SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 43
เทคนิคและการทบทวน
วรรณกรรม และ การ
พัฒนากรอบแนวคิดงาน
วิจัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร.กชพร นำานาผล
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความ
สามารถ
-2.1 อธิบายความหมายการทบทวนวรรณกรรมที่
เกี่ยวข้อง
-2.2 ระบุวัตถุประสงค์ของการทบทวนวรรณกรรมที่
เกี่ยวข้องได้ถูกต้อง
-2.3 อธิบายหลักการคัดเลือกวรรณกรรมที่เหมาะสม
ได้ถูกต้อง
-2.4 ระบุแหล่งสืบค้นวรรณกรรมที่นิยมแพร่หลายได้
ถูกต้อง
-2.5 แยกแยะ และวิพากษ์วรรณกรรมที่ดีและ
วรรณกรรมที่เรียบเรียงไม่ถูกต้องได้
-2.6 อธิบายความหมายของกรอบแนวคิดการวิจัยได้
ถูกต้อง
-2.7 แยกแยะความแตกต่างระหว่างความหมายกรอบ
ทฤษฎีและความหมายกรอบแนวคิดการวิจัยได้ถูก
ประเด็นสำาคัญของเนื้อหา
บรรยาย
เนื้อหาบรรยายครอบคลุมหัวข้อดังต่อไปนี้
3.1 ความหมายการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
3.2 วัตถุประสงค์ของการทบทวนวรรณกรรมที่
เกี่ยวข้อง
3.3 หลักการคัดเลือกวรรณกรรมที่เหมาะสม
3.4 แหล่งสืบค้นวรรณกรรมที่นิยมแพร่หลาย
3.5 การเรียบเรียงวรรณกรรมที่ดี
3.6 ความหมายของกรอบแนวคิดการวิจัย
3.7 ความแตกต่างระหว่างความหมายกรอบทฤษฎีและ
ความหมายกรอบแนวคิดการวิจัย
3.8 สมมติฐาน ตัวแปร และระดับมาตรวัด (Level of
scale)08/07/15 รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม ม.บูรพา 3
08/07/15 รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม ม.บูรพา 4
หลักการ
และเหตุผล
การทบทวน
วรรณกรรม
ที่เกี่ยวข้อง
กับปัญหา
วิจัย
มีความสำาคัญ
และมี
ประโยชน์
ผู้
วิจัย
ปัญหาการวิจัย
ที่สนใจศึกษามี
ความซำ้าซ้อน
กับงานวิจัยอื่นๆ
ที่ตีพิมพ์เผย
แพร่แล้วหรือไม่ ช่วยให้สามารถ
รวบรวมผลงาน
วิจัยและความรู้
ใหม่ๆที่ได้จากการ
ทบทวน
เพิ่ม
ความ
ชัดเจน
ของ
ปัญหา
กำาหนด
กรอบ
แนวคิด
การวิจัย
การทดสอบ
สม มติ
ฐานการ
วิจัย
การวิเคราะห์
ข้อมูลและการ
อภิปรายผล
การทบทวน
วรรณกรรมใช้ทุก
กระบวนงาน..ของ
การวิจัย
08/07/15 รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม ม.บูรพา 6
กิจกรรม BAR
(Before Action Review)(5นาที)
1.สิ่ง/เรื่อง ที่ท่านรู้แล้วเกี่ยวกับ การทบทวน
วรรณกรรม มีอะไรบ้าง
2.สิ่ง/เรื่อง ที่ท่านคาดหวังหรือต้องการที่จะ
เรียนรู้เกี่ยวกับ การทบทวนวรรณกรรม มี
อะไรบ้าง
3.สิ่ง/เรื่อง ที่ท่านต้องการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
เกี่ยวกับ การทบทวนวรรณกรรม มีอะไรบ้าง
4.สิ่ง/เรื่อง ที่ท่านรู้แล้วเกี่ยวกับ กรอบแนวคิด
การวิจัย มีอะไรบ้าง
5.สิ่ง/เรื่องที่ท่านคาดหวัง ต้องการ เกี่ยวกับ
การทบทวนวรรณกรรม มีอะไรบ้าง
6.สิ่ง/เรื่อง ที่ท่านต้องการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยว
กับ กรอบแนวคิดการวิจัยมีอะไรบ้าง
ข้อบกพร่องที่พบค่อนข้าง
มากเกี่ยวกับ การ
“ ”ทบทวน วรรณกรรม
การทบทวนวรรณกรรม (จุดอ่อนที่พบบ่อย)
• มักจะอ้างอิงไม่ถูกต้อง และไม่ตรงกับรายชื่อ
เอกสารอ้างอิงในตอนท้าย
•ไม่ครบถ้วนทุกเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
บางหัวข้อที่ทบทวนก็ไม่เกี่ยวข้องกัน
• บางหัวข้อเขียนยาว และละเอียดมากเกินไป
บางหัวข้อสั้นจนเกินไปและ บ่อยครั้งเป็นเรื่องที่
เกี่ยวข้องโดยตรง
• เขียนรวบรวมจากหลายๆแหล่งแล้วไม่สรุป
ว่าสังเคราะห์อะไรได้บ้างจากการตรวจเอกสาร
ความหมายการทบทวน
วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
• การค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งต่างๆ และผลงาน
วิจัยที่เกี่ยวข้อง กับโจทย์การวิจัยที่กำาหนด ให้
ครอบคลุมประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย• เอกสารและงานวิจัยที่มีเนื้อหาที่สัมพันธ์กับ หัวข้อเรื่อง
–หรือประเด็นของปัญหาการวิจัย (พิชิต ฤทธิ์จรูญ, )
• การค้นคว้าศึกษารวบรวมและประมวลผลงานทาง
วิชาการ เช่น ผลงานวิจัย บทความเอกสารทาง
วิชาการ และตำาราที่เกี่ยวข้องกับเรื่องหรือประเด็น
ที่ทำาการวิจัยเพื่อประเมินประเด็น แนวความคิด
ระเบียบวิธีการวิจัย ข้อสรุป ข้อเสนอแนะจากผลงาน
วิจัยหรือเอกสารสิ่งพิมพ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อหรือ
ประเด็นของปัญหาของการวิจัยก่อนที่จะลงมือทำาการ
วัตถุประสงค์ของการทบทวน
วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
• เพื่อทบทวนสถานภาพขององค์ความรู้และงาน
วิจัยที่เกี่ยวข้อง
• การใช้ IT เป็นเครื่องมือในการพัฒนางานวิจัย
• ฐานข้อมูลและการเข้าถึงแหล่งค้นคว้าที่สำาคัญ
• การสร้างกรอบแนวคิด การวิจัยและ สมมติฐาน
การวิจัย
• การกำาหนดตัวแปรและวิธีการวัดตัวแปรการให้
คำานิยามตัวแปร
หลักการคัดเลือกวรรณกรรมที่
เหมาะสม
(ข้อดี ข้อเสีย)
• Book เป็นพื้นฐานและทฤษฎี ไม่ทันสมัย
• Thesis เป็นข้อมูลที่มีรายละเอียด
เข้าถึงได้ยากและการยอมรับในวิชาการยังไม่มาก
• Intellectual Properties
ทันสมัยเหมาะกับงานประยุกต์ ค้นหายากและมีข้อ
จำากัด
• Periodic Publication เชื่อถือได้สูง มีฐานข้อมูลเยอะ
และต้องติดตามสมำ่าเสมอ
• Proceedings เชื่อถือได้ระดับหนึ่งเพราะอาจยังไม่
สมบูรณ์ เข้าถึงได้ยาก
• Concerned Communities ข้อมูลตรง ต้องใช้
เทคนิคและขั้นตอนการทบทวน
วรรณกรรม (1)
• กำาหนดจุดมุ่งหมายในการศึกษาเอกสารที่
เกี่ยวข้องการวิจัย
– กำาหนดปัญหาการวิจัยได้ชัดเจน
– ยืนยันว่างานวิจัยมีความสำาคัญ และไม่ซำ้าซ้อน
– กำาหนดขอบเขต
– สร้างกรอบแนวคิด
– กำาหนดสมมติฐาน
– วางแผนการดำาเนินการวิจัย
– อภิปรายผลการวิจัย
12
เทคนิคและขั้นตอนการทบทวน
วรรณกรรม (2)
• กำาหนดลักษณะ ประเภทและแหล่งเอกสารที่
ต้องการ
– วรรณคดีอ้างอิงทั่วไป (General References)
– วรรณคดีปฐมภูมิ (Primary Literature)
– วรรณคดีทุติยภูมิ (Secondary Literature)
13
เทคนิคและขั้นตอนการทบทวน
วรรณกรรม (3)
• สืบค้น คัดเลือก และจัดหาเอกสาร
– การกำาหนดคำาสำาคัญ หรือคำาค้น (Keywords or
Descriptors)
– การเลือกวรรณคดีทั่วไป
– ปฏิบัติการสืบค้น
– การทำาบัตรบรรณานุกรม (Bibliographical Card)
14
แหล่งสืบค้นวรรณกรรมที่นิยมแพร่หลาย
 เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ จำาเป็นสำาหรับ
งานวิจัยนี้หรือไม่
(สื่อสาร/ประชาสัมพันธ์/เครื่องมือในการดำาเนินงาน ?)
 เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่จำาเป็นต่องานวิจัย
นี้มีอะไรบ้าง (Internet/Application/Data
Analysis etc.)
Data Analysis is a general purpose iPad App for the plotting and
fitting of all types of data that can be formulated as x,y pairs. The
program can be used easily by both students and professionals. It is
particularly useful for quick analyses of various types of data by
curve fitting, value prediction via a standard curve, and analysis of
kinetic data 
 เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มีข้อจำากัด
หรือข้อควรระวังอย่างไรบ้าง
3. ฐานข้อมูลและการเข้าถึงแหล่งค้นคว้าที่
สำาคัญ
ห้องสมุดห้องสมุด//internetinternet
 Book (E-Book, OPAC etc.)
 Thesis (E-Theses, ProQuest etc. )
 Intellectual Properties
 Periodic Publication (SCOPUS, PubMed etc.)
 Proceedings (CD, Hard Copy etc.)
นอกห้องสมุดนอกห้องสมุด
 Concerned Communities
แหล่งข้อมูลการค้นหาวรรณกรรม
 Journal articles
 Books
 Conference proceedings
 Government and corporate reports
 Newspapers
 Theses and dissertations
 Internet (electronic journals)
 Magazines
 Catalogues
 Patent
19
แหล่งข้อมูลการค้นหาวรรณกรรม
 การใช้คำาค้น หลายคำาร่วมกัน ช่วยให้ได้ผลที่ตรง
ความต้องการมากขึ้น
 เช่น รวม .pdf .doc .ppt เข้าไปด้วยก็ได้
20
แหล่งข้อมูลการค้นหาวรรณกรรม
 สามารถใส่ชื่อเรื่อง คำาสำาคัญ เข้าไปได้เลย
 ผลที่ได้ จะเป็นทั้ง หนังสือ ตำารา และบทความในลักษณะต่างๆ
21
แหล่งข้อมูลการค้นหาวรรณกรรม
 ACM Digital Library - http://portal.acm.org/
 ฐานข้อมูลทางสาขาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
22
แหล่งข้อมูลการค้นหาวรรณกรรม
 IEEE/IET Electronic Library –
 ฐานข้อมูลทางด้านสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์และ
สาขาวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง Computing ด้วย
23
แหล่งข้อมูลการค้นหาวรรณกรรม
 Web of Science – ISI Web of Knowledge
 เป็นฐานข้อมูลที่ครอบคลุมในสาขาวิทยาศาสตร์
24
แหล่งข้อมูลการค้นหาวรรณกรรม
 Springer Link
 สำานักพิมพ์ชั้นนำาที่ให้บริการเนื้อหาในสาขาวิชาหลักๆ ทางด้าน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และทางการแพทย์
25
แหล่งข้อมูลการค้นหาวรรณกรรม
 ScienceDirect – http://www.sciencedirect.com
 ฐานข้อมูลทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์
และอื่นๆ
26
แหล่งข้อมูลการค้นหาวรรณกรรม
 Scopus - http://www.scopus.com/
 ฐานข้อมูลทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์
และอื่นๆ
27
เทคนิคและขั้นตอนการทบทวนวรรณกรรม (4)
การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
อย่างพินิจพิเคราะห์ (1)
การอ่านเพื่อประเมินคุณภาพเอกสารที่
เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
การวิพากษ์ภายนอก (External
Criticism)
การวิพากษ์ภายใน (Internal
Criticism)

28
เทคนิคและขั้นตอนการทบทวนวรรณกรรม (4)
 การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยอย่างพินิจ
พิเคราะห์ (2)
การอ่านเก็บความจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
การอ่านเก็บความคิดสำาคัญ (Main Ideas)
การอ่านเก็บรายละเอียด (Details)
การอ่านวิธีการจัดระเบียบความคิด
(Organisation of Ideas)
การอ่านระหว่างบรรทัด (Read Between the
Lines)
จากนั้นจึง ถอดความ (Paraphrase) สรุป
(Summarise) และ คัดลอกข้อความ (Quote)
29
เทคนิคและขั้นตอนการทบทวนวรรณกรรม (4)
 การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยอย่างพินิจ
พิเคราะห์ (3)
การจดบันทึกเนื้อหาสาระที่ได้
ปัญหาและวัตถุประสงค์การวิจัย
เหตุผลที่ทำาวิจัย
สมมติฐาน
ทฤษฎี หรือ กรอบแนวคิด
ตัวแปร
เครื่องมือการวิจัย
วิธีดำาเนินการ
ผลการวิจัย
 ความคิดเห็น
 ข้อวิจารณ์
 ข้อสังเกต
 สิ่งที่ต้องทำาเพิ่ม
30
เทคนิคและขั้นตอนการทบทวนวรรณกรรม (4)
 การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยอย่างพินิจพิเคราะห์ (3)
 การจดบันทึกเนื้อหาสาระที่ได้
31
เทคนิคและขั้นตอนการทบทวนวรรณกรรม (5)
สังเคราะห์ผลการศึกษาเอกสารงานวิจัยที่
เกี่ยวข้อง
การปริทัศน์ทฤษฎี (Theoretical Review)
การปริทัศน์วิธีวิทยา (Methodological
Review)
การปริทัศน์บูรณาการวิจัย (Research
Integration Review)
32
การเรียบเรียงวรรณกรรมที่ดี
1. วรรณกรรมที่นำามาทบทวนหรืออ้างถึง
นั้นต้องสัมพันธ์กับงานวิจัยที่ กำาลังดำาเนิน
อยู่ ไม่ควรเขียนรวมถึงทุกสิ่งทุกอย่างที่ผู้
วิจัยได้อ่านมา
2. แต่ละงานวิจัยที่สำาคัญที่นำามาทบทวน
อาจอภิปรายทีละเรื่องในแต่ละย่อหน้า บอก
วัตถุประสงค์ของการศึกษา เครื่องมือที่ใช้
ในการวิจัย กลุ่มตัวอย่าง ผลการศึกษาที่
เกี่ยวข้อง ถ้างานวิจัยนั้นสำาคัญน้อยอาจ
อ้างแต่ตัดรายละเอียดออกบ้าง
3. ถ้ามีงานวิจัยที่ผ่านมาหลายเรื่องที่
ศึกษาปัญหาเดียวกันในแง่มุมที่
คล้ายคลึงกัน อาจนำามาทบทวนรวมกัน
ในย่อหน้าเดียวกัน เช่น นาย ก, นาย ข,
นาย ค และ นาย ง ได้ศึกษาถึง
เรื่อง...............และสรุปผลออกมาเป็นก
ลุ่มมากกว่าแยกจากกัน
4. ควรเขียนทบทวนวรรณกรรมที่ได้มี
การรวบรวมและสังเคราะห์ศึกษาเรื่องนี้
มาอย่างดี เลือกเฉพาะที่เป็นจุดเด่นที่
ทบทวนวรรณกรรมในส่วนที่เกี่ยวข้อง
กับการศึกษาที่ดำาเนินอยู่
ความหมาย และความแตกต่างระหว่าง
ความหมายกรอบทฤษฎีและความหมายก
รอบแนวคิดการวิจัย
กรอบแนวคิดการวิจัยกรอบแนวคิดการวิจัย (Conceptual Framework)(Conceptual Framework) 
หมายถึง  กรอบของการวิจัยในด้านเนื้อหาสาระ 
ซึ่งประกอบด้วยตัวแปร  และการระบุความสัมพันธ์
ระหว่างตัวแปร  ในการสร้างกรอบแนวคิดการ
วิจัย  ผู้วิจัยจะต้องมีกรอบพื้นฐานทางทฤษฎีที่
เกี่ยวข้องกับปัญหาที่ศึกษาและ
มโนภาพ(concept)ในเรื่องนั้น  แล้วนำามาประมวล
เป็นกรอบในการกำาหนดตัวแปรและรูปแบบความ
สัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ  ในลักษณะของ
กรอบแนวคิดการวิจัยและพัฒนาเป็นแบบจำาลอง
กรอบแนวคิด ต้องประกอบ
ด้วย
อธิบายทฤษฎีที่เกี่ยวข้องได้ตรงประเด็นตาม
วัตถุประสงค์
เสนอวิธีการใหม่หรือสมมติฐานการวิจัย ที่น่า
เชื่อถือ
นิยามตัวแปรได้ครบทุกตัวแปร รวมทั้งนิยาม
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร และ ความ
สัมพันธ์ระหว่างตัวแปรกับวิธีการใหม่
อธิบายวิธีการวัดตัวแปร รวมทั้งวิธีการวัด
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร และ ความ
สัมพันธ์ระหว่างตัวแปรกับวิธีการใหม่ ที่น่า
เชื่อถือ
สามารถใช้เครื่องมือในการวัดตัวแปร รวมทั้ง
เครื่องมือในการวัดความสัมพันธ์ระหว่าง
สมมุติฐานการวิจัย
♠เป็นส่วนที่คาดคะเนผลหรือการตอบปัญหาวิจัยโดย
อาศัย ทฤษฎีงานวิจัยอื่น ๆ หรืออาศัยเหตุผล
(rational approach)
♠การเขียน
1. การเขียนเป็นข้อความสมบูรณ์ที่แสดงความ
สัมพันธ์ เชิงเหตุผลระหว่างตัวแปร (2 ตัวหรือ
มากกว่า)
2. ความสัมพันธ์ที่กำาหนดควรมีทิศทางชัดเจน
3. เขียนโดยมีทฤษฎี หรืองานวิจัยรองรับ
4. ครอบคลุมและสอดคล้องกับความมุ่งหมายและ
ปัญหาวิจัย
5. ใช้ถ้อยคำาที่คงเส้นคงวา
6.อย่าใช้คำาที่แสดงถึงความไม่แน่ใจ หรือความ
คิดเห็น
การกำาหนดตัวแปรและวิธีการวัดตัวแปร
การให้คำานิยามตัวแปร
 กำาหนด จำานวน ตัวแปร (Variables) และ ตัวแปร
ควบคุม (Fixed Values) เพื่อให้ทราบว่าจะศึกษา
อะไรบ้าง
 กำาหนด นิยาม ตัวแปร เพื่อเป็นการกำาหนด
ขอบเขตการทำาวิจัย
 กำาหนด วิธีการวัด ตัวแปร รวมทั้งพิจารณา
ความพร้อมของเครื่องมือในการวัดตัวแปร
ใบ
งานที่
1
ฝึกปฏิบัติเขียนทบทวน
วรรณกรรม (15นาที)
ให้ผู้เข้าร่วมอบรม วิพากษ์การเรียบเรียง
วรรณกรรมที่ดีและเรียบเรียงวรรณกรรมที่ถูก
ต้อง
แบ่งกลุ่มผู้เข้าร่วมอบรม
ให้ผู้เข้าอบรม ศึกษา ตัวอย่าง ชื่อเรื่องงาน
วิจัย แล้วเขียน หัวข้อที่จะศึกษาเอกสารและ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นรายบุคคล
วิเคราะห์ แล้ว ร่วมกันระดมความคิดเห็น
แล้วสรุป เรียบเรียงวรรณกรรมที่ถูกต้อง
ใบ
งานที่
2
ฝึกปฏิบัติกรอบแนวคิดการวิจัยเพื่อตอบ
โจทย์วิจัย(5 นาที)
แจก ใบความรู้ ที่แสดงตัวอย่าง การเขียนกรอบ
แนวคิดการวิจัย
เขียนกรอบแนวคิดการวิจัย งานวิจัยของ
ตนเอง
08/07/15รศ.ดร.กุหลาบรัตนสัจธรรมม.บูรพา
42
กิจกรรม AAR
(After Action Review) (5 นาที)
1.ในการอบรมวันนี้ สิ่ง/เรื่อง ที่ท่านคาดหวัง
และเกินความคาดหวัง มีอะไรบ้าง
2. ท่านชอบเนื้อหาใดมากที่สุด
3.ท่านคิดว่าเทคนิคในการทบทวนวรรณกรรมใด
น่าสนใจที่สุด ท่านจะนำาไปใช้ประโยชน์ อย่างไร
บ้าง
บรรณานุก
รม
การทบทวนวรรณกรรม, ดร.สุธีระ
ประเสริฐสรรพ์
ขอขอบคุณเจ้าของตำาราต่างๆ เพื่อเผย

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการWatcharapol Wiboolyasarin
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยTwatchai Tangutairuang
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นPattapong Promchai
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยNU
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้Bhayubhong
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551Utai Sukviwatsirikul
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
งานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์
งานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์งานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์
งานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์Pornsitaintharak
 
ข้อสอบแบบจับคู่
ข้อสอบแบบจับคู่ ข้อสอบแบบจับคู่
ข้อสอบแบบจับคู่ Nuch Silarak
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...Totsaporn Inthanin
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่าง
5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่าง5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่าง
5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่างNitinop Tongwassanasong
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานPattapong Promchai
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง0804900158
 
ระบบสนับสนุนการเรียนรู้สำหรับศตวรรษที่21
ระบบสนับสนุนการเรียนรู้สำหรับศตวรรษที่21ระบบสนับสนุนการเรียนรู้สำหรับศตวรรษที่21
ระบบสนับสนุนการเรียนรู้สำหรับศตวรรษที่21tangpattara
 
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลDuangdenSandee
 

Was ist angesagt? (20)

การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการ
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่น
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
 
Trianglulation
TrianglulationTrianglulation
Trianglulation
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
งานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์
งานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์งานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์
งานทัศนศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์
 
ข้อสอบแบบจับคู่
ข้อสอบแบบจับคู่ ข้อสอบแบบจับคู่
ข้อสอบแบบจับคู่
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
Business Model Canvas Tools
Business Model Canvas ToolsBusiness Model Canvas Tools
Business Model Canvas Tools
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่าง
5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่าง5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่าง
5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่าง
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
 
ระบบสนับสนุนการเรียนรู้สำหรับศตวรรษที่21
ระบบสนับสนุนการเรียนรู้สำหรับศตวรรษที่21ระบบสนับสนุนการเรียนรู้สำหรับศตวรรษที่21
ระบบสนับสนุนการเรียนรู้สำหรับศตวรรษที่21
 
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
 

Andere mochten auch

การทบทวนวรรณกรรม
การทบทวนวรรณกรรมการทบทวนวรรณกรรม
การทบทวนวรรณกรรมChacrit Sitdhiwej
 
เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1
เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1
เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1Prachyanun Nilsook
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อAnchalee BuddhaBucha
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
นำเสนอครั้งที่ 1-60258
นำเสนอครั้งที่ 1-60258นำเสนอครั้งที่ 1-60258
นำเสนอครั้งที่ 1-60258Ampol Sonwises
 
บทที่ 1 วิจัย
บทที่ 1 วิจัยบทที่ 1 วิจัย
บทที่ 1 วิจัยNatmol Thedsanabun
 
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูล ภูมิ...
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูลภูมิ...บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูลภูมิ...
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูล ภูมิ...Chingchai Humhong
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to DatabaseOpas Kaewtai
 
ICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framworkICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framworkBunsasi
 
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยNuttz Kasemmussu
 
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ HomestayKorawan Sangkakorn
 

Andere mochten auch (20)

การทบทวนวรรณกรรม
การทบทวนวรรณกรรมการทบทวนวรรณกรรม
การทบทวนวรรณกรรม
 
Cloud computing
Cloud computingCloud computing
Cloud computing
 
Chapter2 literaturereview
Chapter2 literaturereviewChapter2 literaturereview
Chapter2 literaturereview
 
เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1
เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1
เทคนิคการเรียบเรียงวรรณกรรม1
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
นำเสนอครั้งที่ 1-60258
นำเสนอครั้งที่ 1-60258นำเสนอครั้งที่ 1-60258
นำเสนอครั้งที่ 1-60258
 
บทที่ 1 วิจัย
บทที่ 1 วิจัยบทที่ 1 วิจัย
บทที่ 1 วิจัย
 
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูล ภูมิ...
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูลภูมิ...บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูลภูมิ...
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูล ภูมิ...
 
Example of gis&rs applications
Example of gis&rs applicationsExample of gis&rs applications
Example of gis&rs applications
 
District health system
District health systemDistrict health system
District health system
 
Interactive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctuInteractive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctu
 
1109291212453896 12111614140548
1109291212453896 121116141405481109291212453896 12111614140548
1109291212453896 12111614140548
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
Educational Technology at NSTDA
Educational Technology at NSTDAEducational Technology at NSTDA
Educational Technology at NSTDA
 
ICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framworkICT 2020 Conceptual framwork
ICT 2020 Conceptual framwork
 
Android room award 2556
Android room award 2556Android room award 2556
Android room award 2556
 
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
 
Project present
Project presentProject present
Project present
 
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
 

Ähnlich wie เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)

บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงPpt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงAttaporn Saranoppakun
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecturesupimon1956
 
[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography databaseJoy sarinubia
 
Research9 writing research_report
Research9 writing research_reportResearch9 writing research_report
Research9 writing research_reportSani Satjachaliao
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างอรุณศรี
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศsupimon1956
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practicepyopyo
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยPrachyanun Nilsook
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesSrion Janeprapapong
 

Ähnlich wie เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล) (20)

บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงPpt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecture
 
Review literature in nursing
Review literature in nursingReview literature in nursing
Review literature in nursing
 
Km1
Km1Km1
Km1
 
[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database
 
Cu reflibrary110610
Cu reflibrary110610Cu reflibrary110610
Cu reflibrary110610
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
Research9 writing research_report
Research9 writing research_reportResearch9 writing research_report
Research9 writing research_report
 
Research1
Research1Research1
Research1
 
Bliography
BliographyBliography
Bliography
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
Ppt2
Ppt2Ppt2
Ppt2
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัย
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
 

Mehr von สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ ลูกไก่รุ่นที่สอง

การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ ลูกไก่รุ่นที่สอง
 

Mehr von สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ ลูกไก่รุ่นที่สอง (8)

3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
 
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
 
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
 
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 2
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 2ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 2
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 2
 
ดร.เจษฎา ชาตรี
ดร.เจษฎา  ชาตรีดร.เจษฎา  ชาตรี
ดร.เจษฎา ชาตรี
 
ดร.จักรพันธ์ โสมะเกษตริน
ดร.จักรพันธ์  โสมะเกษตรินดร.จักรพันธ์  โสมะเกษตริน
ดร.จักรพันธ์ โสมะเกษตริน
 
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...
 
ปรัชญาและหลักการวิจัยในรูปแบบต่าง ๆ (ดร.เจษฎา โพนแก้ว)
ปรัชญาและหลักการวิจัยในรูปแบบต่าง ๆ (ดร.เจษฎา โพนแก้ว)ปรัชญาและหลักการวิจัยในรูปแบบต่าง ๆ (ดร.เจษฎา โพนแก้ว)
ปรัชญาและหลักการวิจัยในรูปแบบต่าง ๆ (ดร.เจษฎา โพนแก้ว)
 

เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)