SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 56
Downloaden Sie, um offline zu lesen
บทที่ 2
การเคลื่อนที่แนวตรง
By Aj.Oranuch Ketsungnoen
Faculty of Medical Science, Nakhonratchasima College
Outline
 การบอกตาแหน่ง
 ระยะทางและการกระจัด
 อัตราเร็วเฉลี่ยและความเร็วเฉลี่ย
 อัตราเร็วและความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง
 ความเร่ง
 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงด้วยความเร่งคงที่
 การตกอิสระภายใต้แรงโน้มถ่วงโลก
การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรง หมายถึง การเคลื่อนที่ของวัตถุตามแนวเส้นตรงโดยไม่
ออกจากแนวเส้นตรงของการเคลื่อนที่ หรือเรียกว่า การเคลื่อนที่แบบ 1 มิติ
ของวัตถุ
เช่น การเคลื่อนที่ของรถยนต์บนถนนตรง
การเคลื่อนที่ของผลมะม่วงที่ร่วงลงสู่พื้น
การเคลื่อนที่แนวตรง แบ่งได้เป็น 2 กรณี คือ
การเคลื่อนแนวตรงตามแนวราบ และ การเคลื่อนที่แนวตรงตามแนวดิ่ง
การบอกตาแหน่งของวัตถุสาหรับการเคลื่อนที่แนวตรง
o ในการเคลื่อนที่ของวัตถุ ตาแหน่งของวัตถุจะมีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นจึงต้องมีการบอกตาแหน่ง
เพื่อความชัดเจน การบอกตาแหน่งของวัตถุจะต้องเทียบกับ จุดอ้างอิง หรือ ตาแหน่งอ้างอิง
ระยะห่างของวัตถุจากจุดอ้างอิง (0) ไปทางขวามีทิศทางเป็นบวก (A,C)
ระยะห่างของวัตถุจากจุดอ้างอิง (0) ไปทางซ้ายมีทิศทางเป็นลบ (A,B)
A
0
CB
20 40 60 80-80 -60 -40 -20
ระยะทาง (Distance)
ระยะทาง (Distance) คือ เส้นทาง หรือ ความยาวตามเส้นทาง
การเคลื่อนที่ จากตาแหน่งเริ่มต้นถึงตาแหน่งสุดท้าย
o ระยะทางใช้สัญลักษณ์ “ S ” เป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วย
เป็น เมตร (m)
การกระจัด (Displacement)
การกระจัด (Displacement) คือ ความยาวเส้นตรงที่เชื่อมโยงระหว่าง
จุดเริ่มต้น และจุดสุดท้ายของการเคลื่อนที่
ข้อสรุประหว่างระยะทางและการกระจัด
o ระยะทาง ขึ้นอยู่กับเส้นทางการเคลื่อนที่
o การกระจัด ไม่ขึ้นอยู่กับเส้นทางการเคลื่อนที่แต่จะขึ้นอยู่กับตาแหน่งเริ่มต้นและ
ตาแหน่งสุดท้าย
 การเคลื่อนที่โดยทั่วๆ ไป ระยะทางจะมากกว่าการกระจัดเสมอ ยกเว้น เมื่อวัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง การ
กระจัดจะมีขนาดเท่ากับระยะทาง
ตัวอย่างการแสดงระยะทางและการกระจัด
เมื่อวัตถุเคลื่อนที่จาก A ไป B ตามแนวเส้นทางดังรูป
A
B
(3)
S1
S2
S3
(2)
(1)
1.
a b
2 m
2.
a b
3 m
ตัวอย่าง 1 จงหาการกระจัด และระยะทาง ของการเคลื่อนที่จากตาแหน่ง a ไป b ในแต่
ละข้อต่อไปนี้ (เส้นทึบคือเส้นทางการเคลื่อนที่)
วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่จาก A ไป B และต่อไป C ดังรูป จงหาระยะทางและการกระจัดของวัตถุ
จาก A ไป C
ตัวอย่าง 2
A B
C
3กม.
4 กม.
วัตถุเคลื่อนที่จาก A ไปยัง B ดังรูป จงหาระยะทางและการกระจัด
ตัวอย่าง 3
A B
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed) หมายถึง ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา ใช้สัญลักษณ์ คือ v
เป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที (m/s)
o แบ่งพิจารณาได้เป็น 3 แบบ คือ
1. อัตราเร็วเฉลี่ย (vav)
2. อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง (vt)
3. อัตราเร็วคงที่ (v)
1. อัตราเร็วเฉลี่ย (vav)
อัตราเร็วเฉลี่ย (vav) หมายถึง ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา
(ในช่วงเวลาหนึ่งที่กาลังพิจารณาเท่านั้น)
2. อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง (vt)
หรือ อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง คือ อัตราเร็ว ณ เวลาใดเวลาหนึ่งหรืออัตราเร็วที่จุดใดจุดหนึ่ง
3. อัตราเร็วคงที่ (v)
อัตราเร็วคงที่ (v) หมายถึง เป็นการบอกให้ทราบว่าวัตถุมีการเคลื่อนที่อย่าง
สม่าเสมอ ไม่ว่าจะพิจารณาในช่วงเวลาใด ๆ
ข้อสังเกต ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่ อัตราเร็วเฉลี่ย อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่งจะมีค่า
เท่ากับ อัตราเร็วคงที่นั้น
ความเร็ว (Velocity)
ความเร็ว (Velocity) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงการกระจัด หรือ การกระจัดที่เปลี่ยนแปลง
ไปในหนึ่งหน่วยเวลา
ข้อสังเกต ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ ความเร็วเฉลี่ย ความเร็วขณะใดขณะหนึ่งจะมีค่าเท่ากับ ความเร็ว
คงที่นั้น
ข้อควรจา
A ซ้อมวิ่งรอบสนามฟุตบอล ซึ่งมีความยาวเส้นรอบวง 400 เมตร ครบรอบใช้เวลา
50 วินาที จงหา อัตราเร็วเฉลี่ย และ ความเร็วเฉลี่ยของ A
ตัวอย่าง 4
ชายคนหนึ่งหนึ่งเคลื่อนที่จาก A ไป D ตามแนว A  B  C  D ดังรูป กินเวลานาน
20 วินาที จงหา
ตัวอย่าง 5
ก) ระยะทาง
ข) การกระจัด
ค) อัตราเร็วเฉลี่ย
ง) ความเร็วเฉลี่ย
50 m
100 m
A
B
D
C
ไก่เคลื่อนที่เป็นเส้นตรงด้วยความเร็ว 5 เมตรต่อวินาที ได้ทาง 100 เมตร แล้วจึง
เคลื่อนที่ต่อด้วยความเร็ว 10 เมตรต่อวินาที ได้ทาง 50 เมตร จงหาความเร็วเฉลี่ย
ของไก่
ตัวอย่าง 6
ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration) คือ การเคลื่อนที่ซึ่งขนาดหรือทิศทางของความเร็วมีการ
เปลี่ยนแปลง เรียกว่า การเคลื่อนที่แบบมีความเร่ง
ความเร่ง หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว
หรือ ความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลา
o ความเร่งแบ่งออกเป็น 3 ประเภท
หาความเร่งได้จาก
ข้อสังเกต
1. ทิศทางของความเร่ง จะอยู่ในทิศทางเดียวกับความเร็ว ที่เปลี่ยนไปเสมอ
2. เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่ ค่าความเร่งเฉลี่ย และค่าความเร่งขณะ
ใดขณะหนึ่ง จะมีค่าเท่ากับ “ความเร่งคงที่” นั้น
3. เมื่อวัตถุมีความเร็วลดลง เราจะได้ว่า ความเร่งมีค่าเป็นลบ หรือ ความเร่ง
มีทิศตรงข้ามการเคลื่อนที่ บางครั้งเรียก ความเร่ง ที่มีค่าเป็นลบ (-) ว่า
“ความหน่วง”
กราฟความสัมพันธ์ของปริมาณการเคลื่อนที่
การหาความชัน หรือ slope ของกราฟเส้นตรงหาได้จาก
กราฟความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัดกับเวลา
กราฟความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัดกับเวลา
จากกราฟ
1. การกระจัดเพิ่มขึ้นอย่างไม่สม่าเสมอ
2. Slpoe เพิ่มขึ้น(โค้งหงาย) ความเร็วเพิ่มขึ้น
P
t1 t2
การกระจัด
เวลา
Q
P
x1
x2
การกระจัด
เวลา
x3
x4
x5
Q
ความเร่งเฉลี่ย คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว
ความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง
* ความเร่งเฉลี่ยหาได้จาก ความชันของกราฟ v-t
ความเร่ง (Acceleration)
ความเร็ว
เวลา
V0
V
0 t
ความเร่งเฉลี่ย คือ ความชันของกราฟ v-t
การเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่
เมื่อทาการทดลองบันทึกการเคลื่อนที่รถคันหนึ่ง ได้กราฟความสัมพันธ์ของความเร็วกับเวลา
ดังกราฟ
ตัวอย่าง 7
ความเร็ว(m/s)
เวลา(s)
0 104
14 20
8
- 8
a) จงหาการกระจัด และระยะทาง
b) จงหาความเร็วเฉลี่ย และอัตราเร็วเฉลี่ย
จากกราฟระหว่างระยะทางของการกระจัดในแนวเส้นตรงกับเวลาดังรูป จงหาความเร็วเฉลี่ย
ระหว่างเวลา 0 วินาที ถึง 25 วินาที
ตัวอย่าง 8
ความเร็ว(m/s)
เวลา(s)
0 2010 30
100
- 100
ณเดชขับรถยนต์คันหนึ่งให้มันเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปบนเส้นทางตรง เวลาผ่านไป 4 วินาที มี
ความเร็วเป็น 8 เมตร/วินาที ถ้าอัตราเร็วเพิ่มขึ้นอย่างสม่าเสมอ รถยนต์จะมีความเร่งเท่าใด
ตัวอย่าง 9
สมการสาหรับคานวณหาปริมาณต่างๆ
ของการเคลื่อนที่แนวตรงด้วยความเร่งคงตัว
เงื่อนไขการกาหนดทิศทางของปริมาณต่าง ๆ
+u
+v
+s
-u
-v
-s
-a
จุดอ้างอิง
รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปด้วยความเร็ว 10 เมตรต่อวินาที แล้วเร่งเครื่องด้วยความเร่ง 5
เมตรต่อวินาที2 ภายในเวลา 20 วินาที จะมีความเร็วสุดท้ายเป็นกี่ เมตรต่อวินาที
แบบฝึกหัด
ถ้าเครื่องบินต้องใช้เวลาในการเร่งเครื่อง 20 วินาที จากหยุดนิ่ง และใช้ระยะทาง 400
เมตร ก่อนที่จะขึ้นจากทางวิ่งได้ จงหาอัตราเร็วของเครื่องบินขณะที่ขึ้นจากทางวิ่งเท่ากับกี่
เมตรต่อวินาที
แบบฝึกหัด
รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วต้น 36 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ต่อมาเร่งเครื่องด้วยความเร่ง
3 เมตรต่อวินาที2 จงหาว่าภายในระยะทาง 50 เมตร รถคันนี้จะมีความเร็วปลายกี่เมตร
ต่อวินาที
แบบฝึกหัด
การคานวณการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ภายใต้แรงดึงดูดของโลก
การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งภายใต้แรงดึงดูดของโลก คือ การเคลื่อนที่อย่างอิสระของวัตถุโดยมีความเร่งคงที่
เท่ากับความเร่งเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก (g) มีทิศพุ่งลงสู่จุดศูนย์กลางของโลก มีค่าโดยเฉลี่ยทั่วโลก
ถือเป็นค่ามาตรฐาน มีค่าเท่ากับ 9.8065 m/s2
การเคลื่อนที่จากแรงดึงดูดของโลกในแนวดิ่งเพียงอย่างเดียว
เรียกว่า “การเคลื่อนที่แบบดิ่งเสรี”
u > 0
u < 0
1.ปล่อยลงในแนวดิ่งด้วยความเร็วต้นเท่ากับศูนย์ (u = 0)
2.ปาลงในแนวดิ่งด้วยความเร็วต้น (u < 0)
3.ปาขึ้นในแนวดิ่งด้วยความเร็วต้น (u > 0)
ลักษณะของการเคลื่อนที่มี 3 ลักษณะ
u = 0
วัตถุตกอย่างอิสระ
วัตถุตกอย่างอิสระ เป็นการเคลื่อนที่ด้วย ความเร่งคงที่
โดยวัตถุจะเคลื่อนที่ลงสู่พื้นโลกด้วยความเร่ง 9.8 เมตร/วินาที2
สมการสาหรับคานวณหาปริมาณต่างๆ ของการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ภายใต้แรงดึงดูดของโลก
เมื่อ a = g และทุกปริมาณเป็นบวกหมด เพราะมีทิศทางเดียวกัน
สมการสาหรับการคานวณ
ส่วนลักษณะที่ 3 วัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง แต่มี 2 ทิศทางคือ ขึ้น และ ลง ดังนั้นปริมาณเวกเตอร์ต่าง ๆ
ต้องกาหนดทิศทางโดยใช้เครื่องหมาย บวก (+) และ ลบ (-)
A
B
C
D
+S
-S
+u+v
-v
a = - g
เงื่อนไขการกาหนดทิศทางของปริมาณต่างๆ
a = - g **
จุดอ้างอิง
+u+v +s
-u-v -s
- g
ปล่อยลูกบอลจากดาดฟ้าตึกสูง 30 เมตร ช่วงเวลาตั้งแต่ปล่อยจนตก
กระทบพื้นมีค่าเท่าใด (g= 10 m/s2)
ตัวอย่าง 10
30m
ปาวัตถุลงในแนวดิ่งจากตึกสูงด้วยความเร็ว 10 เมตรต่อวินาที เมื่อเวลาผ่านไป 5
วินาที วัตถุจะมีความเร็วเท่าใด (g= 10 m/s2)
ตัวอย่าง 11
u = -10 m/s
ปาวัตถุขึ้นไปในแนวดิ่งบนยอดตึกสูงด้วยความเร็ว 15 เมตรต่อวินาที เมื่อเวลา
ผ่านไป 8 วินาที วัตถุจึงตกกระทบพื้นความสูงของตึกดังกล่าวเป็นเท่าใด (g=
10 m/s2)
ตัวอย่าง 12
u = 15 m/s
แบบฝึกหัด ชายคนหนึ่งโยนเหรียญขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยความเร็วต้น 10เมตร/วินาที เป็น
เวลานานเท่าใดเหรียญจึงจะตกลงมาถึงตาแหน่งเริ่มต้น
แบบฝึกหัด ญาญ่าอยู่บนดาวดวงหนึ่งที่มีความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงที่ไม่เท่ากับโลก เขาได้
ปาลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่ง แล้วก็พบว่าความสัมพันธ์ระหว่างความสูงของลูกบอล
ในแนวดิ่งกับเวลาเป็นดังกราฟ ถามว่าความเร็วต้นของลูกบอลเป็นกี่ เมตร/วินาที
(m/s)
t (s)
การบ้านประจาบทที่ 2
1.อธิบายความแตกต่างระหว่างการกระจัดและระยะทาง พร้อมยกตัวอย่าง
2.อธิบายความแตกต่างระหว่างความเร็วและอัตราเร็ว พร้อมยกตัวอย่าง
3.ธีรเดชขับรถยนต์คันหนึ่งด้วยอัตราเร็วคงตัว 20 เมตร/วินาที อยากรู้ว่า นานเท่าใดเขาจึงจะเคลื่อนที่ได้
ระยะทาง 100 เมตร
4.เด็กน้อยวิ่งด้วยอัตราเร็ว 6 เมตร/วินาที เป็นเวลา 1 นาที ต่อมาเขาวิ่งด้วยอัตราเร็ว 5 เมตร/วินาที อีก
แล้วก็เดินด้วยอัตราเร็ว 1 เมตร/วินาที ถามว่าอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 3 นาทีมีค่าเท่าใด
5. กวินขับรถยนต์ที่เริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง โดยอัตราเร็วเพิ่มขึ้น 2 เมตร/วินาที ทุก 1 วินาที ถามว่าเมื่อ
สิ้นวินาทีที่ 5 รถจะมีอัตราเร็วเท่าใด
6.ตารวจได้ตั้งค่าระบบไฟจราจรไว้ให้รถที่วิ่งด้วยความเร็ว 36km/hr จะวิ่งถึงเสาไฟจราจรอันถัดไปใน
เวลาที่เป็นไฟเขียวพอดี ณเดชขับรถรถยนต์คันหนึ่งซึ่งจอดติดไฟแดงที่เสาไฟจราจร A โดยถัดไปจะมีเสา
ไฟจราจร B อยู่ห่างไปข้างหน้าเป็นระยะทาง 300 m ณเดชรู้ดีว่ารถของเขามีความเร่งสูงสุด 1.2 m/s2
ดังนั้นเขาจะต้องขับรถด้วยความเร็วสูงสุดเท่าไร จึงจะถึงเสาไฟจราจร B ขณะไฟเขียวพอดี
เอกสารอ้างอิง
1. ผศ. ดร. วีระชัย สิริพันธ์วราภรณ์. (2550). ฟิสิกส์เบื้องต้นสาหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ พยาบาล และ
สาธารณสุขศาสตร์ 1, ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
2. สมพงษ์ ใจดี. (2542). ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย 1. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
3. ชวลิต เลาหอุดมพันธ์. (2559). ฟิสิกส์ขนมหวาน เล่มที่1. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์สามลดา
4. Halliday, David, Resnick, Robert and Krane, Kenneth S. Physics Volume 1. 5th Edition. New
York: John Wiley & Sons, 2002.
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงPonpirun Homsuwan
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าTheerawat Duangsin
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินkrubenjamat
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดkrupornpana55
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าsripai52
 
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)wiriya kosit
 
แบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุลแบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุลkrusarawut
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงThepsatri Rajabhat University
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น Wijitta DevilTeacher
 
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 Supaluk Juntap
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาWijitta DevilTeacher
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่piyawanrat2534
 

Was ist angesagt? (20)

การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสง
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้า
 
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
แบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุลแบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุล
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
 

Ähnlich wie Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง

การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]Worrachet Boonyong
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆwiriya kosit
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Dew Thamita
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติPrint25
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ม.4
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ม.4การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ม.4
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ม.4Fay Wanida
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)Worrachet Boonyong
 
การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1kroosarisa
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงLai Pong
 
ความเร็ว0
ความเร็ว0ความเร็ว0
ความเร็ว0krusridet
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงLai Pong
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่พัน พัน
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายSunanthaIamprasert
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่พัน พัน
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงuntika
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติkungten555
 

Ähnlich wie Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง (20)

การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
6 1
6 16 1
6 1
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ม.4
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ม.4การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ม.4
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ม.4
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
 
การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์
 
ความเร็ว0
ความเร็ว0ความเร็ว0
ความเร็ว0
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
circular motion.pdf
circular motion.pdfcircular motion.pdf
circular motion.pdf
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
 
2
22
2
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
 

Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง