SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 44
Downloaden Sie, um offline zu lesen
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล บานดอนกลอย
สถานการณโรคไขเลือดออก
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล บานดอนกลอยป 2556
สถานการณโรคไขเลือดออก
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล บานดอนกลอยป 2556
ที่มา :รง.506 ขอมูล ณ วันที่ 8 กรกฎาคม 2556
• จํานวนผูปวยรวม 12 ราย (เกิดในชวง มิ.ย.-ก.ค.)
•อัตราปวย 385.36 ตอแสนประชากร
• เสียชีวิต 0 ราย
• ผูปวยเคสแรกที่รับการวินิจฉัย 15 มิ.ย. 2556 (หมูที่ 14)
• จํานวนผูปวยมีแนวโนมสูงสุดในปนี้
จํานวนผูปวยโรคไขเลือดออก แยกรายเดือนจํานวนผูปวยโรคไขเลือดออก แยกรายเดือน
จํานวนผูปวยโรคไขเลือดออก แยกรายหมูบานจํานวนผูปวยโรคไขเลือดออก แยกรายหมูบาน
0
6
0 0
3
1
2
0
1
2
3
4
5
6
7
หมูที่6 หมูที่7 หมูที่8 หมูที่9 หมูที่13 หมูที่14 หมูที่17
DF
DHF
DSS
จํานวนปวยโรคไขเลือดออก แยกตามเพศจํานวนปวยโรคไขเลือดออก แยกตามเพศ
จํานวนผูปวยโรคไขเลือดออก แยกตามกลุมอายุจํานวนผูปวยโรคไขเลือดออก แยกตามกลุมอายุ
โรคไขเลือดออกโรคไขเลือดออก
เราปองกันได ถารูวิธี
ที่สนใจเรียนรู
และลงมือปอง
กันจริงๆ
เริ่มตั้งแตวันนี้
• ระบาดมากในฤดูฝน
สาเหตุ........มี.........
* ยุงลายบาน Aedes
Egypti
* ยุงลายสวน Aedes
Albopictus
 เปนพาหะนําโรค
 เชื้อไวรัส
 ระยะฟกตัว 2-8 วัน
4-5 วัน
ไขยุงลาย
ยุงลาย
1-2 วัน
ลูกน้ํา
7-10 วัน
ตัวโมง
1-2 วัน
ตัวผู 7 วัน
ตัวเมีย 30 - 45 วัน
วงจรชีวิตของยุงลาย
การติดตอ
วงจรการเกิดโรค
ไขเลือดออก
ยุงลายตัวเมียดูดเลือดผูปวยที่กําลังไข
กัดเด็กในชุมชน โรงเรียน ศูนยเด็กยุงถายทอดเชื้อทางไขได
อาการ
การรักษาเบื้องตน
เช็ดตัวลดไข
หามกินยาแอสไพริน เชน ทัมใจ
บวดหาย และไอบรูเฟน
ดื่มน้ํา น้ําผลไมมากๆ
งดเครื่องดื่มสีเขม
การรักษาโดย บุคลากรแพทย
ติดตามดูอาการใกลชิด
ใหรีบสงโรงพยาบาลทันที ไปตามแพทยนัดทุกครั้ง
ปวดทอง
ปสสาวะ
นอยลง
กระสับ
กระสาย
มือเทาเย็น
ถาเปน ชวงไขลด
การดูแลรักษา
สัญญาณอันตราย
• ผูปวยที่มีภาวะชอก คือ หายใจเร็ว เหนื่อย ตัวเย็น
กระสับกระสาย
• ผูมีภาวะเลือดออก เชน มีเลือดออกตามไรฟน
ถายดํา อาเจียนเปนเลือด
• ผูปวยอวน
• ผูปวยมีโรคประจําตัว เชน โรคเลือดออกงาย
ทาลัสซีเมีย โรคเลือด และโรคประจําตัวอื่นๆ
การปองกันและควบคุมโรคการปองกันและควบคุมโรค
การปองกันและควบคุม
แนวทางที่ ดีที่สุด คือ
การปองกันโรค ลวงหนา
โดยเฉพาะใน ชุมชน โรงเรียน ศูนยเด็กเล็ก วัด
โดยการกําจัดลูกน้ํายุงลาย ใหดัชนีความชุกลูกน้ํายุงลาย = 0
การพนเคมี ใชเมื่อมีผูปวยสงสัย หรือมีการระบาด (ยุงตายแค 30%)
ความชุก
ลูกน้ํา
ยุงลาย
HI,CI= 0
ใหใชมาตรการ
5 ป.
3 ร.
มือเทาเย็น
การปองกันควบคุมโรค
1 ข.
5 ป.
ใชมาตรการ 5 ป ปด เปลี่ยน ปลอย ปรับปรุง ปฏิบัติจนเปนนิสัย
มาตรการ 3 ร.
ร : โรงเรือน คือ บานตองไมมีลูกน้ํายุงลาย
ร : โรงเรียน ศูนยเด็ก ตองไมมีลูกน้ํายุงลาย
ร : โรงพยาบาล รพ.สต. ตองไมมีลูกน้ํายุงลาย
มาตรการ 1 ข.
ขัด
คือ ขัดขอบโองบริเวณเหนือน้ํา ที่ยุงลายวางไข
ใหหลุดออก แลวลางออก
(ยุงลายมักวางไขเหนือน้ํา 2-3 ซม.และ
ไขจะอยูไดนานมากกวา 2 เดือน)
การสํารวจและกําจัดแหลงเพาะพันธุยุงลาย
แหลงน้ําขังภายนอกบาน
1. ตุมน้ําขังภายนอกบาน
2. แหลงขังน้ําอื่น ๆ อางคอนกรีตลางเทา กระปอง ไหแตก
ถวยแตก แจกันศาลพระภูมิ ภาชนะใสน้ําเลี้ยงสัตว
รางน้ําฝน ยางรถยนต
3. ภาชนะธรรมชาติ โพรงไม กะลา กาบใบไม กระบอกไมไผ
การสํารวจภาชนะขังน้ําทุกชนิดและทุกชิ้น
การสํารวจแหลงเพาะพันธุ
คว่ํา ขัดลาง
กระบอกตนไผ
อสม.มักมองขาม
คว่ํา เผา กลบ
ใสเกลือ ปลอยปลาหางนกยูง
ในบาน
การใชทรายเคลือบสารเคมี กําจัดลูกน้ํา
• ในภาชนะ ที่เปลี่ยนน้ําไมได
• 10 กรัม/ น้ํา 100 ลิตร
• ใชวิธีหวาน หรือผาขาวบางหอ
• ไมแนะนําใสซองยา เจาะรู
• เพิ่มทรายทุก 3 เดือน หรือเมื่อ
มีลูกน้ําใหม
การพนสารเคมีกําจัดยุงตัวเต็มวัย
อสม. พนแบบนี้ถูกตองหรือไม....ทําไม.....
เหตุผล..??? คือ
• แหลงเกาะพักของยุงลายในบานเรือนพบวายุง
ตัวเมียรอยละ 90 ชอบเกาะพักตามสิ่งหอยแขวน
ตางๆ ในบาน(àÊ×éͼŒÒËŒÍÂá¢Ç¹, ÁØŒ§áÅÐàª×Í¡ÁØŒ§ÃŒÍÂ
• ÊÔè§ËŒÍÂá¢Ç¹Í×è¹æ )
• มีเพียงรอยละ 10 เทานั้นที่พบเกาะพักอยูตามขางฝาบาน
• ที่มา : สมเกียรติ บุญญะบัญชา. 2535. ชีววิทยาและนิเวศวิทยาของยุงลายในประเทศไทย.
• กองกีฏวิทยาทางการแพทย, กรมวิทยาศาสตรการแพทย.
อสม. พนแบบนี้ถูกตองหรือไม....ทําไม.....
การพนสารเคมี
• พนเฉพาะควบคุมการระบาด เมื่อรับรายงานมีผูปวย หรือสงสัย
• พนใหเสร็จภายใน 24 ชม.หลังรับแจง พรอมกับกําจัดลูกน้ํา
ในหมูบาน ตองใหคา HI,CI = 0
• มีผูปวย 1 ราย ใหพนบานผูปวย และรัศมีอยางนอย 100 เมตร
และสถานที่ที่เด็กเดินทางไป วันที่ 0,3,7,14,21 และทุก 7 วัน
จนกวาจะไมมีผูปวยรายใหมติดตอกัน 14 วัน
• ถาผูปวยหรือสงสัยมากกวา 1 รายในชุมชน ใหพนทั้งหมูบาน
• การพน ใหพนในบาน ปดประตู หนาตางไวอยางนอย 1 ชม.
การควบคุมโรคไมไดผล
คือ มีผูปวยเกิดขึ้นตอเนื่อง เกิน 28 วัน หลังวันเริ่มปวยของรายแรก
1. คาดัชนีความชุกลูกน้ํายุงลาย ไมเทากับ 0 ตั้งแตการควบคุม
โรคครั้งแรก (ไมเครงครัดในการทําลาย)
2. เนนการพน ไมเนนการกําจัดลูกน้ําใหครบทุกภาชนะในชุมชน
3. พนไมถูกวิธี เนนพนนอกบาน พนเขาปา ไมปดประตูหนาตาง
4. ผสมสารเคมีพนไมไดสัดสวน
5. ขาดความตอเนื่อง ไมพนและกําจัดลูกน้ํา ตามวันที่กําหนด
สาเหตุ......
สมุนไพร
ใชไลยุง
• ขยี้ใบตระไครหอม
• จุดเทียนตระไครหอมไลยุง
• ใบ หรือผิวมะกรูด วางไลยุงใน
บาน หรือหองน้ํา
การใหสุขศึกษาแกประชาชน
ใหความรูแกประชาชน เนนการรักษาเร็ว และการปองกันโรค
บทบาท อสม.
ในการปองกันควบคุมโรค
บทบาท อสม.
ในการปองกันควบคุมโรค
1. ดําเนินงานตามกระบวนการหมูบานจัดการสุขภาพ
• รวมประชาคมหมูบาน
• หามาตรการทางสังคม เชนการปรับ การติดธงสี
เมื่อสํารวจพบลูกน้ํา
• ออกสํารวจลูกน้ํา และพาชาวบานทําลายแหลงเพาะพันธุ
ยุงลาย ทุก 7 วัน ใหดําเนินการบายวันศุกร
• เปนตัวอยางที่ดีแกชาวบาน เรื่องการปองกันโรค
• เพาะพันธุปลากินลูกน้ําแจก
• ปลูกสมุนไพรแจกจาย เชนตระไครหอม
โดย อสม.ในชุมชน
ผานหอกระจายขาว การประชุม
2.ใหความรูประชาชน
3. สํารวจและทําลายลูกน้ํายุงลาย
ทุกบายวันศุกร
ทุกหลังคาเรือน
ใหตอเนื่องทุกสัปดาห
4. ควบคุมโรคทันที เมื่อมีผูปวย/สงสัย
• เจาหนาที่สาธารณสุข
• อบต./เทศบาล
• ผูนําชุมชน
• โรงเรียน วัด
• ศูนยเด็ก
หยุด
หยุด
´ŒÇ¤ÇÒÁ»ÃÒö¹Ò´Õ¨Ò¡.....
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล บานดอนกลอย

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยLoveis1able Khumpuangdee
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุtechno UCH
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยBallista Pg
 
อีสุก อีใส
อีสุก อีใสอีสุก อีใส
อีสุก อีใสDbeat Dong
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาamy69
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)chalunthorn teeyamaneerat
 
พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี
พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี
พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี อบต. เหล่าโพนค้อ
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์nuttanansaiutpu
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ Utai Sukviwatsirikul
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก sivapong klongpanich
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1Prachaya Sriswang
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีUtai Sukviwatsirikul
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมguestefb2bbf
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 

Was ist angesagt? (20)

โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 
Ppt.aids
Ppt.aidsPpt.aids
Ppt.aids
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
 
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็กโรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
 
อีสุก อีใส
อีสุก อีใสอีสุก อีใส
อีสุก อีใส
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
 
พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี
พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี
พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
 
DHFสอนปี2561.ppt
DHFสอนปี2561.pptDHFสอนปี2561.ppt
DHFสอนปี2561.ppt
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 

ไข้เลือดออก2556