SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 10
Downloaden Sie, um offline zu lesen
หน่วยที่ 7 
การควบคุมทางไฟฟ้า 
(Electric Controls) 
ในการศึกษาการทำงานของการควบคุมทางไฟฟ้าสำหรับเครื่องทำความเย็น จะแบ่ง ออกเป็นสัญลักษณ์ อุปกรณ์ควบคุมทางไฟฟ้า และวงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ ซึ่งมีรายละเอียดที่ จะต้องศึกษาดังต่อไปนี้ 
7.1 สัญลักษณ์ (Symbols) 
ในการควบคุมทางไฟฟ้าส่วนที่สำคัญคือการเข้าใจความหมายของสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ ใน วงจรไฟฟ้าของเครื่องทำความเย็นแสดงในภาพที่ 7.1 
สัญลักษณ์ 
ความหมาย 
สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติ 
คาปาซิเตอร์ 
สวิตช์ 2 ขั้วสับทางเดียว 
เคอร์เรนท์รีเลย์ 
โปเทนเชียนรีเลย์ 
อุปกรณ์ป้องกันกระแสไหลเกิน 
หลอดไฟ 
สวิตช์ 1 ขั้วสับทางเดียว 
สวิตช์ 1 ขั้วสับ 2 ทาง 
มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ 1 เฟส 
ภาพที่ 7.1 สัญลักษณ์การควบคุมทางไฟฟ้า
7.2 อุปกรณ์ควบคุมทางไฟฟ้า 
7.2.1 เคอร์เรนท์รีเลย์ (Current Relay) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ช่วยในการสตาร์ทมอเตอร์ คอมเพรสเซอร์ให้ทำงาน อาศัยการทำงานโดยใช้กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านขดลวดรันทำให้เกิดอำนาจ แม่เหล็กไฟฟ้าในการควบคุมรีเลย์ จึงเรียกรีเลย์ชนิดนี้ว่าเคอร์เรนท์รีเลย์ นิยมใช้กับวงจรไฟฟ้าในตู้เย็น ตู้แช่ และตู้ทำน้ำเย็น 
1) โครงสร้างส่วนประกอบของเคอร์เรนท์รีเลย์ 
ภาพที่ 7.2 แสดงโครงสร้างของเคอร์เรนท์รีเลย์ 
2) การทำงาน ขดลวดในรีเลย์ (L-M) ต่ออนุกรมกับขดลวดรัน (C-R) ของ มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ หน้าสัมผัส (L-S) เป็นแบบปกติเปิด (N.O.) และต่ออนุกรมกับขดลวดสตาร์ท (C- S) ขณะสตาร์ทจะมีกระแสไหลผ่านขดลวดรันมาก ทำให้ขดลวด L– M ของรีเลย์มีกระแสผ่านมาก ด้วย จึงสร้างสนามแม่เหล็กดูดหน้าสัมผัส L– S ต่อให้ขดลวดสตาร์ทครบวงจร ทำให้มอเตอร์ คอมเพรสเซอร์เริ่มต้นทำงานได้ หลังจากนั้นกระแสที่ผ่านขดลวดรันและผ่านขดลวดของรีเลย์น้อยลง หน้าสัมผัส L– S จะตัดเหลือให้ขดลวดรันทำงานต่อไปเพียงขดเดียว 
ภาพที่ 7.3 แสดงวงจรการทำงานเคอร์เรนท์รีเลย์ 
3) การนำไปใช้งาน การตรวจเช็คทำได้โดยใช้โอห์มมิเตอร์วัดขั้ว L – M ซึ่งจะมี ค่าความต้านทานของขดลวดในรีเลย์ เมื่อวัดขั้ว L–S ในแนวตั้งจะมีค่าความต้านทานเป็น ∞ (หน้าสัมผัส L – S แยกจากกัน) และเมื่อวัดขั้ว L–S ในแนวตรงข้ามจะมีค่าความต้านเป็นศูนย์โอห์ม การติดตั้งจะต้องวางในแนวตั้งให้ถูกต้อง เพราะหน้าสัมผัสจะเปิดได้โดยอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลก (Gravity) และขนาดของรีเลย์ที่นำไปใช้งานจะต้องขนาดกำลังเท่ากับมอเตอร์คอมเพรสเซอร์
7.2.2 โปเทนเชียนรีเลย์ (Potential Relay) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ช่วยในการสตาร์ท มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ให้ทำงาน อาศัยการทำงานโดยอาศัยค่าความต่างศักย์ที่เกิดจากขดลวดสตาร์ท ของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์กระทำผ่านขดลวดในรีเลย์ ทำการตัดหน้าสัมผัสในรีเลย์ จึงเรียกรีเลย์ชนิด นี้ว่าโปเทนเชียนรีเลย์รีเลย์ นิยมใช้กับวงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน 
1) โครงสร้างส่วนประกอบโปเทนเชียนรีเลย์ 
1) โครงสร้างส่วนประกอบของโปเทนเชียนรีเลย์ 
ภาพที่ 7.4 แสดงโครงสร้างของโปเทนเชียนรีเลย์ 
2) การทำงาน หน้าสัมผัส (1-2) เป็นแบบปกติต่อ (N.C.) ขดลวดรีเลย์ (2-5) รับ แรงเคลื่อนไฟฟ้าจากขดลวดสตาร์ทของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ หน้าสัมผัส 1–2 จะต่อให้คาปาชิเตอร์ สตาร์ทครบวงจร ทำให้มอเตอร์เริ่มสตาร์ทได้ และเมื่อมอเตอร์หมุนด้วยความเร็วประมาณ 75% ของ ความเร็วรอบปกติซึ่งใช้เวลาประมาณ 1–3 วินาที ในช่วงนี้ขดลวดสตาร์ทจะสร้างแรงเคลื่อนไฟฟ้า (Pick up voltage) ให้ขดลวด 2–5 ของรีเลย์ตัดหน้าสัมผัส 1–2 ทำให้คาปาซิเตอร์สตาร์ทถูกตัดออก จากวงจร 
ภาพที่ 7.5 แสดงการทำงานวงจรโปเทนเชียลรีเลย์ 
3) การนำใช้งานจะต้องอยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้องตามที่ผู้ผลิตกำหนด เพราะจะมี ผลต่อการตัดต่อหน้าสัมผัส การตรวจเช็คทำโดยใช้โอห์มมิเตอร์วัดขั้ว 1–2 จะได้ค่าความต้านทานของ หน้าสัมผัสเท่ากับศูนย์โอห์ม และวัดขั้ว 2–5 จะได้ค่าความต้านทานของขดลวดรีเลย์
7.2.3 เทอร์โมสตัท (Thermostat) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิภายในตู้เย็นหรือ ภายในห้องปรับอากาศให้อยู่ในช่วงที่ต้องการโดยอัตโนมัติ ในขณะที่อุณหภูมิในตู้เย็นหรือในห้องปรับ อากาศยังสูงอยู่ หน้าสัมผัสของเทอร์โมสตัตจะต่ออยู่ มอเตอร์คอมเพรสเซอร์จะทำงานดูดอัดน้ำยา ทำให้เกิดความเย็นที่อีแวปปอเรเตอร์และเมื่ออุณหภูมิภายในตู้เย็นหรือในห้องปรับอากาศลดต่ำลง จนถึงจุดที่ตั้งไว้ หน้าสัมผัสของเทอร์โมสตัตจะแยกออกทำให้มอเตอร์คอมเพรสเซอร์หยุดทำงาน จนกระทั่งอุณภูมิภายในสูงขึ้นอีก หน้าสัมผัสของเทอร์โมสตัตจะกลับมาต่ออีก เทอร์โมสตัทที่จะ กล่าวถึงต่อไปนี้เป็นแบบกระเปาะ 
1) โครงสร้างของเทอร์โมสตัตแบบกระเปาะ 
ภาพที่ 7.6 แสดงเทอร์โมสตัตแบบกระเปาะ 
2) การทำงานของเทอร์โมสตัตแบบกระเปาะ ทำงานโดยอาศัยหลักการขยายตัว ของของเหลวหรือแก๊สที่บรรจุอยู่ในกระเปาะซึ่งจะขยายตัวเมื่อถูกความร้อนและหดตัวได้เมื่อได้รับ ความเย็น ขณะที่สารซึ่งบรรจุอยู่ในกระเปาะขยายตัวจะไหลผ่านท่อเล็ก ๆ ที่ต้องเข้าไปยังเบลโล ทำ ให้ความดันในเบลโลเพิ่มขึ้นและยืดออก เป็นผลให้หน้าสัมผัสของเทอร์โมสตัตต่อกัน มอเตอร์ คอมเพรสเซอร์จะทำงานดูดอัดน้ำยาและเมื่ออุณหภูมิภายในห้องปรับอากาศลดต่ำลง สารซึ่งบรรจุใน กระเปาะจะหดตัวเป็นผลทำให้ความดันในเบลโลลดลงและหดตัวทำให้หน้าสัมผัสของเทอร์โมสตัตแยก จากกัน ส่งผลให้มอเตอร์คอมเพรสเซอร์หยุดทำงาน 
3) ในการควบคุมอุณหภูมิจะมีที่ปรับภายนอก ถ้าปรับหมุนทวนเข็มนาฬิกาจะ เป็นการเพิ่มแรงดันสปริงซึ่งต่อต้านกับแรงดันของแก๊สในเบลโล เท่ากับว่าเป็นการเพิ่มความดันในเบล โลให้สูงขึ้นจะทำให้หน้าสัมผัสจากออก และถ้าหมุนตามเข็มนาฬิกาก็จะเป็นการลดแรงดันสปริง ซึ่ง เป็นการควบคุมอุณหภูมิจุดตัดให้ต่ำลงเป็นการปรับอุณภูมิภายในตู้เย็นหรือในห้องปรับอากาศให้เย็นจัด
7.2.4 โอเวอร์โหลด (Over load) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ป้องกันขดลวดภายในมอเตอร์ของ คอมเพรสเซอร์ ไม่ให้เสียหายเมื่อกระแสผ่านขดลวดมากผิดปกติ หรือเมื่อขดลวดร้อนจัดอาศัยหลักการ ของโลหะสองชนิดที่มีสัมประสิทธิ์การขยายตัวไม่เท่ากันติดกัน ขณะมอเตอร์ทำงานปกติหน้าสัมผัสของ โอเวอร์โหลดจะต่ออยู่ ถ้ามอเตอร์กินกระแสมากเกินไปทำให้เกิดความร้อน โลหะทั้งสองจะขยายตัวไม่ เท่ากันเกิดการงอตัวทำให้หน้าสัมผัสแยกจากกัน ตัดวงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ป้องกันไม่ให้ขดลวด มอเตอร์ไหม้ และเมื่ออุณหภูมิมอเตอร์คอมเพรสเซอร์เย็นลงโลหะทั้งสองชนิดก็จะหดตัวดึงหน้าสัมผัสให้ กลับมาต่ออีกครั้ง โอเวอร์โหลดโดยทั่วไปมี 2 ชนิด คือ 
1) โอเวอร์โหลดชนิดติดตั้งภายนอก (External line) ตัวอุปกรณ์ป้องกันติดตั้ง อยู่ภายนอกตัวมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ ทำหน้าที่ตัดวงจรเมื่อกระแสไหลผ่านขดลวดมากผิดปกติ บาง ชนิดจะติดตั้งโดยแนบตัวอุปกรณ์ป้องกันกับเปลือกนอก เพื่อตัดวงจรเมื่อมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ร้อนจัด จนอาจทำให้ขดลวดภายในเสียหายได้ การเลือกขนาดของอุปกรณ์ป้องกันจะต้องสัมพันธ์กับขนาด กำลังม้าของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ 
ภาพที่ 7.7 อุปกรณ์ป้องกันชนิดติดตั้งภายนอก 
2) โอเวอร์โหลดชนิดติดตั้งภายใน (Internal line – break overload) ตัว อุปกรณ์ป้องกันจะติดตั้งภายในมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ โดยแนบตัวอุปกรณ์ป้องกันสัมผัสกับขดลวด ของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ จะทำหน้าที่ตัดวงจรเมื่อมีกระแสผ่านขดลวดมากผิดปกติ และเมื่อขดลวด ร้อนจัดซึ่งสาเหตุหลักจะเกิดขึ้นเมื่อสารทำความเย็นภายในระบบน้อยเกินไป และเนื่องจากติดตั้งอยู่ ภายใน เมื่อระบบทำงานผิดปกติจนอุปกรณ์ป้องกันตัดวงจร จะต้องใช้เวลานานนับชั่วโมง หน้าสัมผัส ภายในอุปกรณ์ป้องกันจึงจะกลับไปต่อวงจรเพื่อให้มอเตอร์ทำงานใหม่ 
ภาพที่ 7.8 อุปกรณ์ป้องกันชนิดติดตั้งภายใน
7.2.5 ดีฟรอสต์ไทม์เมอร์ วงจรควบคุมการทำงานของเครื่องทำความเย็น บางครั้งต้องการ ให้มีการเริ่มทำงานของอุปกรณ์บางอย่างหลังจากที่อุปกรณ์อีกตัวหนึ่งเริ่มทำงานไปแล้ว อาจจะเป็น วินาที นาที หรือชั่วโมง ตัวอย่างตู้เย็นระบบโนฟรอสต์จะต้องมีการละลายดีฟรอสต์โดยอัตโนมัติ หลังจากที่มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ทำงานแล้วและเริ่มมีดีฟรอสต์จับหนาขึ้นที่อีแวปปอเรเตอร์ เมื่อได้ ระยะเวลาที่ตั้งไว้ วงจรละลายดีฟรอสต์ก็จะเริ่มทำงาน อุปกรณ์ดังกล่าวคือ ดีฟรอสต์ไทม์เมอร์ 
ภาพที่ 7.9 แสดงการทำงานของดีฟรอสต์ไทม์เมอร์ 
จากภาพที่ 7.9 หลักการทำงานของดีฟรอสต์ไทม์เมอร์ ในการทำดีฟรอสต์สำหรับตู้เย็น ระบบละลายน้ำแข็ง ประกอบด้วยมอเตอร์ขนาดเล็ก เมื่อจ่ายกระแสไฟฟ้าเข้ามอเตอร์ มอเตอร์จะหมุน ขับเฟืองทดรอบให้หมุนช้าลง ไปผลักกลไกทำให้หน้าสัมผัสของรีเลย์ตัดวงจรเพื่อให้ระบบเครื่องทำ ความเย็นทำการละลายน้ำแข็ง อยู่ในช่วงระยะเวลาประมาณ 15 นาที และต่อให้วงจรการทำงานของ ระบบการทำความเย็นระยะเวลา 12-14 ชั่วโมง 
7.2.6 แมกเนติกคอนแทคเตอร์ (Magnetic contactor) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ตัดต่อ หน้าสัมผัสโดยอาศัยอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้า เพื่อควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ในวงจรไฟฟ้า เช่น มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ มอเตอร์พัดลม มอเตอร์ปั๊มน้ำ เป็นต้น การเลือกใช้มีดังนี้ 
1) ขนาดแรงเคลื่อนไฟฟ้าของขดลวดสร้างสนามแม่เหล็ก (Coil) เช่น 24 V , 220 V , 380 V เป็นต้น 
2) ความสามารถในการรับกระแสของหน้าสัมผัสหลัก (Main Contact) เช่น 20 A , 30 A , 60 A เป็นต้น 
3) ความต้องการในการใช้งานของหน้าสัมผัสช่วย (Auxiliary contact) 
4) จำนวนขั้วของหน้าสัมผัสหลักที่ต้องการใช้งาน เช่น 2 ขั้ว สำหรับระบบไฟ 220 V หรือ 3 ขั้ว สำหรับระบบไฟ 380 V 
ภาพที่ 7.10 แมกเนติกส์คอนแทคเตอร์
7.2.7 คาปาซิเตอร์แบบรัน (Run Capacitors) ใช้ในวงจรที่ต่อมอเตอร์แบบ PSC และCSR การต่อวงจรจะต่อคาปาซิเตอร์อนุกรมกับขดลวดสตาร์ทของมอเตอร์ และจะทำงานตลอดเวลาทั้งช่วง เริ่มต้นและช่วงทำงานปกติโดยไม่มีรีเลย์ตัดคาปาซิเตอร์ ออกจากวงจร ขนาดจะบอกความจุเป็นไมโคร ฟารัด (μF) การเลือกใช้จะต้องมีความจุไม่เกิน 10 % ของค่าที่กำหนด เพราะถ้ามีความจุมากเกินกว่า กำหนดจะทำให้กระแสไหลผ่านมอเตอร์มากและเกิดความร้อนในขดลวดสูง การตรวจเช็คคาปาชิเตอร์ ทำได้โดยใช้โอห์มมิเตอร์ 
ภาพที่ 7.11 แสดงคาปาซิเตอร์แบบรันชนิด 2 ขั้ว และ 3 ขั้ว 
คาปาซิเตอร์แบบรันนอกจากจะใช้กับมอเตอร์คอมเพรสเซอร์แล้วยังใช้กับมอเตอร์พัด ลมที่ต่อวงจรแบบ PSC ด้วย ขั้วต่อใช้งานของคาปาซิเตอร์ปกติจะมีขนาดความจุ 2 ค่าอยู่ในตัว คาปา ซิเตอร์เดียวกัน คาปาซิเตอร์แบบนี้จะมีขั้วต่อ 3 ขั้วหลักดังภาพที่ 7.9 การต่อใช้งานต้องพิจารณาที่ แผ่นบอกรายละเอียด (Name plate) เช่น คาปาซิเตอร์ตัวหนึ่งบอกขนาดความจุ 20/5 μF การใช้ งานต่อคาปาซิเตอร์ความจุ 20 μF สำหรับมอเตอร์คอมเพรสเซอร์และความจุ 5 μF สำหรับมอเตอร์ พัดลม 
7.2.8 คาปาซิเตอร์แบบสตาร์ท (Start Capacitors) ใช้ในวงจรที่ต่อมอเตอร์แบบ CSIR ที่ใช้ในเครื่องทำความเย็นขนาดเล็กไม่เกิน 3 / 4 แรงม้า และ แบบ CSR ที่ใช้ในเครื่องทำความเย็น ขนาดใหญ่ถึง 5 แรงม้า ออกแบบมาสำหรับการใช้งานเพียงช่วงเวลาสั้น ๆ ประมาณ 1-3 วินาที จึง ต้องต่อผ่านหน้าสัมผัสของรีเลย์เพื่อตัดคาปาซิเตอร์ออกจากวงจรหลังจากมอเตอร์สตาร์ท และเมื่อ ความเร็วสูงถึงประมาณ 75 % ของความเร็วรอบปกติ เนื่องจากคาปาซิเตอร์ต่ออนุกรมกับหน้าสัมผัส ของรีเลย์ ขณะทำงานจึงมีโอกาสเกิดประกายไฟที่หน้าสัมผัสทำให้เกิดการเสียหายที่หน้าสัมผัสของ รีเลย์จึงมักจะต่อตัวต้านทานขนาด 15,000 - 18,000 โอห์ม 2 วัตต์ คร่อมระหว่างขั้วทั้งสองของคาปา ซิเตอร์ การเลือกใช้คาปาซิเตอร์แบบสตาร์ทจะต้องเลือกค่าความจุตามที่กำหนดให้เหมาะสมกับขนาด ของคอมเพรสเซอร์ 
ภาพที่ 7.12 แสดงคาปาซิเตอร์แบบสตาร์ท
7.3 วงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ 
7.3.1 วงจร RSIR (Resistance Start – Induction Run) ทำงานโดยอาศัยรีเลย์ช่วย สตาร์ทชนิดทำงานด้วยกระแส (Current relay) ขณะเริ่มทำงานรีเลย์จะต่อวงจร สร้างแรงบิดมาก พอให้คอมเพรสเซอร์เริ่มทำงานได้ หลังจากนั้นรีเลย์จะตัดวงจรเหลือขดลวดรันทำงานเพียงขดเดียว ใช้ เฉพาะคอมเพรสเซอร์ขนาดเล็ก เช่น ที่ใช้ในตู้น้ำเย็น ขนาดไม่เกิน 1/3 แรงม้า ซึ่งต้องการกำลังทั้งช่วง สตาร์ทและช่วงทำงานปกติไม่มากนัก 
ภาพที่ 7.11 วงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์แบบ RSIR 
7.3.2 วงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์แบบ CSIR (Capacitor Start – Induction Run) เป็น การต่อวงจรมอเตอร์คล้ายกับ RSIR ต่างกันเพียงการเพิ่มคาปาซิเตอร์แบบสตาร์ทต่ออนุกรมระหว่าง หน้าสัมผัสของรีเลย์ และขดลวดสตาร์ทของมอเตอร์ จึงให้แรงบิดในช่วงเริ่มต้นดีกว่าแบบ RSIR ส่วน ช่วงทำงานปกติจะทำงานเหมือนกับ RSIR ใช้งานในเครื่องทำความเย็นขนาดเล็กจนถึงขนาด 3/4 แรงม้า 
ภาพที่ 7.12 วงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์แบบ CSIR 
7.3.3 วงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์แบบ PSC (Permanent Split Capacitor) การต่อ วงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ แบบ PSC ใช้คาปาซิเตอร์แบบรันต่ออนุกรมโดยถาวรกับขดลวดสตาร์ท ของมอเตอร์ คาปาซิเตอร์และขดลวดสตาร์ทจะต้องทำงานตลอดทั้งช่วงสตาร์ท และช่วงทำงานปกติ โดยไม่มีรีเลย์มาตัดวงจร ขณะทำงานจึงมีกระแสผ่านทั้งขดลวดรันและขดลวดสตาร์ท ทำให้มีกำลังขับ ดีกว่าแบบ RSIR และ CSIR ใช้ในเครื่องทำความเย็นและเครื่องปรับอากาศตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึง 5 แรงม้า โดยเฉพาะต้องเป็นระบบที่สามารถถ่ายเทความดันระหว่างด้านความดันสูงและความดันต่ำ (balance pressure) ได้ขณะคอมเพรสเซอร์หยุดทำงาน เช่น ระบบที่ใช้ Capillary tube
ภาพที่ 7.13 วงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์แบบ PSC 
7.3.4 วงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์แบบ CSR (Capacitor Start and Run) เป็นการต่อ วงจรมอเตอร์คล้ายกับแบบ PSC ต่างกันเพียงการเพิ่มคาปาซิเตอร์แบบสตาร์ทต่ออนุกรมกับขดลวด สตาร์ทของมอเตอร์ โดยมีรีเลย์ช่วยสตาร์ทชนิดทำงานด้วยค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า (potential relay) เป็นตัวตัดคาปาซิเตอร์ไม่ให้ทำงานหลังจากมอเตอร์เริ่มต้นทำงานและหมุนได้ความเร็วประมาณ 75% ของความเร็วรอบปกติ เป็นมอเตอร์ที่ให้กำลังช่วงเริ่มต้นดีกว่าแต่ช่วงปกติจะทำงานเหมือนกับแบบ PSC จึงถูกนำไปใช้กับระบบที่ไม่สามารถ balance pressure ขณะคอมเพรสเซอร์หยุดทำงานได้ เช่น ระบบที่ใช้ลิ้นลดความดันชนิด Thermostatic expansion valve 
ภาพที่ 7.14 วงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์แบบ CSR 
สรุปการต่อวงจรมอเตอร์ทั้ง 4 แบบ สามารถเลือกต่อวงจรให้เหมาะสมกับลักษณะงาน ได้ เช่น จากวงจรพื้นฐานแบบ RSIR สามารถปรับวงจรเป็นแบบ CSIR ได้ถ้าต้องการให้มอเตอร์ขนาด เล็กมีแรงบิดในช่วงเริ่มต้นทำงานดีขึ้น โดยการเพิ่มคาปาซิเตอร์แบบสตาร์ทในวงจร หรือวงจรพื้นฐาน แบบ PSC สามารถปรับวงจรเป็นแบบ CSR ได้เช่นเดียวกันเมื่อต้องการให้มอเตอร์ขนาดใหญ่มีแรงบิด ในช่วงเริ่มต้นดีขึ้น โดยการเพิ่มคาปาซิเตอร์แบบสตาร์ท และ potential relay มาต่อในวงจร
แบบทดสอบหน่วยที่ 7 
ใบงานที่ 6 งานตรวจสอบเคอร์เรนท์รีเลย์ 
ใบงานที่ 7 งานตรวจสอบเทอร์โมสตัท 
ใบงานที่ 8 งานตรวจสอบโอเวอร์โหลด 
ใบงานที่ 9 งานตรวจสอบดีฟรอสไทม์เมอร์ 
ใบงานที่ 10 วงจรไฟฟ้าตู้เย็น

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
dnavaroj
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
panupong
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
Suphot Chaichana
 
หน่วยที่ 3 เรื่องทรานซิสเตอร์
หน่วยที่ 3  เรื่องทรานซิสเตอร์หน่วยที่ 3  เรื่องทรานซิสเตอร์
หน่วยที่ 3 เรื่องทรานซิสเตอร์
สัน เคน
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
Wichai Likitponrak
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
Rock Rockie
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
biwty_keng
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
Mew' Cifer
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติ
Thphmo
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
teerachon
 

Was ist angesagt? (20)

เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
หน่วยที่ 2 เรื่องไดโอด
หน่วยที่ 2  เรื่องไดโอดหน่วยที่ 2  เรื่องไดโอด
หน่วยที่ 2 เรื่องไดโอด
 
หน่วยที่ 3 เรื่องทรานซิสเตอร์
หน่วยที่ 3  เรื่องทรานซิสเตอร์หน่วยที่ 3  เรื่องทรานซิสเตอร์
หน่วยที่ 3 เรื่องทรานซิสเตอร์
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ตัวเก็บประจุ
ตัวเก็บประจุตัวเก็บประจุ
ตัวเก็บประจุ
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
 

Andere mochten auch

หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าหลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
NeeNak Revo
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
NeeNak Revo
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
Peerapong Veluwanaruk
 
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
พอใจ พลายงาม
 
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
Tolaha Diri
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าบทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
Nattawut Kathaisong
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา
panusdet
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอร
Tay Atcharawan
 
สื่อหน่วยที่02
สื่อหน่วยที่02สื่อหน่วยที่02
สื่อหน่วยที่02
Prasert Boon
 

Andere mochten auch (20)

หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าหลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
 
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคารการติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
 
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
 
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
 
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
 
ตู้ควบคุมที่ใช้ในระบบไฟฟ้า MDB. (Main distribution board)
ตู้ควบคุมที่ใช้ในระบบไฟฟ้า MDB. (Main distribution board)ตู้ควบคุมที่ใช้ในระบบไฟฟ้า MDB. (Main distribution board)
ตู้ควบคุมที่ใช้ในระบบไฟฟ้า MDB. (Main distribution board)
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
 
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
 
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าบทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
 
โรงเรียนช่างเขียนแบบก่อสร้างสยาม
โรงเรียนช่างเขียนแบบก่อสร้างสยามโรงเรียนช่างเขียนแบบก่อสร้างสยาม
โรงเรียนช่างเขียนแบบก่อสร้างสยาม
 
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
แนวข้อสอบกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา
 
ตัวอย่างงานเขียนแบบโดยใช้ Visio
ตัวอย่างงานเขียนแบบโดยใช้ Visioตัวอย่างงานเขียนแบบโดยใช้ Visio
ตัวอย่างงานเขียนแบบโดยใช้ Visio
 
01 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r101 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r1
 
การใช้งาน Visio
การใช้งาน Visioการใช้งาน Visio
การใช้งาน Visio
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอร
 
สื่อหน่วยที่02
สื่อหน่วยที่02สื่อหน่วยที่02
สื่อหน่วยที่02
 

Ähnlich wie หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า

กลุ่ม1ชั้นม.301
กลุ่ม1ชั้นม.301กลุ่ม1ชั้นม.301
กลุ่ม1ชั้นม.301
Nattarika Somkrua
 
Dc ammeter
Dc ammeterDc ammeter
Dc ammeter
peerasuk
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์
Jiraporn
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
Parkz Zilch
 
Repair and modify motor of boiler
Repair and modify motor of boilerRepair and modify motor of boiler
Repair and modify motor of boiler
Phemakorn Khoonsri
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
Cocoa Otoko
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
Pongsakorn Poosankam
 

Ähnlich wie หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า (20)

53211845
5321184553211845
53211845
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
Elec1
Elec1Elec1
Elec1
 
กลุ่ม1ชั้นม.301
กลุ่ม1ชั้นม.301กลุ่ม1ชั้นม.301
กลุ่ม1ชั้นม.301
 
Temperature controller
Temperature controllerTemperature controller
Temperature controller
 
Sme 8 12-54
Sme 8 12-54Sme 8 12-54
Sme 8 12-54
 
อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์
 
Dc ammeter
Dc ammeterDc ammeter
Dc ammeter
 
Documents OKR (1).pptx
Documents OKR (1).pptxDocuments OKR (1).pptx
Documents OKR (1).pptx
 
53211817 10 december
53211817 10 december53211817 10 december
53211817 10 december
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์
 
Mt2 3 56
Mt2 3 56Mt2 3 56
Mt2 3 56
 
10 11 2011
10 11 201110 11 2011
10 11 2011
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
iBIT CIRCLE Programming Robot with microbit
iBIT CIRCLE Programming Robot with microbitiBIT CIRCLE Programming Robot with microbit
iBIT CIRCLE Programming Robot with microbit
 
Repair and modify motor of boiler
Repair and modify motor of boilerRepair and modify motor of boiler
Repair and modify motor of boiler
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 

หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า

  • 1. หน่วยที่ 7 การควบคุมทางไฟฟ้า (Electric Controls) ในการศึกษาการทำงานของการควบคุมทางไฟฟ้าสำหรับเครื่องทำความเย็น จะแบ่ง ออกเป็นสัญลักษณ์ อุปกรณ์ควบคุมทางไฟฟ้า และวงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ ซึ่งมีรายละเอียดที่ จะต้องศึกษาดังต่อไปนี้ 7.1 สัญลักษณ์ (Symbols) ในการควบคุมทางไฟฟ้าส่วนที่สำคัญคือการเข้าใจความหมายของสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ ใน วงจรไฟฟ้าของเครื่องทำความเย็นแสดงในภาพที่ 7.1 สัญลักษณ์ ความหมาย สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติ คาปาซิเตอร์ สวิตช์ 2 ขั้วสับทางเดียว เคอร์เรนท์รีเลย์ โปเทนเชียนรีเลย์ อุปกรณ์ป้องกันกระแสไหลเกิน หลอดไฟ สวิตช์ 1 ขั้วสับทางเดียว สวิตช์ 1 ขั้วสับ 2 ทาง มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ 1 เฟส ภาพที่ 7.1 สัญลักษณ์การควบคุมทางไฟฟ้า
  • 2. 7.2 อุปกรณ์ควบคุมทางไฟฟ้า 7.2.1 เคอร์เรนท์รีเลย์ (Current Relay) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ช่วยในการสตาร์ทมอเตอร์ คอมเพรสเซอร์ให้ทำงาน อาศัยการทำงานโดยใช้กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านขดลวดรันทำให้เกิดอำนาจ แม่เหล็กไฟฟ้าในการควบคุมรีเลย์ จึงเรียกรีเลย์ชนิดนี้ว่าเคอร์เรนท์รีเลย์ นิยมใช้กับวงจรไฟฟ้าในตู้เย็น ตู้แช่ และตู้ทำน้ำเย็น 1) โครงสร้างส่วนประกอบของเคอร์เรนท์รีเลย์ ภาพที่ 7.2 แสดงโครงสร้างของเคอร์เรนท์รีเลย์ 2) การทำงาน ขดลวดในรีเลย์ (L-M) ต่ออนุกรมกับขดลวดรัน (C-R) ของ มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ หน้าสัมผัส (L-S) เป็นแบบปกติเปิด (N.O.) และต่ออนุกรมกับขดลวดสตาร์ท (C- S) ขณะสตาร์ทจะมีกระแสไหลผ่านขดลวดรันมาก ทำให้ขดลวด L– M ของรีเลย์มีกระแสผ่านมาก ด้วย จึงสร้างสนามแม่เหล็กดูดหน้าสัมผัส L– S ต่อให้ขดลวดสตาร์ทครบวงจร ทำให้มอเตอร์ คอมเพรสเซอร์เริ่มต้นทำงานได้ หลังจากนั้นกระแสที่ผ่านขดลวดรันและผ่านขดลวดของรีเลย์น้อยลง หน้าสัมผัส L– S จะตัดเหลือให้ขดลวดรันทำงานต่อไปเพียงขดเดียว ภาพที่ 7.3 แสดงวงจรการทำงานเคอร์เรนท์รีเลย์ 3) การนำไปใช้งาน การตรวจเช็คทำได้โดยใช้โอห์มมิเตอร์วัดขั้ว L – M ซึ่งจะมี ค่าความต้านทานของขดลวดในรีเลย์ เมื่อวัดขั้ว L–S ในแนวตั้งจะมีค่าความต้านทานเป็น ∞ (หน้าสัมผัส L – S แยกจากกัน) และเมื่อวัดขั้ว L–S ในแนวตรงข้ามจะมีค่าความต้านเป็นศูนย์โอห์ม การติดตั้งจะต้องวางในแนวตั้งให้ถูกต้อง เพราะหน้าสัมผัสจะเปิดได้โดยอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลก (Gravity) และขนาดของรีเลย์ที่นำไปใช้งานจะต้องขนาดกำลังเท่ากับมอเตอร์คอมเพรสเซอร์
  • 3. 7.2.2 โปเทนเชียนรีเลย์ (Potential Relay) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ช่วยในการสตาร์ท มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ให้ทำงาน อาศัยการทำงานโดยอาศัยค่าความต่างศักย์ที่เกิดจากขดลวดสตาร์ท ของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์กระทำผ่านขดลวดในรีเลย์ ทำการตัดหน้าสัมผัสในรีเลย์ จึงเรียกรีเลย์ชนิด นี้ว่าโปเทนเชียนรีเลย์รีเลย์ นิยมใช้กับวงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน 1) โครงสร้างส่วนประกอบโปเทนเชียนรีเลย์ 1) โครงสร้างส่วนประกอบของโปเทนเชียนรีเลย์ ภาพที่ 7.4 แสดงโครงสร้างของโปเทนเชียนรีเลย์ 2) การทำงาน หน้าสัมผัส (1-2) เป็นแบบปกติต่อ (N.C.) ขดลวดรีเลย์ (2-5) รับ แรงเคลื่อนไฟฟ้าจากขดลวดสตาร์ทของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ หน้าสัมผัส 1–2 จะต่อให้คาปาชิเตอร์ สตาร์ทครบวงจร ทำให้มอเตอร์เริ่มสตาร์ทได้ และเมื่อมอเตอร์หมุนด้วยความเร็วประมาณ 75% ของ ความเร็วรอบปกติซึ่งใช้เวลาประมาณ 1–3 วินาที ในช่วงนี้ขดลวดสตาร์ทจะสร้างแรงเคลื่อนไฟฟ้า (Pick up voltage) ให้ขดลวด 2–5 ของรีเลย์ตัดหน้าสัมผัส 1–2 ทำให้คาปาซิเตอร์สตาร์ทถูกตัดออก จากวงจร ภาพที่ 7.5 แสดงการทำงานวงจรโปเทนเชียลรีเลย์ 3) การนำใช้งานจะต้องอยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้องตามที่ผู้ผลิตกำหนด เพราะจะมี ผลต่อการตัดต่อหน้าสัมผัส การตรวจเช็คทำโดยใช้โอห์มมิเตอร์วัดขั้ว 1–2 จะได้ค่าความต้านทานของ หน้าสัมผัสเท่ากับศูนย์โอห์ม และวัดขั้ว 2–5 จะได้ค่าความต้านทานของขดลวดรีเลย์
  • 4. 7.2.3 เทอร์โมสตัท (Thermostat) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิภายในตู้เย็นหรือ ภายในห้องปรับอากาศให้อยู่ในช่วงที่ต้องการโดยอัตโนมัติ ในขณะที่อุณหภูมิในตู้เย็นหรือในห้องปรับ อากาศยังสูงอยู่ หน้าสัมผัสของเทอร์โมสตัตจะต่ออยู่ มอเตอร์คอมเพรสเซอร์จะทำงานดูดอัดน้ำยา ทำให้เกิดความเย็นที่อีแวปปอเรเตอร์และเมื่ออุณหภูมิภายในตู้เย็นหรือในห้องปรับอากาศลดต่ำลง จนถึงจุดที่ตั้งไว้ หน้าสัมผัสของเทอร์โมสตัตจะแยกออกทำให้มอเตอร์คอมเพรสเซอร์หยุดทำงาน จนกระทั่งอุณภูมิภายในสูงขึ้นอีก หน้าสัมผัสของเทอร์โมสตัตจะกลับมาต่ออีก เทอร์โมสตัทที่จะ กล่าวถึงต่อไปนี้เป็นแบบกระเปาะ 1) โครงสร้างของเทอร์โมสตัตแบบกระเปาะ ภาพที่ 7.6 แสดงเทอร์โมสตัตแบบกระเปาะ 2) การทำงานของเทอร์โมสตัตแบบกระเปาะ ทำงานโดยอาศัยหลักการขยายตัว ของของเหลวหรือแก๊สที่บรรจุอยู่ในกระเปาะซึ่งจะขยายตัวเมื่อถูกความร้อนและหดตัวได้เมื่อได้รับ ความเย็น ขณะที่สารซึ่งบรรจุอยู่ในกระเปาะขยายตัวจะไหลผ่านท่อเล็ก ๆ ที่ต้องเข้าไปยังเบลโล ทำ ให้ความดันในเบลโลเพิ่มขึ้นและยืดออก เป็นผลให้หน้าสัมผัสของเทอร์โมสตัตต่อกัน มอเตอร์ คอมเพรสเซอร์จะทำงานดูดอัดน้ำยาและเมื่ออุณหภูมิภายในห้องปรับอากาศลดต่ำลง สารซึ่งบรรจุใน กระเปาะจะหดตัวเป็นผลทำให้ความดันในเบลโลลดลงและหดตัวทำให้หน้าสัมผัสของเทอร์โมสตัตแยก จากกัน ส่งผลให้มอเตอร์คอมเพรสเซอร์หยุดทำงาน 3) ในการควบคุมอุณหภูมิจะมีที่ปรับภายนอก ถ้าปรับหมุนทวนเข็มนาฬิกาจะ เป็นการเพิ่มแรงดันสปริงซึ่งต่อต้านกับแรงดันของแก๊สในเบลโล เท่ากับว่าเป็นการเพิ่มความดันในเบล โลให้สูงขึ้นจะทำให้หน้าสัมผัสจากออก และถ้าหมุนตามเข็มนาฬิกาก็จะเป็นการลดแรงดันสปริง ซึ่ง เป็นการควบคุมอุณหภูมิจุดตัดให้ต่ำลงเป็นการปรับอุณภูมิภายในตู้เย็นหรือในห้องปรับอากาศให้เย็นจัด
  • 5. 7.2.4 โอเวอร์โหลด (Over load) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ป้องกันขดลวดภายในมอเตอร์ของ คอมเพรสเซอร์ ไม่ให้เสียหายเมื่อกระแสผ่านขดลวดมากผิดปกติ หรือเมื่อขดลวดร้อนจัดอาศัยหลักการ ของโลหะสองชนิดที่มีสัมประสิทธิ์การขยายตัวไม่เท่ากันติดกัน ขณะมอเตอร์ทำงานปกติหน้าสัมผัสของ โอเวอร์โหลดจะต่ออยู่ ถ้ามอเตอร์กินกระแสมากเกินไปทำให้เกิดความร้อน โลหะทั้งสองจะขยายตัวไม่ เท่ากันเกิดการงอตัวทำให้หน้าสัมผัสแยกจากกัน ตัดวงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ป้องกันไม่ให้ขดลวด มอเตอร์ไหม้ และเมื่ออุณหภูมิมอเตอร์คอมเพรสเซอร์เย็นลงโลหะทั้งสองชนิดก็จะหดตัวดึงหน้าสัมผัสให้ กลับมาต่ออีกครั้ง โอเวอร์โหลดโดยทั่วไปมี 2 ชนิด คือ 1) โอเวอร์โหลดชนิดติดตั้งภายนอก (External line) ตัวอุปกรณ์ป้องกันติดตั้ง อยู่ภายนอกตัวมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ ทำหน้าที่ตัดวงจรเมื่อกระแสไหลผ่านขดลวดมากผิดปกติ บาง ชนิดจะติดตั้งโดยแนบตัวอุปกรณ์ป้องกันกับเปลือกนอก เพื่อตัดวงจรเมื่อมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ร้อนจัด จนอาจทำให้ขดลวดภายในเสียหายได้ การเลือกขนาดของอุปกรณ์ป้องกันจะต้องสัมพันธ์กับขนาด กำลังม้าของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ ภาพที่ 7.7 อุปกรณ์ป้องกันชนิดติดตั้งภายนอก 2) โอเวอร์โหลดชนิดติดตั้งภายใน (Internal line – break overload) ตัว อุปกรณ์ป้องกันจะติดตั้งภายในมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ โดยแนบตัวอุปกรณ์ป้องกันสัมผัสกับขดลวด ของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ จะทำหน้าที่ตัดวงจรเมื่อมีกระแสผ่านขดลวดมากผิดปกติ และเมื่อขดลวด ร้อนจัดซึ่งสาเหตุหลักจะเกิดขึ้นเมื่อสารทำความเย็นภายในระบบน้อยเกินไป และเนื่องจากติดตั้งอยู่ ภายใน เมื่อระบบทำงานผิดปกติจนอุปกรณ์ป้องกันตัดวงจร จะต้องใช้เวลานานนับชั่วโมง หน้าสัมผัส ภายในอุปกรณ์ป้องกันจึงจะกลับไปต่อวงจรเพื่อให้มอเตอร์ทำงานใหม่ ภาพที่ 7.8 อุปกรณ์ป้องกันชนิดติดตั้งภายใน
  • 6. 7.2.5 ดีฟรอสต์ไทม์เมอร์ วงจรควบคุมการทำงานของเครื่องทำความเย็น บางครั้งต้องการ ให้มีการเริ่มทำงานของอุปกรณ์บางอย่างหลังจากที่อุปกรณ์อีกตัวหนึ่งเริ่มทำงานไปแล้ว อาจจะเป็น วินาที นาที หรือชั่วโมง ตัวอย่างตู้เย็นระบบโนฟรอสต์จะต้องมีการละลายดีฟรอสต์โดยอัตโนมัติ หลังจากที่มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ทำงานแล้วและเริ่มมีดีฟรอสต์จับหนาขึ้นที่อีแวปปอเรเตอร์ เมื่อได้ ระยะเวลาที่ตั้งไว้ วงจรละลายดีฟรอสต์ก็จะเริ่มทำงาน อุปกรณ์ดังกล่าวคือ ดีฟรอสต์ไทม์เมอร์ ภาพที่ 7.9 แสดงการทำงานของดีฟรอสต์ไทม์เมอร์ จากภาพที่ 7.9 หลักการทำงานของดีฟรอสต์ไทม์เมอร์ ในการทำดีฟรอสต์สำหรับตู้เย็น ระบบละลายน้ำแข็ง ประกอบด้วยมอเตอร์ขนาดเล็ก เมื่อจ่ายกระแสไฟฟ้าเข้ามอเตอร์ มอเตอร์จะหมุน ขับเฟืองทดรอบให้หมุนช้าลง ไปผลักกลไกทำให้หน้าสัมผัสของรีเลย์ตัดวงจรเพื่อให้ระบบเครื่องทำ ความเย็นทำการละลายน้ำแข็ง อยู่ในช่วงระยะเวลาประมาณ 15 นาที และต่อให้วงจรการทำงานของ ระบบการทำความเย็นระยะเวลา 12-14 ชั่วโมง 7.2.6 แมกเนติกคอนแทคเตอร์ (Magnetic contactor) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ตัดต่อ หน้าสัมผัสโดยอาศัยอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้า เพื่อควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ในวงจรไฟฟ้า เช่น มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ มอเตอร์พัดลม มอเตอร์ปั๊มน้ำ เป็นต้น การเลือกใช้มีดังนี้ 1) ขนาดแรงเคลื่อนไฟฟ้าของขดลวดสร้างสนามแม่เหล็ก (Coil) เช่น 24 V , 220 V , 380 V เป็นต้น 2) ความสามารถในการรับกระแสของหน้าสัมผัสหลัก (Main Contact) เช่น 20 A , 30 A , 60 A เป็นต้น 3) ความต้องการในการใช้งานของหน้าสัมผัสช่วย (Auxiliary contact) 4) จำนวนขั้วของหน้าสัมผัสหลักที่ต้องการใช้งาน เช่น 2 ขั้ว สำหรับระบบไฟ 220 V หรือ 3 ขั้ว สำหรับระบบไฟ 380 V ภาพที่ 7.10 แมกเนติกส์คอนแทคเตอร์
  • 7. 7.2.7 คาปาซิเตอร์แบบรัน (Run Capacitors) ใช้ในวงจรที่ต่อมอเตอร์แบบ PSC และCSR การต่อวงจรจะต่อคาปาซิเตอร์อนุกรมกับขดลวดสตาร์ทของมอเตอร์ และจะทำงานตลอดเวลาทั้งช่วง เริ่มต้นและช่วงทำงานปกติโดยไม่มีรีเลย์ตัดคาปาซิเตอร์ ออกจากวงจร ขนาดจะบอกความจุเป็นไมโคร ฟารัด (μF) การเลือกใช้จะต้องมีความจุไม่เกิน 10 % ของค่าที่กำหนด เพราะถ้ามีความจุมากเกินกว่า กำหนดจะทำให้กระแสไหลผ่านมอเตอร์มากและเกิดความร้อนในขดลวดสูง การตรวจเช็คคาปาชิเตอร์ ทำได้โดยใช้โอห์มมิเตอร์ ภาพที่ 7.11 แสดงคาปาซิเตอร์แบบรันชนิด 2 ขั้ว และ 3 ขั้ว คาปาซิเตอร์แบบรันนอกจากจะใช้กับมอเตอร์คอมเพรสเซอร์แล้วยังใช้กับมอเตอร์พัด ลมที่ต่อวงจรแบบ PSC ด้วย ขั้วต่อใช้งานของคาปาซิเตอร์ปกติจะมีขนาดความจุ 2 ค่าอยู่ในตัว คาปา ซิเตอร์เดียวกัน คาปาซิเตอร์แบบนี้จะมีขั้วต่อ 3 ขั้วหลักดังภาพที่ 7.9 การต่อใช้งานต้องพิจารณาที่ แผ่นบอกรายละเอียด (Name plate) เช่น คาปาซิเตอร์ตัวหนึ่งบอกขนาดความจุ 20/5 μF การใช้ งานต่อคาปาซิเตอร์ความจุ 20 μF สำหรับมอเตอร์คอมเพรสเซอร์และความจุ 5 μF สำหรับมอเตอร์ พัดลม 7.2.8 คาปาซิเตอร์แบบสตาร์ท (Start Capacitors) ใช้ในวงจรที่ต่อมอเตอร์แบบ CSIR ที่ใช้ในเครื่องทำความเย็นขนาดเล็กไม่เกิน 3 / 4 แรงม้า และ แบบ CSR ที่ใช้ในเครื่องทำความเย็น ขนาดใหญ่ถึง 5 แรงม้า ออกแบบมาสำหรับการใช้งานเพียงช่วงเวลาสั้น ๆ ประมาณ 1-3 วินาที จึง ต้องต่อผ่านหน้าสัมผัสของรีเลย์เพื่อตัดคาปาซิเตอร์ออกจากวงจรหลังจากมอเตอร์สตาร์ท และเมื่อ ความเร็วสูงถึงประมาณ 75 % ของความเร็วรอบปกติ เนื่องจากคาปาซิเตอร์ต่ออนุกรมกับหน้าสัมผัส ของรีเลย์ ขณะทำงานจึงมีโอกาสเกิดประกายไฟที่หน้าสัมผัสทำให้เกิดการเสียหายที่หน้าสัมผัสของ รีเลย์จึงมักจะต่อตัวต้านทานขนาด 15,000 - 18,000 โอห์ม 2 วัตต์ คร่อมระหว่างขั้วทั้งสองของคาปา ซิเตอร์ การเลือกใช้คาปาซิเตอร์แบบสตาร์ทจะต้องเลือกค่าความจุตามที่กำหนดให้เหมาะสมกับขนาด ของคอมเพรสเซอร์ ภาพที่ 7.12 แสดงคาปาซิเตอร์แบบสตาร์ท
  • 8. 7.3 วงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ 7.3.1 วงจร RSIR (Resistance Start – Induction Run) ทำงานโดยอาศัยรีเลย์ช่วย สตาร์ทชนิดทำงานด้วยกระแส (Current relay) ขณะเริ่มทำงานรีเลย์จะต่อวงจร สร้างแรงบิดมาก พอให้คอมเพรสเซอร์เริ่มทำงานได้ หลังจากนั้นรีเลย์จะตัดวงจรเหลือขดลวดรันทำงานเพียงขดเดียว ใช้ เฉพาะคอมเพรสเซอร์ขนาดเล็ก เช่น ที่ใช้ในตู้น้ำเย็น ขนาดไม่เกิน 1/3 แรงม้า ซึ่งต้องการกำลังทั้งช่วง สตาร์ทและช่วงทำงานปกติไม่มากนัก ภาพที่ 7.11 วงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์แบบ RSIR 7.3.2 วงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์แบบ CSIR (Capacitor Start – Induction Run) เป็น การต่อวงจรมอเตอร์คล้ายกับ RSIR ต่างกันเพียงการเพิ่มคาปาซิเตอร์แบบสตาร์ทต่ออนุกรมระหว่าง หน้าสัมผัสของรีเลย์ และขดลวดสตาร์ทของมอเตอร์ จึงให้แรงบิดในช่วงเริ่มต้นดีกว่าแบบ RSIR ส่วน ช่วงทำงานปกติจะทำงานเหมือนกับ RSIR ใช้งานในเครื่องทำความเย็นขนาดเล็กจนถึงขนาด 3/4 แรงม้า ภาพที่ 7.12 วงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์แบบ CSIR 7.3.3 วงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์แบบ PSC (Permanent Split Capacitor) การต่อ วงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ แบบ PSC ใช้คาปาซิเตอร์แบบรันต่ออนุกรมโดยถาวรกับขดลวดสตาร์ท ของมอเตอร์ คาปาซิเตอร์และขดลวดสตาร์ทจะต้องทำงานตลอดทั้งช่วงสตาร์ท และช่วงทำงานปกติ โดยไม่มีรีเลย์มาตัดวงจร ขณะทำงานจึงมีกระแสผ่านทั้งขดลวดรันและขดลวดสตาร์ท ทำให้มีกำลังขับ ดีกว่าแบบ RSIR และ CSIR ใช้ในเครื่องทำความเย็นและเครื่องปรับอากาศตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึง 5 แรงม้า โดยเฉพาะต้องเป็นระบบที่สามารถถ่ายเทความดันระหว่างด้านความดันสูงและความดันต่ำ (balance pressure) ได้ขณะคอมเพรสเซอร์หยุดทำงาน เช่น ระบบที่ใช้ Capillary tube
  • 9. ภาพที่ 7.13 วงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์แบบ PSC 7.3.4 วงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์แบบ CSR (Capacitor Start and Run) เป็นการต่อ วงจรมอเตอร์คล้ายกับแบบ PSC ต่างกันเพียงการเพิ่มคาปาซิเตอร์แบบสตาร์ทต่ออนุกรมกับขดลวด สตาร์ทของมอเตอร์ โดยมีรีเลย์ช่วยสตาร์ทชนิดทำงานด้วยค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า (potential relay) เป็นตัวตัดคาปาซิเตอร์ไม่ให้ทำงานหลังจากมอเตอร์เริ่มต้นทำงานและหมุนได้ความเร็วประมาณ 75% ของความเร็วรอบปกติ เป็นมอเตอร์ที่ให้กำลังช่วงเริ่มต้นดีกว่าแต่ช่วงปกติจะทำงานเหมือนกับแบบ PSC จึงถูกนำไปใช้กับระบบที่ไม่สามารถ balance pressure ขณะคอมเพรสเซอร์หยุดทำงานได้ เช่น ระบบที่ใช้ลิ้นลดความดันชนิด Thermostatic expansion valve ภาพที่ 7.14 วงจรมอเตอร์คอมเพรสเซอร์แบบ CSR สรุปการต่อวงจรมอเตอร์ทั้ง 4 แบบ สามารถเลือกต่อวงจรให้เหมาะสมกับลักษณะงาน ได้ เช่น จากวงจรพื้นฐานแบบ RSIR สามารถปรับวงจรเป็นแบบ CSIR ได้ถ้าต้องการให้มอเตอร์ขนาด เล็กมีแรงบิดในช่วงเริ่มต้นทำงานดีขึ้น โดยการเพิ่มคาปาซิเตอร์แบบสตาร์ทในวงจร หรือวงจรพื้นฐาน แบบ PSC สามารถปรับวงจรเป็นแบบ CSR ได้เช่นเดียวกันเมื่อต้องการให้มอเตอร์ขนาดใหญ่มีแรงบิด ในช่วงเริ่มต้นดีขึ้น โดยการเพิ่มคาปาซิเตอร์แบบสตาร์ท และ potential relay มาต่อในวงจร
  • 10. แบบทดสอบหน่วยที่ 7 ใบงานที่ 6 งานตรวจสอบเคอร์เรนท์รีเลย์ ใบงานที่ 7 งานตรวจสอบเทอร์โมสตัท ใบงานที่ 8 งานตรวจสอบโอเวอร์โหลด ใบงานที่ 9 งานตรวจสอบดีฟรอสไทม์เมอร์ ใบงานที่ 10 วงจรไฟฟ้าตู้เย็น