SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 12
Downloaden Sie, um offline zu lesen
2



                                   บัตรเนือหาที่ 4.1
                                          ้
                                มุมภายในรู ปสามเหลียม่

ทฤษฎีบท ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรู ปสามเหลียมรวมกันเท่ ากับ 180 องศา
                                                   ่
ทฤษฎีบท ถ้ ามุมของรู ปสามเหลียมสองรู ปใด ๆ มีขนาดเท่ ากันสองคู่แล้ วมุมคู่ทสาม
                             ่                                             ่ี
        จะมีขนาดเท่ากันด้ วย

จากทฤษฎีบท เราสามารถพิสูจน์ได้ ดังนี้
            C                                       D         C                  E




  A                              B                  A                                B
กาหนดให้                ABC เป็ นรู ปสามเหลี่ยมใด ๆ
               ่
ต้องการพิสูจน์วา        CAB  ABC  BCA  180
พิสูจน์                สร้าง DE ผ่านจุด C ให้ DE//AB
                       เนื่องจาก AC เป็ นเส้นตัด DEและAB
                       DCA  CAB             (ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกันและมีเส้นตัด
                                              แล้วมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน)
                       ECB  ABC             (ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกันและมีเส้นตัด
                                              แล้วมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน)
                       DCA  BCA  ECB  180     (ขนาดของมุมตรง)
                       CAB  BCA  ABC  180     (แทน DCAด้วยCABและ ECB
                                                        ด้วย ABC )
                       ดังนั้น CAB  ABC  BCA  180 (สมบัติของการเท่ากัน)
3



                                   บัตรกิจกรรมที่ 4.1
                                มุมภายในรู ปสามเหลียม่

1. ให้นกเรี ยนทากิจกรรมที่กาหนดให้ต่อไปนี้ โดยใช้โปรแกรม GSP สร้าง
       ั
               R




     P                               Q
     1. สร้างรู ปสามเหลี่ยมหนึ่งรู ป กาหนดชื่อจุดแต่ละจุด
     2. สร้างส่ วนของเส้นตรงผ่านจุดยอดจุดหนึ่งให้ขนานกันเส้นฐาน
     3. วัดมุมทั้งสามของรู ปสามเหลี่ยม
     4. คานวณหาผลบวกของมุมของรู ปสามเหลี่ยม
     5. นาเสนอและพิจารณาการเปลี่ยนแปลง
     6. สรุ ปผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
2. ให้นกเรี ยนทากิจกรรมที่กาหนดให้ต่อไปนี้ โดยใช้โปรแกรม GSP สร้าง
        ั
    1. สร้างรู ปสามเหลี่ยม VUW จากรู ปที่กาหนดให้
    2. วัดมุมที่เหลือของรู ปสามเหลี่ยมว่าเท่ากันหรื อไม่
    3. สรุ ปผลที่เกิดขึ้น
                   N




             75              45
         M                          L
4



                  เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 4.1 มุมภายในรู ปสามเหลียม
                                                            ่
     1. ให้ นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้ ต่อไปนี้ โดยใช้ โปรแกรม GSP สร้ าง
                   D                C                   E
                            mACB = 66 




                   A mBAC = 59                 mABC = 55 
                                                    B
      สร้ างรูปสามเหลี่ ยมหนึ่งรูป กาหนดชือจุดแต่ล ะจุด
                                          ่
2.    สร้ างส่ วนของเส้ นตรงผ่านจุดยอดจุดหนึ่งให้ ข นานกันเส้ นฐาน
3.    วัดมุมทั้งสามของรูปสามเหลี่ ยม
4.    คานวณหาผลบวกของมุมของรูปสามเหลี่ ยม mBAC+mABC+mACB = 180
5.    นาเสนอและพิจารณาการเปลี่ ยนแปลง
6.    สรุปผลการเปลี่ ยนแปลงที่เกิดขึ้น
       ผลบวกของขนาดของมุมทั้งสามของรูปสามเหลี่ ยม เท่ ากับ 180o
          mBAC    mABC    mACB       mBA C+mABC+mACB
            59      55      66               18 0


2. ให้ นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้ ต่อไปนี้ โดยใช้ โปรแกรม GSP สร้ าง
          N                                                    W
       mMNL = 60.00                                       mVWU = 60.00


          75                 45                             V
      M                               L                                                   U
            1. สร้ างรูปสามเหลี่ ยม VUW จากรูปที่กาหนดให้
          1.1 สร้ างเส้ นตรง  VU 
            1.
          1.2 สร้ างมุม 75 องศา mUVW = 75.00
            2.
          1.3 สร้ างมุม 45 องศา mVUW = 45.00
            3.
          2.2 วัดมุมที่เหลื อของรูปสามเหลี่ ยมว่าเท่ ากันหรือไม่ mMNL = 60.00mVWU = 60.00
          3.3 สรุปผลที่เกิดขึ้น
      ถ้ ามุมของรูปสามเหลี่ ยมสองรูปใด ๆ มีข นาดเท่ ากันสองคู่แล้ วมุมคู่ที่ส ามจะมีข นาดเท่ ากันด้วย
5



                                           บัตรเนือหาที่ 4.2
                                                  ้
                                  มุมภายนอกกับมุมภายในรู ปสามเหลียม
                                                                 ่

ทฤษฎีบท ถ้าต่อด้านใดด้านหนึ่งของรู ปสามเหลี่ยมออกไปมุมภายนอกที่เกิดขึ้นจะมีขนาดเท่ากับ
        ผลบวกของขนาดของมุมภายในที่ไม่ใช่มุมประชิดของมุมภายนอกนั้น

ให้นกเรี ยนพิจารณารู ปต่อไปนี้
    ั
                                                  A




                                  B                                   D
                                                              C

กาหนดให้ ABC เป็ นสามเหลี่ยมรู ปหนึ่งต่อ BC ถึงจุด D
              
เรี ยก    ACD ว่า มุมภายนอกของรู ป ABC
                                                         
เรี ยก     ACB                ว่ามุมประชิดของ ACD
                                                                
                               ่
เรี ยก ABC และ BAC ว่ามุมที่อยูตรงข้ามมุมภายนอก ACD
                                    
จงแสดงว่า ACD  ABC  BAC
                                                
พิสูจน์ เนื่องจาก ABC  BAC  ACB  180                           (เป็ นมุมภายในรู ปสามเหลี่ยม
                                                                    รวมกันได้ 180 องศา)
                                         
          และ         ACB  ACD  180                             (เป็ นมุมตรง)
                                                              
          ดังนั้น     ACB  ACD  ABC  BAC  ACB (สมบัติการถ่ายทอด)
                                                                                          
         จะได้                ACD  ABC  BAC                     (สมบัติการเท่ากัน เมื่อนา ACB
                                                                   ลบทั้งสองข้าง)
6



                                              บัตรกิจกรรมที่ 4.2
                                      มุมภายนอกกับมุมภายในรู ปสามเหลียม
                                                                     ่

                                                         
1. จากรู ปที่กาหนดให้ต่อไปนี้ จงหาขนาดของ ABC
         1.       A                                      ตอบ ………………………………………..
                  30
                                                             ………………………………………..
                                                             ………………………………………..
                                                             ………………………………………..
              D                              C
                                                             ………………………………………..
                  A           B
 2.                     40                              ตอบ 2………………………………………..
                                                             ………………………………………..
                                                 D           ………………………………………..
                                                             ………………………………………..
                              B
                                                             ………………………………………..
     C
         3.
                                                             ………………………………………..
                      D                  B           C   ตอบ 2………………………………………..
                                                             ………………………………………..
                      130
                                                             ………………………………………..
                                                             ………………………………………..
 A
                                                             ………………………………………..
2. ABCDEF เป็ นรู ปหกเหลี่ยมใด ๆ จงหาผลบวกของขนาดของมุมภายใน
   ทั้งหกมุมของรู ปหกเหลี่ยมนี้           2………………………………………..
                  E               D
                                                         ตอบ ………………………………………..
                                                             ………………………………………..
         F                              C                    ………………………………………..
                                                             ………………………………………..
                  A           B                              ………………………………………..
                                                             2………………………………………..
7



                                                เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 4.2
                                          มุมภายนอกกับมุมภายในรู ปสามเหลียม
                                                                         ่

                                                                       
1. จากรู ปที่กาหนดให้ต่อไปนี้ จงหาขนาดของ ABC
         1.        A
                                                                      ตอบ เนื่องจาก ABC  ADB  BAD
                                                                                         90  30
                    30
                                                                                           120


              D                                     C
                  A                  B
 2.                       40
                                                                      ตอบ เนื่องจาก ABC  ADB  BAD
                                                         D                               40  40
                                                                                           80
                                    B

     C
         3.
                       D                       B             C
                                                                      ตอบ เนื่องจาก ABC  ADB  BAD
                       130                                                              130  25
                                                                                           155
 A
2. ABCDEF เป็ นรู ปหกเหลี่ยมใด ๆ จงหาผลบวกของขนาดของมุมภายใน
   ทั้งหกมุมของรู ปหกเหลี่ยมนี้
                                                                      ตอบ 1. ลากส่ วนของเส้นตรง AC,AD,AE
              E                    D mCDE = 117.64                      2. จะได้รูปสามเหลี่ยม 4 รู ป
         mDEF = 123.37
                                                                          3. มุมภายในรู ปสามเหลี่ยมรวมกันได้ 180
     F mEFA = 119.39                     C mBCD = 118.71              4. ดังนั้น มุมภายในทั้งหมดจะได้
                                                                               180  4  720
 mFAB = 120.96
              A                   B mABC = 119.93

 mFAB            mABC         mBCD     mCDE         mDEF    mEFA     mFAB+mABC+mBCD+mCDE+mDEF+mEFA
 120.96          119.93       118.71   117.64   123.37      119.39                 720.00
8



                                      บัตรเนือหาที่ 4.3
                                             ้
                 ความสั มพันธ์ ของรู ปสามเหลียมสองรู ปแบบ มุม – มุม – ด้ าน
                                               ่

ทฤษฎีบท ถ้ารู ปสามเหลี่ยมสองรู ปมีมุมที่มีขนาดเท่ากันสองคู่ และด้านคู่ที่ตรงข้ามกับ
           มุมคู่ที่มีขนาดเท่ากัน ยาวเท่ากันหนึ่งคู่แล้วรู ปสามเหลี่ยมสองรู ปนั้นจะ
           เท่ากันทุกประการ
ให้นกเรี ยนพิจารณารู ปต่อไปนี้
    ั                                                             D
                         A




                                     C               E                                 F
          B
                                                                        
กาหนดให้           ABCและDEF มี CAB  FDE,ABC  DEFและBC  EF
ต้องการพิสูจน์     ABC DEF
                                                              
พิสูจน์            เนื่องจาก CAB  FDEและABC  DEF                       ( กาหนดให้)
                                    
                   CAB  ABC  ACB  180 (ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของ
                                       รู ปสามเหลี่ยมรวมกันเท่ากับ 180 องศา)
                                   
                   FDE  DEF  EFD  180 (ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของ
                                        รู ปสามเหลี่ยมรวมกันเท่ากับ 180 องศา)
                                                                
     จะได้         CAB  ABC  ACB  FDE  DEF  EFD (สมบัติการเท่ากัน)
                            
     ดังนั้น      ACB  EFD                                 (สมบัติการเท่ากัน)
     และเนื่องจาก BC  EF                                   (กาหนดให้)
     ดังนั้น      ABC DEF                         (ความสัมพันธ์แบบ มุม – ด้าน – มุม)
                                             ั
    รู ปสามเหลี่ยมสองรู ปที่มีความสัมพันธ์กนแบบทฤษฎีบทนี้ เรี ยกว่า มีความสั มพันธ์ กนแบบ
                                                                                     ั
มุม – มุม – ด้ าน และบางครั้งเขียนย่อว่า ม. ม. ด.
9



                                 บัตรกิจกรรมที่ 4.3
             ความสั มพันธ์ ของรู ปสามเหลียมสองรู ปแบบ มุม – มุม – ด้ าน
                                         ่

  1. จากรู ปกาหนดให้ MN//PQ และ O เป็ นจุดกึ่งกลางของ NQ จงแสดงว่า
     MNO  PQO โดยความสัมพันธ์แบบ ม.ม.ด.
                       N                                   P


                                          O



                           M                                       Q
  พิสูจน์    1.   ………………………………..              (……………………………….)
             2.   ………………………………..              (……………………………….)
             3.   ………………………………..              (……………………………….)
             4.   ………………………………..              (……………………………….)
                                                             
2. จากรู ปกาหนดให้ AB//CD,ABE  35 และ ADC  45 จงหาว่า AEC กางกี่องศา
                               A                       B
                                                35


                                         E




                   C                             45
                                                           D
  วิธีทา ………………………………………………………………………………
  ……………………………………………………………………………………………………
  ……………………………………………………………………………………………………
  ……………………………………………………………………………………………………
  ……………………………………………………………………………………………………
  ……………………………………………………………………………………………………
10



                                เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 4.3
                ความสั มพันธ์ ของรู ปสามเหลียมสองรู ปแบบ มุม – มุม – ด้ าน
                                            ่

  2. จากรู ปกาหนดให้ MN//PQ และ O เป็ นจุดกึ่งกลางของ NQ จงแสดงว่า
     MNO  PQO โดยความสัมพันธ์แบบ ม.ม.ด.
   N                                 P             เคลื่ อนที่ OPQ ทับ NMO
       NO = 4.46 ซม.                               ไป
                                81.23
                 56.02 O 56.02                   กลั บ
                                                   ซ่ อน การวัด
           81.23        OQ = 4.46 ซม.
            M                                 Q

  พิสูจน์       1.   NMP  OPQ           (มุมแย้ง)
                2.   N0M  POQ           (มุมตรงข้าม)
                3.   NO  OQ            ( O เป็ นจุดกึ่งกลางของ NQ )
                4.   MNO  PQO        ( มุม – มุม – ด้าน )
                                                                
2. จากรู ปกาหนดให้ AB//CD,ABE  35 และ ADC  45 จงหาว่า AEC กางกี่องศา
                                  A                       B
                                                   35


                                           E




                      C                             45
                                                              D


  วิธีทา    1. CDE  BAE  45     (มุมแย้ ง)
            2. BAE  ABE  AEC (มุมภายนอกกับมุมภายในที่อยู่ตรงข้ ามกัน)
               จะได้ 45  35  80
                AEC  80
11



                                 บัตรเนือหาที่ 4.4
                                        ้
          การนาสมบัติของรู ปสามเหลียมและเส้ นขนานไปใช้ ในการแก้ปัญหา
                                   ่

ตัวอย่างที่ 1 จงหาขนาดของ x และ y ของรู ปสามเหลี่ยมที่กาหนดให้

                                x

                  45                          y   135

วิธีทา เนื่องจาก X  45  135                         (ผลบวกของมุมตรงข้ามภายในรู ปสามเหลี่ยม
                                                       กับมุมภายนอกจะมีขนาดเท่ากัน)
                           X  135  45
                           X  90
          เนื่องจาก Y  135  180                          (ขนาดของมุมตรง)
                         Y  180 135
                         Y  45
                                                    
ตัวอย่างที่ 2 กาหนดให้ BE//CF EBG  40 ,BGH  110 และCHG  100
                        
จงหาขนาดของ FCH
                                                                                             

                        A
                                                                        ่
                                                   วิธีทา ใน BEG จะได้วา BGH  GBE  BEG
                                       C                                          
                                                          ดังนั้น 110  40  BEG
                                                                  
                                                                 BEG  110  40  70
 E           G              100           F                            
                 110              H                             BEG  CFH  70 ( มุมแย้ง)
                                                                                    
       40                                                        CHG  HFC  FCH
                                                                              
      B                     D                             ดังนั้น 100  70  FCH
                                                                  
                                                                 FCH  100  70  30
12



                                      บัตรกิจกรรมที่ 4.4
                 การนาสมบัติของรู ปสามเหลียมและเส้ นขนานไปใช้ ในการแก้ปัญหา
                                          ่

                                                                     
1. กาหนดให้ AB//CD ถ้า DCF  40 , BEF  80 ,ABE  130
                             
     จงหาขนาดของ CFE พร้อมเขียนขั้นตอนการหาด้วยเป็ นข้อ ๆ
                                      E
                                                             ตอบ 1………………………………………..
                                     80
A
                     130                                        2………………………………………..
                         B
                                                       F         3………………………………………..
                                                                 4………………………………………..
                                                                 5………………………………………..
                                 40
                      C                                    D
                                                                 2………………………………………..
                                                              
2. กาหนดให้ AB//CD ถ้า DEF  120 ,BGF  160 จงหาค่าของ X พร้อมเขียนขั้นตอนการ
หามาด้วยเป็ นข้อ ๆ
 C                   E
                                                                   ตอบ 1………………………………………..
                                                           D
                      120
                                                                       2………………………………………..
                                                                       3………………………………………..
          F     X                                                      4………………………………………..
 A
                             160
                                                           B
                                                                       5………………………………………..
                                 G
                                                          
                                                                       2………………………………………..
                                                                          
3. กาหนดให้ AB//CD ถ้า BEF  60 ,ACF  75 และCAF  70
                                             
    จงหาขนาดของ AFD,FAE,EFA พร้อมเขียนขั้นตอนการหามาด้วยเป็ นข้อ ๆ
           A                     E                     B           ตอบ 1………………………………………..
                                     60
               70
                                                                       2………………………………………..
                                                                       3………………………………………..
     C   75                                           D
                                                                       4………………………………………..
                                                   F
                                                                       5………………………………………..
                                                                       2………………………………………..
13



                                        เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 4.4
                     การนาสมบัติของรู ปสามเหลียมและเส้ นขนานไปใช้ ในการแก้ปัญหา
                                              ่

                                                                                     
1. กาหนดให้ AB//CD ถ้า DCF  40 , BEF  80 ,ABE  130
                                   
     จงหาขนาดของ CFE พร้อมเขียนขั้นตอนการหาด้วยเป็ นข้อ ๆ
                                           E
                                                                               1. ลาก GF//CD จะได้ขนาดของ CFG  40
                                           80
A
                        130                     50       H
                                                                               (เป็ นมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน)
                           B
                                       mEFG = 50             F
                                                                               2. ลากเส้นตรงต่อจุด B ไปตัด EF ที่จุด H
                 G
                                       mCFG = 40                                จะได้ขนาดของ EHB  50  EFG
                                                                               (มุมภายนอกและมุมภายในข้างเดียวกันของเส้นตัด)
                          C        40                                 D
                                                                               3. จะได้ CFE  CFG  EFG  40  50  90
                                                                          
2. กาหนดให้ AB//CD ถ้า DEF  120 ,BGF  160 จงหาค่าของ X พร้อมเขียนขั้นตอนการ
หามาด้วยเป็ นข้อ ๆ
                  E
                                    1. ลาก FH//AB
 C                                D
                   120             2. จาก FH//AB จะได้ GFH  20
                                                                                  (มุมภายในข้างเดียวกันรวมกันได้ 180 )
                                                                               3. จาก CD//FH จะได้ E FH  60
         F       X
                 60                                   H
                  20                                                              (มุมภายในข้างเดียวกันรวมกันได้ 180 )
                                   160
A                                                                      B
                                       G                                       4. จะได้ x  GFH  EFH  20  60  80
                                                                                         
3. กาหนดให้ AB//CD ถ้า BEF  60 ,ACF  75 และCAF  70
                                                     
    จงหาขนาดของ AFD,FAE,EFA พร้อมเขียนขั้นตอนการหามาด้วยเป็ นข้อ ๆ
    mFAE = 35  mEFA = 25 
             A                         E
                                           60
                                                                   B
                                                                               1. จากรู ปจะได้ AFD  70  75  145
                 70
                                                                               2. จะได้ FAE  180 145  35
                                                                               3. จะได้ EFA  180 120  35  25
     C   75
                                   mAFD = 145
                                                                       D
                                                           F

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากวรรณิภา ไกรสุข
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนKanlayaratKotaboot
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองTum Anucha
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfssusera0c3361
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นInmylove Nupad
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละApirak Potpipit
 
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนพิทักษ์ ทวี
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยAun Wny
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามRitthinarongron School
 

Was ist angesagt? (20)

ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้งชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนาม
 

Ähnlich wie ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม

แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)ทับทิม เจริญตา
 
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7Laongphan Phan
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 krookay2012
 
10 การวางมุม 30 75
10 การวางมุม 30 7510 การวางมุม 30 75
10 การวางมุม 30 75Nut Seraphim
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติThphmo
 
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ปี 2552
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ปี 2552ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ปี 2552
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ปี 2552waranyuati
 
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตkrookay2012
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติchanphen
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2KruGift Girlz
 
อสมการ2
อสมการ2อสมการ2
อสมการ2krookay2012
 

Ähnlich wie ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม (20)

แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
 
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2
 
Math2
Math2Math2
Math2
 
10 การวางมุม 30 75
10 การวางมุม 30 7510 การวางมุม 30 75
10 การวางมุม 30 75
 
Onet math
Onet mathOnet math
Onet math
 
Key o net-math3-y54(2)
Key o net-math3-y54(2)Key o net-math3-y54(2)
Key o net-math3-y54(2)
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติ
 
O-NET ม.6-ตรีโกณมิติ
O-NET ม.6-ตรีโกณมิติO-NET ม.6-ตรีโกณมิติ
O-NET ม.6-ตรีโกณมิติ
 
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ปี 2552
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ปี 2552ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ปี 2552
ข้อสอบ Gsp จัดโดย สสวท. รอบคัดเลือกระดับประถมศึกษา ปี 2552
 
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
 
Treekon
TreekonTreekon
Treekon
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
นิทาน
นิทานนิทาน
นิทาน
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
123456789
123456789123456789
123456789
 
O traverse
O traverseO traverse
O traverse
 
อสมการ2
อสมการ2อสมการ2
อสมการ2
 
Ans_TME54_jh3
Ans_TME54_jh3Ans_TME54_jh3
Ans_TME54_jh3
 

Mehr von วิเชียร กีรติศักดิ์กุล

Mehr von วิเชียร กีรติศักดิ์กุล (12)

แบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โท
แบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โทแบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โท
แบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โท
 
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
 
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมนชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
 
ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ
ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ
ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ
 
ชุดการสอนที่ 6 ต่อมเพศและไพเนียล
ชุดการสอนที่ 6 ต่อมเพศและไพเนียลชุดการสอนที่ 6 ต่อมเพศและไพเนียล
ชุดการสอนที่ 6 ต่อมเพศและไพเนียล
 
ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต
ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไตชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต
ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต
 
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
 
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
 
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ okชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ชุดการสอนที่ 1 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 1 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายในชุดการสอนที่ 1 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 1 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
 

ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม

  • 1. 2 บัตรเนือหาที่ 4.1 ้ มุมภายในรู ปสามเหลียม่ ทฤษฎีบท ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรู ปสามเหลียมรวมกันเท่ ากับ 180 องศา ่ ทฤษฎีบท ถ้ ามุมของรู ปสามเหลียมสองรู ปใด ๆ มีขนาดเท่ ากันสองคู่แล้ วมุมคู่ทสาม ่ ่ี จะมีขนาดเท่ากันด้ วย จากทฤษฎีบท เราสามารถพิสูจน์ได้ ดังนี้ C D C E A B A B กาหนดให้ ABC เป็ นรู ปสามเหลี่ยมใด ๆ ่ ต้องการพิสูจน์วา CAB  ABC  BCA  180 พิสูจน์ สร้าง DE ผ่านจุด C ให้ DE//AB เนื่องจาก AC เป็ นเส้นตัด DEและAB DCA  CAB (ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกันและมีเส้นตัด แล้วมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน) ECB  ABC (ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกันและมีเส้นตัด แล้วมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน) DCA  BCA  ECB  180 (ขนาดของมุมตรง) CAB  BCA  ABC  180 (แทน DCAด้วยCABและ ECB ด้วย ABC ) ดังนั้น CAB  ABC  BCA  180 (สมบัติของการเท่ากัน)
  • 2. 3 บัตรกิจกรรมที่ 4.1 มุมภายในรู ปสามเหลียม่ 1. ให้นกเรี ยนทากิจกรรมที่กาหนดให้ต่อไปนี้ โดยใช้โปรแกรม GSP สร้าง ั R P Q 1. สร้างรู ปสามเหลี่ยมหนึ่งรู ป กาหนดชื่อจุดแต่ละจุด 2. สร้างส่ วนของเส้นตรงผ่านจุดยอดจุดหนึ่งให้ขนานกันเส้นฐาน 3. วัดมุมทั้งสามของรู ปสามเหลี่ยม 4. คานวณหาผลบวกของมุมของรู ปสามเหลี่ยม 5. นาเสนอและพิจารณาการเปลี่ยนแปลง 6. สรุ ปผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 2. ให้นกเรี ยนทากิจกรรมที่กาหนดให้ต่อไปนี้ โดยใช้โปรแกรม GSP สร้าง ั 1. สร้างรู ปสามเหลี่ยม VUW จากรู ปที่กาหนดให้ 2. วัดมุมที่เหลือของรู ปสามเหลี่ยมว่าเท่ากันหรื อไม่ 3. สรุ ปผลที่เกิดขึ้น N 75 45 M L
  • 3. 4 เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 4.1 มุมภายในรู ปสามเหลียม ่ 1. ให้ นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้ ต่อไปนี้ โดยใช้ โปรแกรม GSP สร้ าง D C E mACB = 66  A mBAC = 59  mABC = 55  B สร้ างรูปสามเหลี่ ยมหนึ่งรูป กาหนดชือจุดแต่ล ะจุด ่ 2. สร้ างส่ วนของเส้ นตรงผ่านจุดยอดจุดหนึ่งให้ ข นานกันเส้ นฐาน 3. วัดมุมทั้งสามของรูปสามเหลี่ ยม 4. คานวณหาผลบวกของมุมของรูปสามเหลี่ ยม mBAC+mABC+mACB = 180 5. นาเสนอและพิจารณาการเปลี่ ยนแปลง 6. สรุปผลการเปลี่ ยนแปลงที่เกิดขึ้น ผลบวกของขนาดของมุมทั้งสามของรูปสามเหลี่ ยม เท่ ากับ 180o mBAC mABC mACB mBA C+mABC+mACB 59 55 66 18 0 2. ให้ นักเรียนทากิจกรรมที่กาหนดให้ ต่อไปนี้ โดยใช้ โปรแกรม GSP สร้ าง N W mMNL = 60.00 mVWU = 60.00 75 45 V M L U 1. สร้ างรูปสามเหลี่ ยม VUW จากรูปที่กาหนดให้ 1.1 สร้ างเส้ นตรง  VU  1. 1.2 สร้ างมุม 75 องศา mUVW = 75.00 2. 1.3 สร้ างมุม 45 องศา mVUW = 45.00 3. 2.2 วัดมุมที่เหลื อของรูปสามเหลี่ ยมว่าเท่ ากันหรือไม่ mMNL = 60.00mVWU = 60.00 3.3 สรุปผลที่เกิดขึ้น  ถ้ ามุมของรูปสามเหลี่ ยมสองรูปใด ๆ มีข นาดเท่ ากันสองคู่แล้ วมุมคู่ที่ส ามจะมีข นาดเท่ ากันด้วย
  • 4. 5 บัตรเนือหาที่ 4.2 ้ มุมภายนอกกับมุมภายในรู ปสามเหลียม ่ ทฤษฎีบท ถ้าต่อด้านใดด้านหนึ่งของรู ปสามเหลี่ยมออกไปมุมภายนอกที่เกิดขึ้นจะมีขนาดเท่ากับ ผลบวกของขนาดของมุมภายในที่ไม่ใช่มุมประชิดของมุมภายนอกนั้น ให้นกเรี ยนพิจารณารู ปต่อไปนี้ ั A B D C กาหนดให้ ABC เป็ นสามเหลี่ยมรู ปหนึ่งต่อ BC ถึงจุด D  เรี ยก ACD ว่า มุมภายนอกของรู ป ABC   เรี ยก ACB ว่ามุมประชิดของ ACD    ่ เรี ยก ABC และ BAC ว่ามุมที่อยูตรงข้ามมุมภายนอก ACD    จงแสดงว่า ACD  ABC  BAC    พิสูจน์ เนื่องจาก ABC  BAC  ACB  180 (เป็ นมุมภายในรู ปสามเหลี่ยม รวมกันได้ 180 องศา)   และ ACB  ACD  180 (เป็ นมุมตรง)      ดังนั้น ACB  ACD  ABC  BAC  ACB (สมบัติการถ่ายทอด)     จะได้ ACD  ABC  BAC (สมบัติการเท่ากัน เมื่อนา ACB ลบทั้งสองข้าง)
  • 5. 6 บัตรกิจกรรมที่ 4.2 มุมภายนอกกับมุมภายในรู ปสามเหลียม ่  1. จากรู ปที่กาหนดให้ต่อไปนี้ จงหาขนาดของ ABC 1. A ตอบ ……………………………………….. 30 ……………………………………….. ……………………………………….. ……………………………………….. D C ……………………………………….. A B 2. 40 ตอบ 2……………………………………….. ……………………………………….. D ……………………………………….. ……………………………………….. B ……………………………………….. C 3. ……………………………………….. D B C ตอบ 2……………………………………….. ……………………………………….. 130 ……………………………………….. ……………………………………….. A ……………………………………….. 2. ABCDEF เป็ นรู ปหกเหลี่ยมใด ๆ จงหาผลบวกของขนาดของมุมภายใน ทั้งหกมุมของรู ปหกเหลี่ยมนี้ 2……………………………………….. E D ตอบ ……………………………………….. ……………………………………….. F C ……………………………………….. ……………………………………….. A B ……………………………………….. 2………………………………………..
  • 6. 7 เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 4.2 มุมภายนอกกับมุมภายในรู ปสามเหลียม ่  1. จากรู ปที่กาหนดให้ต่อไปนี้ จงหาขนาดของ ABC 1. A ตอบ เนื่องจาก ABC  ADB  BAD  90  30 30  120 D C A B 2. 40 ตอบ เนื่องจาก ABC  ADB  BAD D  40  40  80 B C 3. D B C ตอบ เนื่องจาก ABC  ADB  BAD 130  130  25  155 A 2. ABCDEF เป็ นรู ปหกเหลี่ยมใด ๆ จงหาผลบวกของขนาดของมุมภายใน ทั้งหกมุมของรู ปหกเหลี่ยมนี้ ตอบ 1. ลากส่ วนของเส้นตรง AC,AD,AE E D mCDE = 117.64 2. จะได้รูปสามเหลี่ยม 4 รู ป mDEF = 123.37 3. มุมภายในรู ปสามเหลี่ยมรวมกันได้ 180 F mEFA = 119.39 C mBCD = 118.71 4. ดังนั้น มุมภายในทั้งหมดจะได้ 180  4  720 mFAB = 120.96 A B mABC = 119.93 mFAB mABC mBCD mCDE mDEF mEFA mFAB+mABC+mBCD+mCDE+mDEF+mEFA 120.96 119.93 118.71 117.64 123.37 119.39 720.00
  • 7. 8 บัตรเนือหาที่ 4.3 ้ ความสั มพันธ์ ของรู ปสามเหลียมสองรู ปแบบ มุม – มุม – ด้ าน ่ ทฤษฎีบท ถ้ารู ปสามเหลี่ยมสองรู ปมีมุมที่มีขนาดเท่ากันสองคู่ และด้านคู่ที่ตรงข้ามกับ มุมคู่ที่มีขนาดเท่ากัน ยาวเท่ากันหนึ่งคู่แล้วรู ปสามเหลี่ยมสองรู ปนั้นจะ เท่ากันทุกประการ ให้นกเรี ยนพิจารณารู ปต่อไปนี้ ั D A C E F B     กาหนดให้ ABCและDEF มี CAB  FDE,ABC  DEFและBC  EF ต้องการพิสูจน์ ABC DEF     พิสูจน์ เนื่องจาก CAB  FDEและABC  DEF ( กาหนดให้)    CAB  ABC  ACB  180 (ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของ รู ปสามเหลี่ยมรวมกันเท่ากับ 180 องศา)    FDE  DEF  EFD  180 (ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของ รู ปสามเหลี่ยมรวมกันเท่ากับ 180 องศา)       จะได้ CAB  ABC  ACB  FDE  DEF  EFD (สมบัติการเท่ากัน)   ดังนั้น ACB  EFD (สมบัติการเท่ากัน) และเนื่องจาก BC  EF (กาหนดให้) ดังนั้น ABC DEF (ความสัมพันธ์แบบ มุม – ด้าน – มุม) ั รู ปสามเหลี่ยมสองรู ปที่มีความสัมพันธ์กนแบบทฤษฎีบทนี้ เรี ยกว่า มีความสั มพันธ์ กนแบบ ั มุม – มุม – ด้ าน และบางครั้งเขียนย่อว่า ม. ม. ด.
  • 8. 9 บัตรกิจกรรมที่ 4.3 ความสั มพันธ์ ของรู ปสามเหลียมสองรู ปแบบ มุม – มุม – ด้ าน ่ 1. จากรู ปกาหนดให้ MN//PQ และ O เป็ นจุดกึ่งกลางของ NQ จงแสดงว่า MNO  PQO โดยความสัมพันธ์แบบ ม.ม.ด. N P O M Q พิสูจน์ 1. ……………………………….. (……………………………….) 2. ……………………………….. (……………………………….) 3. ……………………………….. (……………………………….) 4. ……………………………….. (……………………………….)    2. จากรู ปกาหนดให้ AB//CD,ABE  35 และ ADC  45 จงหาว่า AEC กางกี่องศา A B 35 E C 45 D วิธีทา ……………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………
  • 9. 10 เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 4.3 ความสั มพันธ์ ของรู ปสามเหลียมสองรู ปแบบ มุม – มุม – ด้ าน ่ 2. จากรู ปกาหนดให้ MN//PQ และ O เป็ นจุดกึ่งกลางของ NQ จงแสดงว่า MNO  PQO โดยความสัมพันธ์แบบ ม.ม.ด. N P เคลื่ อนที่ OPQ ทับ NMO NO = 4.46 ซม. ไป 81.23 56.02 O 56.02 กลั บ ซ่ อน การวัด 81.23 OQ = 4.46 ซม. M Q พิสูจน์ 1. NMP  OPQ (มุมแย้ง) 2. N0M  POQ (มุมตรงข้าม) 3. NO  OQ ( O เป็ นจุดกึ่งกลางของ NQ ) 4. MNO  PQO ( มุม – มุม – ด้าน )    2. จากรู ปกาหนดให้ AB//CD,ABE  35 และ ADC  45 จงหาว่า AEC กางกี่องศา A B 35 E C 45 D วิธีทา 1. CDE  BAE  45 (มุมแย้ ง) 2. BAE  ABE  AEC (มุมภายนอกกับมุมภายในที่อยู่ตรงข้ ามกัน) จะได้ 45  35  80 AEC  80
  • 10. 11 บัตรเนือหาที่ 4.4 ้ การนาสมบัติของรู ปสามเหลียมและเส้ นขนานไปใช้ ในการแก้ปัญหา ่ ตัวอย่างที่ 1 จงหาขนาดของ x และ y ของรู ปสามเหลี่ยมที่กาหนดให้ x 45 y 135 วิธีทา เนื่องจาก X  45  135 (ผลบวกของมุมตรงข้ามภายในรู ปสามเหลี่ยม กับมุมภายนอกจะมีขนาดเท่ากัน) X  135  45 X  90 เนื่องจาก Y  135  180 (ขนาดของมุมตรง) Y  180 135 Y  45    ตัวอย่างที่ 2 กาหนดให้ BE//CF EBG  40 ,BGH  110 และCHG  100  จงหาขนาดของ FCH    A ่ วิธีทา ใน BEG จะได้วา BGH  GBE  BEG C  ดังนั้น 110  40  BEG  BEG  110  40  70 E G 100 F   110 H BEG  CFH  70 ( มุมแย้ง)    40 CHG  HFC  FCH  B D ดังนั้น 100  70  FCH  FCH  100  70  30
  • 11. 12 บัตรกิจกรรมที่ 4.4 การนาสมบัติของรู ปสามเหลียมและเส้ นขนานไปใช้ ในการแก้ปัญหา ่    1. กาหนดให้ AB//CD ถ้า DCF  40 , BEF  80 ,ABE  130  จงหาขนาดของ CFE พร้อมเขียนขั้นตอนการหาด้วยเป็ นข้อ ๆ E ตอบ 1……………………………………….. 80 A 130 2……………………………………….. B F 3……………………………………….. 4……………………………………….. 5……………………………………….. 40 C D 2………………………………………..   2. กาหนดให้ AB//CD ถ้า DEF  120 ,BGF  160 จงหาค่าของ X พร้อมเขียนขั้นตอนการ หามาด้วยเป็ นข้อ ๆ C E ตอบ 1……………………………………….. D 120 2……………………………………….. 3……………………………………….. F X 4……………………………………….. A 160 B 5……………………………………….. G   2………………………………………..  3. กาหนดให้ AB//CD ถ้า BEF  60 ,ACF  75 และCAF  70    จงหาขนาดของ AFD,FAE,EFA พร้อมเขียนขั้นตอนการหามาด้วยเป็ นข้อ ๆ A E B ตอบ 1……………………………………….. 60 70 2……………………………………….. 3……………………………………….. C 75 D 4……………………………………….. F 5……………………………………….. 2………………………………………..
  • 12. 13 เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 4.4 การนาสมบัติของรู ปสามเหลียมและเส้ นขนานไปใช้ ในการแก้ปัญหา ่    1. กาหนดให้ AB//CD ถ้า DCF  40 , BEF  80 ,ABE  130  จงหาขนาดของ CFE พร้อมเขียนขั้นตอนการหาด้วยเป็ นข้อ ๆ E 1. ลาก GF//CD จะได้ขนาดของ CFG  40 80 A 130 50 H (เป็ นมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน) B mEFG = 50 F 2. ลากเส้นตรงต่อจุด B ไปตัด EF ที่จุด H G mCFG = 40 จะได้ขนาดของ EHB  50  EFG (มุมภายนอกและมุมภายในข้างเดียวกันของเส้นตัด) C 40 D 3. จะได้ CFE  CFG  EFG  40  50  90   2. กาหนดให้ AB//CD ถ้า DEF  120 ,BGF  160 จงหาค่าของ X พร้อมเขียนขั้นตอนการ หามาด้วยเป็ นข้อ ๆ E 1. ลาก FH//AB C D 120 2. จาก FH//AB จะได้ GFH  20 (มุมภายในข้างเดียวกันรวมกันได้ 180 ) 3. จาก CD//FH จะได้ E FH  60 F X 60 H 20 (มุมภายในข้างเดียวกันรวมกันได้ 180 ) 160 A B G 4. จะได้ x  GFH  EFH  20  60  80    3. กาหนดให้ AB//CD ถ้า BEF  60 ,ACF  75 และCAF  70    จงหาขนาดของ AFD,FAE,EFA พร้อมเขียนขั้นตอนการหามาด้วยเป็ นข้อ ๆ mFAE = 35  mEFA = 25  A E 60 B 1. จากรู ปจะได้ AFD  70  75  145 70 2. จะได้ FAE  180 145  35 3. จะได้ EFA  180 120  35  25 C 75 mAFD = 145 D F