โดยการดูคลิปแล้วแนะนาคุณหมอใน
โรงพยาบาลที่กันดารแบบ Real Time
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
คอมพิวเตอร์
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้าคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
สถานที่ดาเนินการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Nattapon
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานอรยา ม่วงมนตรี
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตguest31bfdc
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์Rungnapa Tamang
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77Tophit Sampootong
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายTum WinNing
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200เค้ก
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2อรยา ม่วงมนตรี
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkkamol
 

Was ist angesagt? (16)

รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 

Ähnlich wie Phu

ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่  3ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่  3
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3jeabjeabloei
 
บทที่ 2 (1)
บทที่ 2 (1)บทที่ 2 (1)
บทที่ 2 (1)nopphanut
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกรัสนา สิงหปรีชา
 
ประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบัน
ประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบันประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบัน
ประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบันjamejudy
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404Wanz Buranakanonda
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์Por Oraya
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1chaiya5329
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 

Ähnlich wie Phu (20)

ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่  3ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่  3
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3
 
บทที่ 2 (1)
บทที่ 2 (1)บทที่ 2 (1)
บทที่ 2 (1)
 
3 g technology
3 g technology3 g technology
3 g technology
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
 
เทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 gเทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 g
 
4 g
4 g4 g
4 g
 
7
77
7
 
ประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบัน
ประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบันประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบัน
ประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบัน
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
4wire-wireless.ppt
4wire-wireless.ppt4wire-wireless.ppt
4wire-wireless.ppt
 
4wire-wireless.ppt
4wire-wireless.ppt4wire-wireless.ppt
4wire-wireless.ppt
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
งาน 1
งาน 1งาน 1
งาน 1
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
 
อุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสารอุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสาร
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 

Phu

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน 5G ชื่อผู้ทาโครงงาน นายภูบดินทร์ ธาราศักดิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เลขที่ 34 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) 5G ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) 5G ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นายภูบดินทร์ ธาราศักดิ์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ช่วงนี้ใครหลายๆคนอาจได้ยินคาว่า 5G กันมาบ้าง แล้ว 5G คืออะไร? วันนี้เราจะมาหาคาตอบกัน 5G คือ Generation ใหม่ของเทคโนโลยีเครือข่ายไร้สายที่จะมาแทนที่ระบบ 4G ที่เรากาลังใช้อยู่ในปัจจุบัน ซึ่งมันจะไม่ จากัดแค่มือถือเท่านั้น แต่รวมถึงอุปกรณ์ทุกชนิดที่เชื่อมอินเตอร์เน็ตได้ (Internet of Things หรือ IoT) ก่อนจะไปถึง 5G ลองมาไล่เรียงเทคโนโลยีเครือข่ายไร้สายในแต่ละยุคกัน เริ่มจากในยุคแรก 1G เราพูดคุย กันด้วยเสียงผ่านมือถือระบบอนาล็อก ต่อมาเราเริ่มส่งข้อความ MMS หากันในยุค 2G จนกระทั่งถึงจุดเปลี่ยนที่ สาคัญคือ เมื่อเข้าสู่ยุค 3G เราสามารถเชื่อมต่อและเล่นอินเตอร์เน็ตผ่านมือถือได้ด้วยความเร็วที่สูงขึ้น (อยู่ระหว่าง 220 Kbps ถึง 42.2 Mbps) จนเข้ามาถึงยุค 4G เราสามารถดูภาพ และเสียงหรือหนังออนไลน์ได้เนื่องจากมี ความเร็วหลากหลายระดับให้เลือกใช้ ไม่ว่าจะเป็น 4G LTE (100 Mbps), LTE Advanced (1 Gbps) ตอนนี้คุณ พร้อมหรือยัง? ที่จะก้าวเข้าสู่ยุค 5G วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ได้ความรู้เกี่ยวกับ5G 2.เพื่อเป็นแนวทางในการเข้าถึงเทคโนโลยีใหม่ๆ ขอบเขตโครงงาน 1. 5G เหนือกว่า 4G อย่างไร? 2.ประโยชน์ของ 5G 3.การพัฒนาการของสัญญาณมือถือ สมาชิกในกลุ่ม 1. นายภูบดินทร์ ธาราศักดิ์
  • 3. หลักการและทฤษฎี 5G เหนือกว่า 4G อย่างไร? ตอบสนองไวขึ้น สามารถสั่งงาน และควบคุมสิ่งต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว หรือเรียกว่าแทบจะทันที เนื่องจาก มีความหน่วงที่ต่า ตอบสนองได้ไวถึง 1 ส่วนพันวินาที รองรับการ รับ-ส่ง ข้อมูลได้มากกว่า ถ้าเป็น 4G จะสามารถ รับ-ส่ง ข้อมูลได้ราว 7.2 Exabytes ต่อเดือน แต่สาหรับ 5G จะเพิ่มขึ้นราว 7 เท่า หรือ 50 Exabytes ต่อเดือน เร็วแรงกว่าเดิม 5G มีความเร็วมากกว่า 4G ถึง 20 เท่า ซึ่งเร็วมากพอที่จะดูวิดีโอ 8K ออนไลน์แบบ 3 มิติ หรือ ดาวน์โหลดภาพยนตร์ 3 มิติ ได้ในภาย 6 วินาที ความถี่ให้เลือกใช้มากกว่า 5G จะสามารถใช้งานคลื่นความถี่ได้ จนถึง 30GHz ซึ่งเป็นความถี่ย่านใหม่ที่ไม่เคยมีการใช้งานมาก่อน รองรับการใช้งานที่มากกว่า รองรับจานวน ผู้ใช้งานเพิ่มขึ้น 10 เท่า จากที่สามารถรับคนได้ราว 1 แสนคนต่อพื้นที่ 1 ตร.กม. กลายเป็น 1 ล้านคนต่อพื้นที่ 1 ตร.กม. ประโยชน์ของ 5G สาหรับคุณสมบัติหลักเด่นชัดของ 5G ที่เห็นได้ชัดเลยคงเป็นเรื่องของคุณภาพการรับชมวีดีโอ หรือการเล่น เกมส์ออนไลน์ ที่ช่วยให้ผู้ใช้บริการได้สัมผัสกับคุณภาพความคมชัด และความรวดเร็วเทียบเท่ากับการใช้งานผ่าน โครงข่ายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic) หรือการที่สามารถทางานและเข้าถึงข้อมูลทุกอย่างที่อยู่บน Cloud ไม่ว่าจะ รูปแบบภาพ หรือวิดีโอ ได้แบบทันทีที่ต้องการ รวมถึงการพัฒนาเทคโนโลยีให้มีความเร็วในการดาวน์โหลดและอัพ โหลดที่สูงกว่าเทคโนโลยี 4G อีกด้วย นอกจากนี้ เทคโนโลยี 5G ยังถูกออกแบบมาเพื่อรองรับการเชื่อมต่อจานวนมากๆ ผ่านอินเตอร์เน็ต หรือที่ เรียกกันว่า IoT อาทิ รถยนต์ไร้คนขับ การผ่าตัดได้จากระยะไกล หุ่นยนต์ในโรงงาน สิ่งเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงการ เพิ่มประสิทธิภาพในการทางานซึ่งถือว่ามีความเร็วมากกว่าเทคโนโลยี 4G เกิน 10 เท่า รวมถึงช่วยให้เกิดการใช้ งาน AR และ VR ในกิจกรรมต่างๆ อาทิ การสารวจภาคสนาม การสาธารณสุขทางไกล ความบันเทิง และท่อส่ง ข้อมูลขนาดใหญ่เพื่อใช้ในการเข้าถึงการใช้งาน Cloud Computing ซึ่ง 5G ช่วยพัฒนาศักยภาพของระบบค้าปลีก การซื้อของออนไลน์ รวมถึงการใช้งานต่างๆ ของออฟฟิศอัจฉริยะ (Smart Office) และนาไปสู่ระบบเมืองอัจฉริยะ (Smart Cities) ในอนาคต การพัฒนาการของสัญญาณมือถือ 1G ระบบ: ใช้ระบบ Analog คือใช้สัญญาณวิทยุในการส่งคลื่นเสียง การใช้งาน: ด้าน Voice ได้อย่างเดียว คือ โทรออก-รับสาย เท่านั้น ไม่มีการรองรับการใช้งานด้าน Data ใดๆ ทั้งสิ้น แม้แต่การรับ-ส่ง SMS 2G ระบบ: เปลี่ยนจากการส่งคลื่นทางคลื่นวิทยุแบบ Analog มาเป็นการเข้ารหัส Digital ส่งทางคลื่น Microwave
  • 4. เทคโนโลยี: เกิดการกาหนดเส้นทางการเชื่อมกับสถานีฐานหรือที่เรียกว่า Cell Site ก่อให้เกิด ระบบ GSM (Global System for Mobilization) ซึ่งทาให้เราสามารถถือโทรศัพท์เครื่องเดียวไปใช้ได้เกือบทั่วโลก หรือที่ เรียกว่า Roaming Data Rate: 64 kbps การใช้งาน: สามารถรับ-ส่งข้อมูลต่างๆและติดต่อเชื่อมโยงได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นเรื่อยๆ การส่ง SMS คือ จุดเริ่มของการใช้งานข้อมูลบนมือถือ เริ่มฮิตดาวน์โหลด Ringtone, Wallpaper, Graphic ต่างๆ แต่เป็นริงโทน แบบ Monotone และ ภาพกราฟิกต่างๆ ก็เป็นเพียงแค่ภาพขาว-ดาที่มีความละเอียดต่าเท่านั้น 2.5G เทคโนโลยี: เป็นยุคที่กาเนิดเทคโนโลยี GPRS (General Packet Radio Service) Speed: ตามหลักการแล้ว เทคโนโลยี GPRS นี้สามารถส่งข้อมูลแบบแพคเก็ตได้ที่ความเร็วสูงสุดถึง 115 Kbps (1G ส่งข้อมูลได้ 9 Kbps ต่อวินาที) แต่ในบ้านเราใช้ได้แค่ 20-40 Kbps ต่อวินาทีเท่านั้น การใช้งาน: มีการพัฒนาให้เครื่องมือสื่อสารมีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้ โทรศัพท์เคลื่อนที่ได้เพิ่มฟังก์ชั่นการรับส่ง ข้อมูลในส่วนของ MMS (Multimedia Messaging Service) แต่ยุคนี้ยังเป็นอินเตอร์เน็ตความเร็วต่า ดาวโหลดได้ ช้าและได้จานวนน้อย ซึ่งเราจะเห็นตัวอย่างง่ายๆ จากโทรศัพท์มือถือที่เป็นสีรุ่นแรกๆ นั่นเอง ริงโทนก็ถูกพัฒนาให้ เป็นเสียงแบบ Polyphonic และเข้ามาสู่ยุคที่เสียงเรียกเข้าเป็นแบบ MP3 ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้ 2.75G เทคโนโลยี: เริ่มใช้เทคโนโลยี EDGE (Enhanced Data rates for Global Evolution) ต่อยอดจากการพัฒนาของ GPRS ลักษณะการทางานจะเป็นการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพความเร็วจากพื้นฐานของ GPRS ให้ Speed: เล่นอินเทอร์เน็ตบนมือถือได้ด้วยความเร็ว 70 - 180 kbps การใช้งาน: รองรับริงโทนแบบไฟล์ MP3 รายละเอียดเพิ่มเติม 3G ลักษณะ: คุณสมบัติ Always On กล่าวคือ มีการเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายของ 3G ตลอดเวลาที่เราเปิดใช้งาน โทรศัพท์โดยไม่จาเป็นต้องเชื่อมต่อและล็อกอินเข้าเครือข่ายข้อมูลเหมือน GPRS การคิดค่าบริการจะเกิดขึ้นเมื่อมี การเรียกใช้ข้อมูลผ่านเครือข่ายเท่านั้น แตกต่างกับระบบทั่วไปที่จะเสียค่าบริการตั้งแต่ Login เข้าในระบบ เครือข่าย เทคโนโลยี: UMTS WCDMA (Wideband Code Division Multiple Access) is an air interface standard คือระบบเครือข่าย มาตรฐานใหม่ที่พัฒนามาจาก GSM ซึ่งเป็นรุ่นที่ 3 ต่อจากระบบ GSM หรือ 3G นั่นเอง เครื่องไหนที่รับรองรับ เครือข่าย WCDMA ก็หมายความว่ารองรับ 3G ส่วน WCDMA นั้นไม่เหมือนกันกับ CDMA และใช้ร่วมกันไม่ได้ เครื่องมือถือที่รองรับสัญญาณเครือข่ายแบบ CDMA ไม่สามารถรับสัญญาณเครือข่ายแบบ WCDMA ได้ และ
  • 5. ในทางกลับกัน เครื่องที่รองรับ WCDMA ก็ไม่สามารถรองรับ CDMA ได้เช่นกัน (เครื่องที่รองรับ CDMA แทบ ทั้งหมดจะไม่รองรับ WCDMA อีกด้วยครับ) UMTS(Universal Mobile Telecommunications System) คือเทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในมาตรฐาน 3G ที่ ส่งผ่านสัญญาณเครือข่ายแบบ WCDMA มีความเร็วสูงสุดอยู่แค่เพียง 384kbps เท่านั้น HSDPA (High-Speed Downlink Packet Access)คือเทคโนโลยีการรับข้อมูล ที่พัฒนามาจาก UMTS และนี่ทา ให้ 3G มีความแตกต่างเพราะ การรับข้อมูลแบบ HSDPA สามารถรับความเร็วสูงสุดได้ ถึง 14.4 Mbps(Downlink) ซึ่งความเร็วนั้นก็ขึ้นอยู่กับตัวมือถือและทางผู้ให้บริการระบบเครือข่าย ด้วยว่าจะให้ความเร็วอยู่ ที่เท่าไร (ประเทศไทยคาดว่าจะให้ความเร็วอยู่ที่ 7.2 Mbps) ใครที่กาลังเลือกซื้อมือถือ 3G เพื่อมาใช้เล่นInternet ก็ต้องคอยมองดูด้วย ว่ารองรับ HSDPA หรือไม่ HSUPA (High-Speed Uplink Packet Access) คือเทคโนโลยีการส่งข้อมูลที่พัฒนามาจาก UMTS เช่นกัน ซึ่ง ตอนนี้ความเร็วสูงสุดในในการส่งข้อมูลคือ 5.76 Mbps (uplink) (Internet ตามบ้านส่วนใหญ่ความเร็วในการส่ง ข้อมูลจะอยู่ที่ 512 Kbps) ไม่ว่าการรับข้อมูลจะเร็วแค่ไหนก็ตาม HSPA (High-Speed Packet Access) คือการรวม HSDPA และ HSUPA เข้าด้วยกัน เรียกรวมๆกันว่าเป็น HSPA ทาให้ได้ประสิทธิภาพทั้งรับ-ส่ง ที่ดีกว่า Credit HSPA+ ความเร็วสูงสุด 42Mbps (H+) Speed: ปัจจุบันอยู่ที่ Download 14.4 Mbps / Upload 384 Kbps ต่อวินาที ในอนาคตมีแนวโน้มว่าอัตราการ ดาวและอัพโหลดข้อมูลจะมากถึง 42 Mbps ต่อวินาทีเลยที่เดียว A minimum data rate of 2 Mbit/s for stationary or walking users, and 384 kbit/s in a moving vehicle, 144kbps- 2Mbps การใช้งาน: ยุคที่โทรศัพท์มือถือกลายเป็นสมาร์ทโฟนอย่างเต็มรูปแบบ สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงด้วย เทคโนโลยีอย่าง HSPA (หรือที่เราเห็นไอคอน H บนจอมือถือ) ระบบภาพและเสียงที่มีประสิทธิภาพสมจริง สามารถประชุมทางไกลร่วมกันเพียงผ่านเครื่องมือสื่อสาร 4G ลักษณะ: Combination of wi-fi and wi-max Speed: 100Mbps – 1Gbps เทคโนโลยี: LTE (Long term Evolution) เป็นหนึ่งมาตรฐานจากกลุ่ม 3GPP ซึ่งความหมายเดิมทางวิศวกรรมของ LTE นั้นจริงๆก็คือยุค 3.9G แต่ในต่างประเทศบรรดาผู้ผลิตโทรศัพท์มือถือ-โอเปอเรเตอร์ก็มักจะเรียกแทนให้ LTE เป็น 4G นั่นเอง เป็นเทคโนโลยีการส่งข้อมูลที่ให้ความเร็วเหนือกว่า 3G ในปัจจุบันถึง 10 เท่า ซึ่งถือเป็นการ พัฒนาการอีกขั้นต่อจาก 3G รวมไปถึงได้ถูกสร้างอยู่บนพื้นฐานของ GSM, GPRS,EDGE และ WCDMA รวมถึง HSPA อีกด้วย โดยคุณสมบัติของ 4G LTE นั้นจะกระจายสัญญาณบนความถี่ 1800 MHz และ 2300 MHz (20 ช่องสัญญาณ) ซึ่งตามทฤษฎี 4G LTE แบ่งเป็น 2 ชื่อมาตรฐาน คือ 4G LTE ที่สามารถอัพโหลด 50 Mbps และดาวน์โหลด 100 Mbps LTE Advance ที่สามารถอัพโหลด 500 Mbps และดาวน์โหลด 1Gbps
  • 6. การใช้งาน: ตอบสนองการใช้งานผ่านอินเตอร์เน็ตไร้สายให้ดีขึ้น ทาให้เรานั้นสามารถส่งรับข้อมูลได้รวดเร็วกว่าเดิม และสามารถใช้โปรแกรมมัลติมีเดียได้อย่างเต็มที่ เช่น การสนทนาผ่านโปรแกรม Video Conference ในระดับ ความคมชัดแบบ HD ดูหนังออนไลน์หรือฟังเพลงไม่สะดุด และยังสามารถอัพโหลดหรือดาวน์โหลดข้อมูลที่มีขนาด ไฟล์ใหญ่ๆได้อย่างรวดเร็วอีกด้วย นั่นคือทางผู้ให้บริการไม่ว่าจะ AIS เอย DTAC เอย Truemove-H เอย เวลาจะให้บริการ 2G 3G 4G พวกนี้ก็ต้อง ไปเปลี่ยนอุปกรณ์ส่งสัญญาณที่เสาของเขา และทางเราก็ต้องมีมือถือที่รองรับด้วยครับ พูดง่ายๆคือถ้าทางผู้ให้ บริการติดตั้งเครื่องส่งสัญญาณแบบ LTE ขึ้นมามือถือในเมืองไทยที่เราใช้กันทุกวันนี้ ก็จะยังรับ 4G ไม่ได้ถ้า โทรศัพท์ไม่รองรับ 5G Speed: สามารถรับส่งข้อมูลได้เร็วถึง 20 Gbps มากกว่า 4G ถึง 20 เท่า (4G มีมาตรฐานอยู่ที่ 1Gbps) ส่วน ความเร็วถ้าได้ใช้จริงๆอาจจะไม่ถึง 20 Gbps เต็มความสามารถก็ขึ้นอยู่กับหลายๆ ปัจจัยด้วย เช่น พื้นที่ สภาพ อากาศ อุปกรณ์ การใช้งาน: อาจจะมีการเริ่มใช้งานจริงในปี 2020 ในอนาคตเราจะสามารถโหลดไฟล์วีดีโอแบบ HD ที่มีไฟล์ขนาด 7.5 GB ได้ภายใน 1 วินาที อีกหน่อยหมออาจจะสามารถผ่าตัดทางไกลได้โดยการดูคลิปแล้วแนะนาคุณหมอใน โรงพยาบาลที่กันดารแบบ Real Time วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ คอมพิวเตอร์ งบประมาณ -
  • 7. ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้าคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ สถานที่ดาเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี