SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 17
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความหมาย
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relation) คือ กิจกรรมหรือการกระทาต่างๆ ของผู้
แสดงบทบาทระหว่างประเทศ ซึ่งอาจจะเป็นรัฐหรือไม่ใช่รั อย่างเช่น บรรษัทข้ามชาย ผู้ก่อการร้าย หรือ
ขบวนการก่อการร้าย องค์การระหว่างประเทศ กลุ่มระหว่างประเทศเป็นต้น
หัวใจสาคัญของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จะมี 2 เรื่อง
1. ความร่วมมือระหว่างประเทศ (International Relation) ไม่ว่าจะเป็นความร่วมมือด้านการเมือง
เศรษฐกิจ ทหาร วัฒนธรรม สังคม ประเพณี วิทยาศาสตร์ เป็นต้น
2. ความขัดแย้งระหว่างประเทศ (International Conflict) เช่นความขัดแย้งทางการเมือง เศรษฐกิจ
ทหาร หรือด้านอื่นๆ เป็นต้น
ลักษณะพื้นฐาน โดยทั่วไปของสังคมชุมชนระหว่างประเทศ
เอ็ดเวิร์ด แอล มอร์ส กล่าวว่า ปัจจุบัน สังคมชุมชนระหว่างประเทศมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ลักษณะพื้นฐานทั่วไปของสังคมชุมชนระหว่างประเทศ มีลักษณะที่สาคัญดังนี้
1.สังคมชุมชนระหว่างประเทศ มีจานวนสมาชิกที่มีจานวนไม่แน่นอน และเปลี่ยนแปลงได้
ตลอดเวลา
ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 จานวนสมาชิกที่เป็นรัฐเอกราชในองค์การสันนิบาตชาติมีจานวนสมาชิกมาก
ที่สุดเพียง 6 รัฐ แต่เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 รับอาณานิคมทั้งหลาย เช่น อินเดีย ลาว ฯลฯ ได้รับการ
ปลดปล่อยจากเจ้าอาณานิคม จึงก่อให้เกิดรัฐเอกราชเพิ่มขึ้นอีกมาก และเมื่อโซเวียตล่มสลาย และแยกตัว
ออกเป็นรับเอกราช 15 สาธารณรัฐ และการรวมประเทศ เยอรมันตะวันตกกับเยอรมันตะวันออก ซึ่งล้วนมีผล
ต่อการเปลี่ยนแปลงจานวนสมาชิกในสังคมชุมชนระหว่างประเทศ
2. ทรัพยากรธรรมชาติมีค่อนข้างจากัด
ทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ ทรัพยากรทางด้านอาหาร พลังงาน และแร่ธาตุต่างๆ ที่ใช้ตอบสนอง ความ
ต้องการของมนุษย์ ทาให้รัฐเอกราชทั้งหลายพยายามที่จะปกป้องและพิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของรัฐ เช่นการ
ใช้มาตรการประกาศเขตเศรษฐกิจจาเพาะทางทะเล หรือปัญหาพลังงานน้ามันราคาแพงขึ้น ทาให้ประเทศไทย
ประสบกับภาวะขาดดุลการค้าและจาเป็นต้องรับจัดหาพลังงานทดแทนในปัจจุบัน เป็นต้น
3. ความเสมอภาคท่ามกลางความไม่เสมอภาค
ตามกฎบัตรสหประชาชาติรัฐเอกราชทุกรัฐมีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน มี 1 เสียงเหมือนกัน ไม่ว่าจะ
เป็นรัฐใหญ่หรือรัฐเล็กแต่ในความเป็นจริงรัฐใหญ่ย่อมจะมีผลประโยชน์และความได้เปรียบมากกว่ารัฐเล็กๆจึง
เป็นบ่อเกิดของการต่อสู้แข่งขัน และแย่งชิงอานาจกันเพื่อให้ได้มาซึ่งความได้เปรียบ ทั้งทางด้านการทหาร
เศรษฐกิจ การค้าและยุทธศาสตร์
4. ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐแต่ละรัฐในสังคมชุมชนระหว่างประเทศ นั้นไม่สามารถที่จะอยู่โดดเดี่ยว
ตามลาพังได้
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐไม่ว่าจะเป็นระหว่างรัฐใหญ่กับรัฐเล็ก รัฐใหญ่กับรัฐใหญ่ รัฐเล็กกับรัฐเล็กก็
ตามอาจมีผลออกมาในรูปแบบของความร่วมมือ หมายถึงสันติภาพ ความประนีประนอมรอมชอมกันเพื่อการ
อยู่ร่วมกันอย่างสันติ หรือความขัดแย้งอันอาจนาไปสู่ภาวะสงครามได้
5. การพึ่งพาอาศัยกัน ในยุคโลกาภิวัตน์
ในยุคโลกาภิวัตน์ ซึ่งเป็นโลกไร้พรมแดนเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารความคิด การเงินการค้า การบริการ
การเมือง วัฒนธรรมสังคม สิ่งแวดล้อม ทาให้เกิดความใกล้ชิดระหว่างรัฐก่อให้เกิดการพึ่งพาอาศัยกัน
6. สังคมชุมชนระหว่างประเทสมีลักษณะเป็นพลวัตร
ในลักษณะที่มีความไหลลื่น และมีความเปลี่ยนแปลงอย่างเสมอในทุกรูปแบบ เช่นการพัฒนาด้าน
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี การขนส่งภาพ และข้อมูลข่าวสารข้ามทวีปผ่านดาวเทียม เป็นต้น
** ตรงกับคาที่ว่า ทุกสิ่งไม่เที่ยงแท้แน่นอน ความเปลี่ยนแปลง คือ ความแน่นอน
7.สังคมชุมชนระหว่างประเทศมีลักษณะเป็นอนาธิปไตย
เป็นสังคมที่ประกอบไปด้วยสมาชิกที่มีความหลากหลาย เช่น รัฐเอกราชทั้งหลาย องค์กรพัฒนาเอกชน
องค์กรอาสาสมัคร บรรษัทข้ามชาติเป็นต้น
มีหลักพื้นฐาน คือ Self Help System – หลักการช่วยเหลือตนเอง - ต้องช่วยเหลือตนเองก่อน
8. สื่อครอบโลก
ทฤษฎีสื่อครอบโลก (Global Media Theory)
สิ่งที่มนุษย์ไม่สามารถจะหลีกหนีพ้นไปได้ คือสื่อ ซึ่งอาจจะมาในหลากหลายรูปแบบ เช่น สื่อในฐานะที่
เป็นแหล่งข่าวสารให้ความรู้ สื่อในฐานะแหล่งโฆษณา และสื่อบันเทิง ไม่ว่าจะเป็นทางวิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์
หนังสือพิมพ์ นิตยสาร อินเตอร์เน็ต เป็นต้น จะมีอิทธิพลต่อมนุษย์อย่างไม่สามารถหลักเลี่ยงได้ สื่อจึงอยู่ใกล้ชิด
กับมนุษย์อย่างแนบแน่น และเป็นปัจจัยสาคัญในการชี้นาทิศทางของสังคมชุมชนระหว่างประเทศ
ใครครอบครองข้อมูลข่าวสาร สามารถครอบครององค์ความรู้
ใครครอบครององค์ความรู้ สามารถครอบครองสื่อ
ใครครอบครองสื่อ สามารถครอบครองความเป็นเจ้า
ในสังคมชุมชนระหว่างประเทศ
ปัญหามักมาจากสื่อที่มีการตีไข่ ใส่สี – สื่อเป็นธุรกิจ อยู่ได้ด้วยกาไร เป็นสินค้า
สื่อเป็นดาบสองคม – ที่บอกทั้งแง่ดีและไม่ดี แต่อยู่ที่ผู้บริโภคด้วย ต้องรู้จักเลือกบริโภค เช่น Internet
และสามารถทาคนดีเป็นคนเลวได้ หรือ ทาคนเลวเป็นคนดีได้
เพราะสื่อเป็นเจ้าพ่อ Image Making – สร้างภาพ
*** การบริโภคสื่อ จึงอย่าด่วนสรุป !!!
สื่ออาจครอบงา ในรูปแบบ ต่อไปนี้
1. สื่อทางเดียว (One Way Communication) เช่น การล้างสมอง, ครอบงาความเชื่อ
2. การผูกขาด (Monopoly) ถ้ามีข้างที่แตกต่าง จะไม่ได้รับการนาเสนอ และผลจากการมีผู้โฆษณา
ชวนเชื่อ
3. การประสานประโยชน์ร่วมกัน (Common Interest)
4. เกิดวัฒนธรรมข้ามชาติ (Global Culture)
5. ก่อให้เกิดความฝันข้ามชาติ (Global Dreams)
6. และพฤติกรรมร่วมข้ามชาติ (Global Behavior)
7. ทาให้โลกเป็นหนึ่งเดียว ภายใต้วัฒนธรรมอเมริกัน (Globalization of Americanization)
9.ทุนข้ามชาติ
เช่น การเคลื่อนย้ายทุนและทุนการผลิตรถยนต์ของโตโยต้า ,ฟอร์ด การลงทุนข้ามชาติของ เทสโก้โลตัส
หรือเอไอเอ เป็นต้น
เราถูกครอบงาจากโลกตะวันตกโดยเฉพาะเศรษฐศาสตร์
Adam Smith เขียนหนังสือ ความมั่งคั่งของชาติ Wealth of Nations / An Inquiry into a wealth
in the Nations (1776) ซึ่งเป็นปีที่อเมริกาประกาศเอกราช แยกตัวจากอังกฤษ ว่า รัฐบาลไม่ควรก้าวก่าย
ระบบธุรกิจ ถ้าจาเป็นให้น้อยที่สุด โดยให้ กลไกตลาด ดาเนินไปด้วยตนเอง ซึ่งกลไกตลาดก็คือ Demand –
ความต้องการสินค้า และ Supply – จานวนสินค้า
Adam Smith กล่าวว่า มนุษย์มีความเห็นแก่ตัวสูง ซึ่งมีข้อดีและข้อเสีย ก็คือ ความโลภ ซึ่งทาให้มนุษย์
พัฒนาแสวงหาผลผลิตให้มากขึ้น ทาให้เกิดนวัตกรรม (Innovation) มากขึ้น
รัฐต้องมาเกี่ยวข้องให้น้อย มาเกี่ยวเฉพาะป้องกันการผูกขาด
Invisible Hand ก็คือ มือไร้เงา หรือ มือโปร่งแสง (อ้างอิง ดร.พงษ์ศานติ์ พันธุลาภ) ก็คือ กลไกตลาด
นั่นเอง ที่คอบควบคุมตลาด เช่น ค่าของเงิน, อัตราแลกเปลี่ยน ทฤษฎีนี้ที่ครอบงาทุกชุมชนสังคมระหว่าง
ประเทศ คิดเหมือนกันหมด ภายใต้ ระบบทุนนิยม
David Ricardo – เสนอกฎได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ – ใครผลิตอะไรได้ในต้นทุนในราคาถูก ก็จะผลิต
สิ่งนั้นแล้วนามาค้าขายแลกเปลี่ยนกัน
10.สังคมไร้พรมแดน
พรมแดนและทฤษฎีทางด้านภูมิศาสตร์เริ่มหมดความหมายเพราะความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี และ
ความสาเร็จในอวกาศ สื่อต่างๆ ผ่านดาวเทียมสามารถส่งข้ามพรมแดนประเทศต่างๆ โดยรัฐเจ้าของอธิปไตยไม่
สามารถกั้นขวางหรือว่าตรวจตราได้
การเมืองระหว่างประเทศ (International Politics )
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจะแตกต่างจากการเมืองระหว่างประเทศ (International Politics) ตรงที่
การเมืองระหว่างประเทศจะเป็นส่วนหนึ่งของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หรือเป็นสาขาหนึ่งของ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองระหว่างประเทศจะเกิดขึ้นต่อเมื่อมีการใช้อานาจระหว่างรัฐหรือระหว่างประเทศเกิดขึ้น การ
ใช้อานาจอาจจะใช้อานาจทางการเมือง ทางเศรษฐกิจ หรือการทหารก็เป็นการเมืองระหว่างประเทศทั้งสิ้น
อานาจ (Power) หมายถึง ความสามารถ (Ability) ขีดความสามารถ (Capability) หรือปริมาณ
ความสามารถ (Capacity) ที่ผู้แสดงบทบาทระหว่างประเทศหนึ่ง ๆ ทาให้ผู้แสดงบทบาทอื่นกระทาตามความ
ต้องการของตน หรือละเว้นไม่กระทาในสิ่งที่ตนไม่ต้องการให้กระทาโดยใช้ความรุนแรงหรือการลงโทษ หรือ
อาจจะใช้ในรูปการโน้มน้าวจูงใจหรือการให้รางวัลก็ได้
การแซงชั่น หมายถึง การลงโทษ เช่น ไม่มีการนาเครื่องบินลงลิเบีย และไม่ให้เครื่องบินของลิเบียบิน
เข้าประเทศ รวมทั้งงดสั่งซื้อน้ามันจากลิเบีย จนกระทั่งก่อนหน้าปีนี้ ลิเบียก็ยอมส่งผู้ร้ายให้กับสหรัฐและยอม
ชดใช้ค่าเสียหาย
การเมืองโลก (World Politics)
จะมีความหมายกว้างกว่าการเมืองระหว่างประเทศ เป็นการใช้อานาจระหว่างประเทศของผู้แสดง
บทบาทระหว่างประเทศอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากรัฐด้วย
สถานการณ์การเมืองโลก
หมายถึง ปรากฏการณ์ระหว่างประเทศที่เกิดขึ้นในเวทีโลก ที่แสดงให้เห็นถึงการใช้อานาจเพื่อให้เกิด
ความร่วมมือและ/หรือความขัดแย้งระหว่างประเทศ สถานการณ์การเมืองโลกต้องมีการใช้อานาจของรัฐและ
ตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐ หัวใจสาคัญอยู่ที่อานาจ โดยผู้แสดงบทบาทระหว่างประเทศที่ทั้งเป็นรัฐและไม่ใช่รัฐจะแสดง
บทบาท หรือพฤติกรรมอยู่ในเวทีที่เรียกว่า “เวทีโลก”
สานักต่างๆ ที่ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประหว่างประเทศมีสานักที่สาคัญ 3 สานัก คือ
1. สานักสัจจะนิยมแบบคลาสสิก (Classical Realism) แนวคิดหลักของกลุ่มนี้ คือ
- รัฐเป็นผู้แสดงบทบาทที่สาคัญเพียงผู้เดียว แม้ว่าจะมีผู้แสดงอื่นๆ แต่ไม่มีความสาคัญ
- ให้ความสาคัญกับผลประโยชน์ของชาติ เพราะผลประโยชน์เป็นสิ่งที่รัฐปรารถนาและจะอยู่ใน
ดินแดนอื่น ทั้งทรัพยากร ความมั่นคงปลอดภัยและการกินดีอยู่ดี
- เน้นเรื่องความมั่นคงของปลอดภัย ซึ่งความมั่นคงปลอดภัยแบ่งออกเป็นความมั่นคงด้านจิตวิสัย คือ
การมีความรู้สึกว่ารัฐตนเองจะต้องปลอดภัยทางภัยคุกคามต่างๆ
ความมั่นคงด้านวัตถุวิสัย คือ การปลอดจากภัยคุกคามต่างๆ ทั้งการก่อการร้าย การทาลายล้างต่างๆ
- เน้นการสร้างสัมพันธมิตร เพราะบางรัฐหากมองว่าในเรื่องที่ตนเองไม่สามารถใช้อานาจได้ตามลาพัง
ก็จะมีการรวมกับรัฐอื่น เพื่อให้อานาจมีขนาดใหญ่
- เน้นการถ่วงดุลอานาจ เช่น ในยุคสงครามเย็นจะมีการถ่วงดุลอานาจระหว่างนาโต้กับวอร์ซอ ด้วย
การพัฒนากองกาลังทหารและอาวุธให้มีความทันสมัยและสมรรถภาพเท่าเทียมกัน
(ทฤษฎีถ่วงดุลอานาจใช้ได้เฉพาะทางทหารและการเมืองเท่านั้น สานักสัจจะนิยมจึงเน้นวิเคราะห์
ปรากฏการณ์ทางด้านการเมืองเท่านั้น)
1.2 สานักสัจจะนิยมคลาสสิกแนวใหม่ (Neoclassical Realism) จะมีความแตกต่างจากแนวคิดสัจจะนิยม
แบบเก่า หลักการที่สาคัญของสานักนี้ คือ
- มองว่าเหตุการณ์ระหว่างประเทศทั้งที่เป็นเรื่องของความร่วมมือหรือความขัดแย้ง จะเกิดจาก
โครงสร้างของระบบระหว่างประเทศ
- สัจจะนิยมแนวใหม่ยังเน้นในเรื่องอนาธิปไตยระหว่างประเทศ คือ มองว่าในโลกนี้ไม่มีองค์กรใดหรือ
รัฐใดที่จะมีบทบาทในการควบคุมพฤติกรรมของผู้แสดงบทบาทอื่นๆ ไม่มีกฎหมายหรือข้อ บังคับใดที่จะให้ผู้แสดง
บทบาททาตามได้ ถึงมีก็จะไม่ยึดถือ ทาให้เกิดสภาพอนาธิปไตยระหว่างประเทศ
- เน้นในเรื่องความมั่นคงปลอดภัย ผลประโยชน์ของรัฐและอานาจ มองว่ารัฐต่างๆ ต้องการอยู่เหนือรัฐอื่น
คานึงถึงความปลอดภัยของตนเอง
- เน้นการดิ้นรนและต่อสู้ภายใต้สภาพอนาธิปไตย
- เน้นดุลแห่งความหวาดกลัว ต่างจากสัจจะนิยมแบบเก่าที่เน้นถ่วงดุลอานาจด้วยอาวุธธรรมดา แต่ดุล
แห่งความหวาดกลัวจะมาจากแสนยานุภาพทางด้านนิวเคลียร์ที่ทาให้ 2 ฝ่ายไม่กล้าคุกคามต่อ
- การเตรียมพร้อมทางทหารและการป้องปราม
2. สานักเสรีนิยมแนวใหม่ (Neoliberalism)
- เน้นการสร้างสถาบัน/องค์การระหว่างประเทศหรือกฎหมายระหว่างประเทศ ที่จะทาให้เกิดความ
ร่วมมือโดยเฉพาะความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ เช่น องค์การการค้าโลก (WTO)
- เน้นการสร้างสันติภาพ คือ มองว่าหากมีความร่วมมือระหว่างประเทศจะก่อให้เกิดสันติภาพโดยมี
องค์การระหว่างประเทศและกฎหมายระหว่างประเทศเป็นเครื่องมือ
- เน้นการสร้างประชาธิปไตย เพราะมองว่า หากทุกประเทศเป็นประชาธิปไตยโลกก็จะมีสันติภาพ
- เน้นที่การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน (Interdependence) เพื่อให้บรรลุถึงความจาเป็นของมวล
มนุษย์ คือ การแก้ไขปัญหาความยากจน การช่วยเหลือกันในการพัฒนาประเทศ การแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม
- เน้นความมั่นคงปลอดภัยร่วมกัน (Collective Security) โดยร่วมมือกัน อาจจะมีกองกาลัง
ร่วมกัน เช่น กองกาลังขององค์การระหว่างประเทศ
- นอกจากนี้ยังเน้นเรื่องระเบียบโลก ซึ่งหมายถึง แบบแผนทางด้านต่าง ๆ ทั้งการค้า การทหาร การทูต
ที่มีการกาหนดขึ้นว่าพฤติกรรมในด้านต่างๆ ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศควรจะดาเนินการอย่างไร เช่น
ในแง่การค้าก็ต้องเปิดเสรี ในแง่การเมืองก็ต้องประชาธิปไตย
- เน้นการรวมตัวเป็นกลุ่มในภูมิภาค
- เน้นการปฏิรูปสถาบัน เพื่อให้รองรับกับปัญหาที่เกิดขึ้น
**โดยภาพรวมเสรีนิยมแนวใหม่จะเน้นเศรษฐกิจเป็นหลัก**
ระเบียบโลก
หมายถึง แบบแผนของกิจกรรมหรือกลุ่มของการจัดการทางการเมือง การทูต กฎหมาย เศรษฐกิจ
และการทหารเป็นต้น ที่กาหนดวิธีการและหลักเกณฑ์ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของผู้แสดงบทบาทใน
ระดับโลก
ระเบียบโลกในยุคหลังสงครามเย็น (ถูกกาหนดโดย สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น)
1. การเปิดเสรี (Liberalization) นั่นคือจะต้องเปิดเสรีในด้านการค้า การเงิน และการลงทุน
2. การรวมกลุ่มภูมิภาค (Regionalization) เป็นผลมาจากความสาเร็จของสหภาพยุโรป ซึ่งเริ่ม
ตั้งแต่ ปี 1957 เป็นต้นมา สหภาพยุโรปมีประชาคมเศรษฐกิจแห่งยุโรป และวิวัฒนาการมาเป็นสหภาพ
ยุโรปในปัจจุบัน ปรากฏว่าสหภาพยุโรปพัฒนาไปถึงระดับที่ 4 แล้ว โดย
- ขั้นที่ 1 คือ การเปิดการค้าเสรี
- ขั้นที่ 2 คือ สหภาพภาษีศุลกากร
- ขั้นที่ 3 คือ ตลาดร่วม
- ขั้นที่ 4 คือ สหภาพเศรษฐกิจ
- ขั้นที่ 5 คือ สหภาพการเมือง
ซึ่งปรากฏว่าสหภาพยุโรปมีการรวมตัวกันเป็นสหภาคที่ 4 เรียบร้อยแล้ว นั่นคือสหภาพเศรษฐกิจการเงิน
หรือเรียกว่า EMU
3. การสร้างสถาบันระหว่างประเทศ (Institutionalization) เพื่อนาไปสู่ความร่วมมือระหว่าง
ประเทศของประเทศต่างๆ
4. การทาให้เป็นประชาธิปไตย (Democratization)
5. ความมั่นคง (Security) แบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่
5.1 ความมั่นคงทางการเมือง (Political Security) เน้นในเรื่องของ
- การร่วมมือต่อต้านการก่อการร้าย (Counter-Terrorism) ซึ่งสหรัฐอเมริกา ได้
ร่วมมือกับ สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น นามติการต่อต้านการก่อการร้ายเข้าไปใน
สหประชาชาติ ในการประชุม G 7 G8 หรือแม้กระทั้งการประชุม APEC หรืออาจ
กล่าวได้ว่าในการประเกือบทุกที่จะต้องเน้นเรื่องนี้ กลายเป็นมติประชาชาติ
5.2 ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ (Economic Security)
- ความมั่งคั่ง
- การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
- การอยู่ดีกินดีของประชาชน
5.3ความมั่นคงทางทหาร (Military Security) คือต้องไม่แพร่อาวุธนิวเคลียร์
6. การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (Privatization) หากกิจการที่เกี่ยวกับเรื่องของการสื่อสารและ
คมนาคมไปอยู่ในความควบคุมดูแลของรัฐนั้น จะเกิดการคอร์รัปชั่นขึ้นเป็นจานวนมาก และผลประโยชน์ก็จะ
ไม่ได้ตกอยู่กับประชาชน จึงมีความคิดเห็นว่าควรจะให้เอกชนดูแลบริหารงาน วิธีนี้จึงจะทาให้ผลประโยชน์ตก
อยู่กับประชาชน
7. สภาพแวดล้อม (Environment) เป็นสิ่งที่ถูกสร้างขึ้นมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการทา FTA
จะมีข้อแนบท้ายว่าประเทศนั้นจะต้องรักษาสภาพแวดล้อม
8. สิทธิมนุษยชน (Human Rights) มีข้อกาหนดเช่นเดียวกับการทา FTA ของสหรัฐอเมริกา
สหภาพยุโรป ในส่วนของ Eu นั้นได้กาหนดว่าถ้าประเทศใดก็ตามมีการรักษาสิทธิมนุษยชน สิทธิแรงงาน
9. สิทธิแรงงาน (Labor Rights)
10. การลดระเบียบกฎเกณฑ์ (Deregulation) คือกฎเกณฑ์ที่มีอยู่ที่ขัดขวางการค้าเสรี การ
ลงทุนเสรีนั้นต้องลดให้หมด เช่น เรื่องการขอใบอนุญาต การพิสูจน์ในเรื่องสินค้าที่ใช้เวลานาน จะต้องมีการ
ลดกฎเกณฑ์ให้หมด
11. การจัดการและการบริหารที่ดี หรือ ธรรมาภิบาล (Good Governance) คือจะต้องมี
ความยุติธรรม ต้องมีความรับผิดชอบ และต้องไม่มีการคอร์รัปชั่น เป็นต้น
12. ความโปร่งใส (Transparency) คือ เน้นว่าเมื่อมีการประกาศหรือให้ความช่วยเหลือ ลงทุน
หรือเรื่องการประมูลต่างๆ ต้องมีเอกสารประกาศให้เห็นชัดเจน
**การรวมตัว คือ เน้นการรวมตัวระหว่างประเทศเพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน เช่น ในการลดภาษี
ลดการกีดกันทางการค้า เป็นต้น**
3. สานักโครงสร้างนิยม (Structuralism)
จะเน้นที่โครงสร้างที่เป็นอยู่ในเวลานี้ เป็นโครงสร้างของโลกทุนนิยม เป็นโครงสร้างที่เอารัดเอาเปรียบ
กอบโกยผลประโยชน์จากประเทศกาลังพัฒนาและด้อยพัฒนา โดยประเทศที่พัฒนาแล้วจะเข้ามากอบโกย
ทรัพยากรธรรมชาติ วัตถุดิบ แรงงาน โดยไม่ได้ให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่าต่อประเทศกาลังพัฒนา และมีผลทาให้
ประเทศกาลังพัฒนา ด้อยพัฒนาตลอดกาล ไม่สามารถลืมตาอ้าปากได้
ทฤษฎีที่อยู่ในกลุ่มโครงสร้างนิยม
3.1 ทฤษฎีพึ่งพิง (Dependency Theory) จะมองว่า ในโลกนี้จะแบ่งรัฐออกเป็นรัฐแกนกลาง
(Core) ซึ่งเป็นประเทศพัฒนาแล้วกับรัฐปริมณฑล (Periphery) ซึ่งเป็นประเทศกาลังพัฒนา ที่รัฐแกนกลางได้
เข้ามากอบโกยผลประโยชน์ด้านต่างๆ จากรัฐปริมณฑล ส่งผลให้รัฐปริมณฑลต้องด้อยพัฒนา ไม่มีโอกาสในการ
พัฒนาตนเอง ทฤษฎีนี้จะพูดแต่เรื่องการกอบโกยผลประโยชน์ ไม่ได้พูดถึงความร่วมมือหรือความขัดแย้งที่
ชัดเจน แต่เป็นความขัดแย้งระหว่างโลกเหนือกับโลกใต้
(อาจารย์มองว่าอย่าพยายามเอาทฤษฎีนี้มาอธิบายเพราะจะมองภาพไม่ค่อยชัดให้ใช่ทฤษฏีระบบ
โลกแทน)
3.2 ทฤษฎีระบบโลก (World System Theory) บิดาของทฤษฎีนี้ คือ เอ็มมานูเอล
วอลเลอร์ไสตน์ กล่าวว่า ประเทศต่างๆ ในโลกแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ
- ประเทศศูนย์กลาง (Core) ได้แก่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ได้แก่ สหรัฐฯ และยุโรปตะวันตก แคนาดา
- ประเทศกึ่งปริมณฑล (Semi-periphery) ได้แก่ ญี่ปุ่น ประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NICs) คือ
เกาหลีใต้ สิงคโปร์ ฮ่องกง ไต้หวัน บราซิล เม็กซิโก อาร์เจนติน่า
- ประเทศปริมณฑล (Periphery) ได้แก่ ประเทศกาลังพัฒนาทั้งหลายทั้งเอเชียและอัฟริกา
ทฤษฎีระบบโลก กล่าวว่า ประเทศศูนย์กลางจะกอบโกยผลประโยชน์จากประเทศรอบนอกและกึ่งรอบ
นอก โดยประเทศกึ่งรอบนอกจะทาหน้าที่สองอย่างคือ ถูกกอบโกยจากประเทศศูนย์กลาง และในเวลาเดียวกัน
ก็เข้าไปกอบโกยผลประโยชน์จากประเทศรอบนอกด้วย ทาให้ประเทศรอบนอกเป็นผู้ที่เดือดร้อนมากที่สุด ยิ่ง
ทาให้ประเทศรอบนอกไม่มีโอกาสพัฒนาขึ้นมาได้เลย
ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ทฤษฎี หมายถึง กลุ่มสมมุติฐานหรือกลุ่มข้อสรุปทั่วไปที่นามาใช้อธิบายวิเคราะห์ และทานาย
เหตุการณ์ระหว่างประเทศ
ทฤษฎีในกลุ่มเสรีนิยม
1. ทฤษฎีพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันระหว่างประเทศ (Interdependence Theory) นักวิชาการยัง
ไม่ยอมรับว่าเป็นทฤษฎี เป็นแต่เพียงแนวคิด เนื่องจากยังไม่มีข้อสรุปที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป และนามาใช้
วิเคราะห์ในเรื่องการค้าเป็นหลักที่มองว่าการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันทาให้เกิดการค้า
การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน แบ่งออกเป็น
1) การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันแบบเท่าเทียมกัน เช่น การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันระหว่างสหรัฐ
และอียู ทาให้ทั้ง 2 ฝ่ายมีอานาจพอๆ กัน สามารถเจรจาต่อรองกันได้ เพราะทั้ง 2 ฝ่ายต้องมีการแลกเปลี่ยน
สินค้าซึ่งกันและกัน เมื่อมีการใช้อานาจจากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง อีกฝ่ายจะตอบโต้ได้ เช่น กรณีสหรัฐได้ออกมาตรา
ที่กาหนดว่า ถ้ามีการทุ่มตลาดในตลาดสหรัฐ ให้นาเอาภาษีที่มาจากการทุ่มตลาดไปให้กับบริษัทที่ได้รับ
ผลกระทบ ทาให้อียูฟ้องร้อง WTO ผลที่ออกมาคือ WTO ตัดสินว่าสหรัฐทาผิดกฎ WTO แต่เวลานี้สหรัฐฯ ยัง
ไม่ยอมยกเลิกมาตราอันนี้ ทาให้อียู แซงชั่นสหรัฐฯ ด้วยการขึ้นภาษีสินค้าจากอเมริกาที่เข้าไปขายในอียู ขณะที่
หลายประเทศที่ได้รับผลกระทบจากการกระทาของสหรัฐกลับไม่กล้าแซงชั่น เช่นเดียวกันเมื่อยุโรปละเมิดกฎ
เกี่ยวกับเรื่องระบอบกล้วยหอม (การให้สิทธิพิเศษแก่ประเทศในทะเลแคริบเบียนในการส่งออกกล้วยหอมไป
ยุโรป) สหรัฐก็ฟ้องไปที่ WTO และ WTO ก็มีการตัดสินว่าอียูผิดให้ยกเลิกระบอบกล้วยหอม
2) การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันแบบไม่เท่าเทียมกัน
เช่น กรณีระหว่างไทยกับสหรัฐเป็นการพึ่งพาอาศัยแบบไม่เท่าเทียมกัน ก่อให้เกิดอานาจที่แตกต่างกัน
กล่าวคือ ไทยเราเป็นฝ่ายพึ่งพาสหรัฐมากกว่าสหรัฐอเมริกาพึ่งพาไทย ถ้าไทยไม่ให้ความร่วมมือกับ
สหรัฐอเมริกา เราก็อาจจะถูกตัด GSP เช่น หากสหรัฐพบว่าเรามีการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาก็จะตัด GSP
และการที่เราได้ GSP จากสหรัฐมากเป็นอันดับ 2 ทาให้เราได้ประโยชน์มาก ถ้าถูกตัดก็จะได้รับผลกระทบอย่าง
มาก
2. ทฤษฎีระบอบ (Regime Theory) ก็เป็นอีกทฤษฎีหนึ่งในกลุ่มเสรีนิยม ระบอบ หมายถึง
หลักเกณฑ์ กฎ แนวปทัสถาน มาตรฐาน กระบวนการตัดสินใจที่ Actors ทั้งหลายตกลงกันว่าจะใช้หลักเกณฑ์
เหล่านี้และสมาชิกทั้งหลายต้องปฏิบัติตาม เช่น กฎบัตรสหประชาชาติ กฎเกณฑ์ของ WTO ซึ่งระบอบนี้จะเป็น
ตัวควบคุมพฤติกรรมของรัฐหรือ Actors ทั้งหลายให้ปฏิบัติตาม ทฤษฎีระบอบมองว่าในบางเรื่องตัวกฎเกณฑ์
จะมีผลในการปฏิบัติหรือสมาชิกยอมรับระบอบมากกว่าบางเรื่อง เช่น สมาชิกจะยอมรับกฎเกณฑ์ทางด้าน
เศรษฐกิจการค้า และการลงทุนมากกว่ายอมรับกฎเกณฑ์ทางด้านการเมืองและการทหาร
ระบบระหว่างประเทศ (International System)
ระบบระหว่างประเทศ หมายถึง การกระทาซึ่งกันและกันของผู้แสดงบทบาทในเวทีระหว่างประเทศที่มี
การกระทาต่อกันอย่างใกล้ชิดจนกลายเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน การกระทาของตัวแสดงหนึ่งจะมีผลต่อตัวแสดง
อื่นๆ ส่วนประกอบของระบบระหว่างประเทศ ประกอบด้วย
1. ผู้แสดงบทบาทระหว่างประเทศ (Actors) มีมากมายหลายตัวดังที่นาเสนอไปแล้ว
- ชาติ-รัฐ
- องค์การระหว่างประเทศ ได้แก่ องค์การระดับภูมิภาค, องค์การระดับสากล
- ผู้แสดงบทบาทที่มีอานาจเหนือรัฐ
- สัมพันธมิตร
- องค์การข้ามชาติที่ไม่ใช่รัฐบาล เช่น NGOs, ขบวนการก่อการร้าย
- กลุ่มย่อยระดับชาติ เช่น สหภาพแรงงาน, กลุ่มผลประโยชน์
- ปัจเจกชน
2. โครงสร้าง (Structure) โครงสร้างในระบบระหว่างประเทศจะประกอบด้วยปัจจัย 4 ประการ คือ
2.1 ความมากน้อยของอิทธิพล (Influence) และทางเข้าไปสู่ทรัพยากร (Resource) ของสมาชิกใน
ระบบระหว่างประเทศ หมายถึง การพิจารณาว่าในระบบระหว่างประเทศประกอบไปด้วยประเทศหรือกลุ่มที่มี
อิทธิพลนั้นแบ่งเป็นกี่พวก กี่กลุ่ม เช่น ในระบบระหว่างประเทศหลังสงครามเย็น สหรัฐอเมริกาจะเป็นประเทศ
ที่มีอิทธิพลทางด้านการเมือง เศรษฐกิจเหนือกว่าประเทศอื่นๆ ขณะเดียวกันก็ยังมีจีน อังกฤษ ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น
เยอรมัน สหภาพยุโรป ที่มีอิทธิพล อย่างสาคัญต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
2.2 ความมากน้อยของขั้วอานาจ (Polarity) คาว่าขั้วอานาจ หมายถึง ศูนย์กลางอานาจ ศูนย์กลาง
อานาจอาจจะหมายถึงรัฐ กลุ่มรัฐ หรือองค์การระหว่างประเทศ และอาจจะเป็นทั้งขั้วอานาจทางการเมือง ขั้ว
อานาจทางเศรษฐกิจ ขั้วอานาจทางทหาร เช่น สหรัฐอเมริกาจะเป็นขั้วอานาจทั้งทางการเมืองเศรษฐกิจและ
การทหาร ส่วนอียูและญี่ปุ่น คือ ขั้วอานาจทางเศรษฐกิจ
การจะดูว่ารัฐใดหรือกลุ่มใดเป็นศูนย์กลางอานาจจะดูจากปัจจัย 3 ประการ
- ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมของตัวแสดงอื่นๆ
- ความสามารถควบคุมผลลัพธ์ระหว่างประเทศได้ ผลลัพธ์ในที่นี้ก็คือ ความร่วมมือและความขัดแย้ง
ระหว่างประเทศนั่นเอง
- ความสามารถในการควบคุมทรัพยากร เช่น น้ามัน เทคโนโลยี แร่ธาตุ ความสามารถในการควบคุม
ทรัพยากรอาจจะมาทั้งจากการซื้อหรือการใช้กาลังเข้ายึดครอง
ดังนั้น หลังสงครามเย็นมาจนถึงต้นปี 2000 โลกของเราจึงอยู่ในระบบขั้วอานาจ ที่เรียกว่า Uni-polar
System หรือ ระบบขั้วอานาจขั้วเดียว นั่นคือ สหรัฐอเมริกาเป็นศูนย์กลางอานาจเพียงหนึ่งเดียวที่สามารถ
สั่งการ ชี้นา บงการโลกทั้งโลกได้อย่างเต็มที่
อย่างไรก็ตาม บางคนมองว่าลักษณะของขั้วอานาจขั้วเดียวนั้นเกิดขึ้นเพียงระยะเวลาสั้นๆ หลังสงคราม
เย็นสิ้นสุดใหม่ๆ เท่านั้น แต่หลังจากผ่านพ้นไประยะหนึ่งระบบขั้วอานาจของโลกก็ได้เปลี่ยนเป็นระบบที่
เรียกว่า Uni-Multipolar System หรือระบบหลายขั้วอานาจแบบศูนย์เดียว หมายถึง แม้ว่าสหรัฐอเมริกา
จะเป็นเอกกะอภิมหาอานาจเพียงหนึ่งเดียวแต่ก็ยังมีมหาอานาจอื่นๆ ที่เข้ามีอิทธิพลและมีบทบาทควบคู่ไปกับ
สหรัฐ ไม่ว่าจะเป็นอังกฤษ ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น จีน
2.3 การกระจายอานาจ (Distribution of Power) ในระบบระหว่างประเทศ
เป็นการพิจารณาว่า ในระบบระหว่างประเทศนั้นอานาจได้ถูกแบ่งหรือถูกกระจายไปอย่างไร เช่น
ปัจจุบันอานาจจะอยู่กับอเมริกาที่เป็นเอกะอภิมหาอานาจส่วนที่เหลือก็จะแบ่งไปที่มหาอานาจ ทั้งจีน รัสเซีย อี
ยู ญี่ปุ่น หรือมหาอานาจขนาดกลาง เช่น อิสราเอลและมหาอานาจขนาดเล็ก เช่น เวียดนามที่เป็นประเทศที่มี
กองทัพขนาดใหญ่
2.4 ความมากน้อยของความเป็นลักษณะเดียวกัน (Homogeneity) ในระบบระหว่างประเทศ
ประเด็นนี้เป็นการพิจารณาว่าในระบบระหว่างประเทศนั้นแบ่งเป็นกี่กลุ่ม ที่มีลักษณะเหมือนกัน เช่น
- ทุนนิยม / สังคมนิยม
- ประชาธิปไตย / คอมมิวนิสต์
- การค้าเสรี / การค้าที่ไม่เสรี
- ประเทศอุตสาหกรรม / ประเทศเกษตรกรรม
- ประเทศที่พัฒนาแล้ว/ ประเทศกาลังพัฒนา
3. กระบวนการ (Process) หมายถึง แบบอย่างของการกระทาที่มีต่อกันของตัวแสดงบทบาทในสังคม
ระหว่างประเทศ รวมทั้งวิธีการที่ตัวแสดงเลือกที่จะนามาใช้ในการนามาซึ่งผลประโยชน์ที่ต้องการ แบบอย่าง
ของการกระทาดังกล่าวอาจจะเป็นการใช้ความรุนแรง ก้าวร้าว หรือประนีประนอม หรือเน้นความร่วมมือ เช่น
อเมริกาเลือกที่จะใช้วิธีการทาสงครามในการต่อต้านการก่อการร้ายแทนที่จะใช้วิธีการอื่นๆ เช่นเดียวกับ
ขบวนการก่อการร้ายก็นาเอาวิธีการที่รุนแรงมาใช้เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของตนเองเช่นกัน
4. สภาพแวดล้อมระหว่างประเทศ (International Environment) หมายถึง สภาพแวดล้อมที่อยู่
ภายนอกระบบระหว่างประเทศและมีผลต่อระบบระหว่างประเทศ เช่น มีผลต่อการกระทาของตัวแสดง
ขณะเดียวกันระบบระหว่างประเทศก็มีผลต่อสภาพแวดล้อมด้วย เช่น สภาพแวดล้อมในยุคสงครามเย็นจะมีผล
ต่อระบบระหว่างประเทศ ทาให้พฤติกรรมของตัวแสดงบทบาทของผู้แสดงบทบาทที่ต่างไปจากยุคหลังสงคราม
เย็น
การศึกษาถึงระบบระหว่างประเทศจะมีทั้งระบบการเมืองระหว่างประเทศ และระบบเศรษฐกิจระหว่าง
ประเทศ การเข้าใจระบบการเมืองระหว่างประเทศจะทาให้เราสามารถวิเคราะห์สถานการณ์การเมืองโลกได้
เป็นอย่างดี ทาให้เราตอบคาถามได้ว่า ทาไมตัวแสดงแต่ละตัวแสดงพฤติกรรมต่างๆ ออกมา เข้าใจสาเหตุที่อยู่
เบื้องหลังของเหตุการณ์การเมืองระหว่างประเทศ
ประกอบกับเป็นยุคของโลกาภิวิตน์ ซึ่งเป็นยุคที่ต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันเป็นปรากฎการณ์ที่
หลอดรวมความสัมพันธ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในทุกมุมส่วนของโลก ให้
มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันและใกล้ชิดกันมากขึ้นตามแบบอย่างโลกตะวันตกอย่างที่ไม่เคยปรากฎ
ขึ้นมาก่อน เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ห่างไกลและข้ามพรมแดนรัฐสามารถถูกรับรู้ได้ทันที่ทาให้
โลกมีลักษณะเป็นหมู่บ้านโลก โดยมีเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นตัวช่วยสนันสนุน
ก่อให้เกิดการเชื่องโยงประสานใน 3 ด้าน คือ
- เชื่อมโยงประสานกันทางเศรษฐกิจระหว่างนานาประเทศ คือ ส่งผลให้มีการไหลเวียนของ
สินค้า บริการ เงินทุน ผู้คน และทรัพยากรที่ข้ามพ้นกาแพงรัฐชาติ เช่น อุตสาหกรรมผลิตรถยนต์ ของ
บริษัทโตโยต้า ใช้เทคโนโลยีและการพัฒนา จากประเทศญีปุ่น อาศัยชินส่วน เช่น ล้อ ตัวถังจากประเทศ
จีน แต่กลับนาไปประกอบเป็นตัวรถยนต์ในประเทศไทยแทน เป็นต้น
- เชื่อมโยงประสานทางแนวความคิด ความเชื่อ และอุดมการณ์ เช่น ความเป็นประชาธิปไตย
สิทธิมนุษยชน การค้าเสรี เป็นต้น
- เชื่อมโยงประสานโลกให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ดังนั้นโลกในยุคโลกาภิวัตน์ต้องเป็นโลกที่ต้องมีระเบียบกฎเกณฑ์ หรือระเบียบโลก ซึ่งระเบียบ
โลกดังกล่าวถูกกาหนดโดยมหาอานาจตะวันตกโดยมีสหรัฐฯ เป็นหัวหน้า ซึ่งประเทศกาลังพัฒนา
ทั้งหลายต่างต้องอยู่ภายใต้ระบบดังกล่าว
ความร่วมมือและความขัดแย้งในระบบเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
จากลักษณะของระบบเศรษฐกิจระหว่างประเทศตามที่กล่าวไปแล้วข้างต้นทาให้เกิดทั้งความ
ร่วมมือและความขัดแย้งทางเศรษฐกิจ
ความขัดแย้งนั้นมีสาเหตุจากดังต่อไปนี้
- ความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติและเผ่าพันธุ์
- ความขัดแย้งทางศาสนา
- ความแตกต่างทางได้อารยธรรม
- ความแตกต่างทางด้านอุดมการณ์ทางการเมืองของระบบเศรษฐกิจ
- การแข่งขันด้านอาวุธ
- ลัทธิชาตินิยม
- ความขัดแย้งทางประวัติศาสตร์ระหว่างชนชาติต่างๆ
- การต่อต้านบทบาทของชาติมหาอานาจ
และเมื่อเกิดความขัดแย้งขึ้นก็จะต้องเกิดความร่วมมือขึ้นเพื่อช่วยกันแก้ไขปัญหาต่างๆนั่นเอง
ดังนี้
- ความร่วมมือทางการทหาร
- ความร่วมมือทางการเมือง
- ความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ
- ความร่วมมือทางด้านการศึกษาและวัฒนธรรม
ความร่วมมือนั้นได้กล่าวไปแล้วว่าเกิดขึ้นทั้งในรูปของการเจรจาการค้าแบบทวิภาคี เช่น เขต
การค้าเสรีไทย-ออสเตรเลีย ไทย-จีน สหรัฐกับสิงคโปร์ และการเจรจาการค้าแบบพหุภาคี เช่น
อาเซียน-จีน เกิดความร่วมมือในระดับภูมิภาค เช่น เอกเปก อียู นาฟต้า รวมทั้งความร่วมมือในอนุ
ภูมิภาค เช่นสามเหลี่ยม เศรษฐกิจ ห้าเหลี่ยมเศรษฐกิจ เป็นต้น
นอกจากนี้ยังมีความร่วมมือในลักษณะของการลงทุนร่วมกัน
อย่างไรก็ตามความขัดแย้งทางเศรษฐกิจก็เกิดขึ้นอย่างสาคัญเช่นกันโดยเฉพาะความขัดแย้งที่
เกิดขึ้นจากการกีดกันทางการค้า เช่นกรณีที่อียูกีดกันการนาเข้ากล้วยจากสหรัฐ จนกลายเป็นความ
ขัดแย้งทางการค้าระหว่างสหรัฐกับอียู และมีประเด็นอื่นๆ ตามมาอีกหลายเรื่อง
แม้กระทั่งประเทศไทยเองเราก็มีความขัดแย้งกับประเทศคู่ค้าตลอดเวลา เช่นการที่ไทยโดนกีด
กันสินค้ากุ้งจากสหรัฐ สินค้าเหล็กจากโปแลนด์ หรือสินค้าอาหารจากอียู
ที่สาคัญการที่มหาอานาจโดยเฉพาะสหรัฐและอียู ได้ใช้องค์การระหว่างประเทศเป็นเครื่องมือใน
การแสวงหาประโยชน์และก่อให้เกิดการค้าที่ไม่เป็นธรรม ทาให้เกิดความขัดแย้งในสังคมชุมชนระหว่าง
ประเทศ โดยมี สาเหตุมาจากการค้าการลง
ทุนระหว่างประเทศ เช่นปัญหาที่เกิดจากการเก็งกาไรของระบบทุนนิยม ทาให้เกิดทุนนิยมคาสิโน เช่น
การปั่นหุ้น การทุบค่าเงิน อันส่งผลให้เศรษฐกิจของบางประเทศล้มลงและบรรษัทข้ามชาติก็เข้าไป
แสวงหาประโยชน์
นอกจากนี้ระบบทุนนิยมโลกทาให้เกิดทุนนิยมมาเฟีย เช่นเกิดอาชญากรรมข้ามชาติ การค้า
ผู้หญิงข้ามชาติ การฟอกเงินข้ามชาติ
สรุปทฤษฏีที่ใช้ในการวิเคราะห์
ทฤษฎีที่ใช้ในการวิเคราะห์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
1. ทฤษฎีพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันระหว่างประเทศ
2. ทฤษฏีบูรณาการทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคมี 5 ขั้นตอน ได้แก่
1) ความร่วมมือจัดตั้งเขตการค้าเสรี (Free Trade Area / Agreement: FTA) หมายถึง การร่วมมือกัน
ของประเทศสมาชิกในภูมิภาคเพื่อขจัดอุปสรรคทางการค้า ยกเลิกภาษีทางการค้าระหว่างกัน มีการเคลื่อนย้าย
สินค้าโดยเสรีระหว่างประเทศสมาชิก โดยประเทศสมาชิกยังจัดเก็บภาษีศุลกากรกับประเทศนอกกลุ่มได้ตาม
นโยบายของตนเอง
2) สหภาพศุลกากร (Custom Union) หมายถึง ประเทศสมาชิกนอกจากจะยกเลิกภาษีทางการค้า ลด
อุปสรรคระหว่างกันแล้วยังใช้ระบบภาษีศุลกากรกับประเทศนอกกลุ่มในอัตราเดียวกัน หรือมี Common Custom
Policy
3) ตลาดร่วม (Common Market) หมายถึง การขยายความร่วมมือด้านการค้าถึงขนาดที่เปิดโอกาสให้ทุน
แรงงาน การประกอบการเคลื่อนไหวอย่างเสรีภายในกลุ่ม เช่น แรงงานในเยอรมันไปทางานในฝรั่งเศส ในอังกฤษ
และประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปอื่นๆ ได้อย่างเสรี
4) สหภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Union) เป็นการรวมตัวกันตั้งแต่ขั้นตอนที่ 1+ 2+ 3 รวมกับการ
กาหนดนโยบายสังคม เศรษฐกิจ การเงิน การคลังร่วมกัน
5) สหภาพการเมือง (Political Union) ถือเป็นจุดสุดท้ายของการบูรณาการทางเศรษฐกิจ หมายถึง การ
ใช้นโยบายการเมืองและความมั่นคงอันเดียวกัน เช่นเดียวกับ United States of America ขั้นตอนนี้ยังคงเป็นไปได้ยาก
เพราะรัฐต่างๆ ยังอยากสงวนอานาจอธิปไตยในการกาหนดนโยบายการเมืองและความมั่นคงของตนเองอยู่
ทฤษฏีที่ใช้ในการวิเคราะห์ความขัดแย้งทางเศรษฐกิจ
1. ทฤษฏีพึงพิง
2. ทฤษฏีระบบโลก
ทฤษฎีที่ใช้ในการวิเคราะห์ความร่วมมือทางการเมือง
ทฤษฏีดุลแห่งอานาจ
เป็นทฤษฎีที่บอกว่าโลกจะไม่เกิดปัญหาความรุนแรง ไม่มีสงคราม หากมีความได้ดุลในอานาจของ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เนื่องจากต่างฝ่ายต่างต้องกลัวอานาจของอีกฝ่าย เช่น รัสเซียก็พยายามสร้างดุลกับ
สหรัฐอเมริกา หรือในยุคของสงครามเย็นฝ่ายคอมมิวนิสต์ก็พยายามรวมกลุ่มกันเพื่อสร้างดุลอานาจกับฝ่ายโลกเสรี
ทฤษฎีที่ใช้ในการวิเคราะห์ความขัดแย้งทางการเมือง
1) แนวคิดการครองความเป็นเจ้า เช่น สหรัฐที่พยายามครองความเป็นเจ้าจึงต้องเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับทุก
ประเทศในโลก โดยใช้เครื่องมือทุกอย่างเพื่อให้ตนเองครองความเป็นเจ้าโลก
2) แนวคิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย เป็นแนวคิดที่บอกว่าหากประเทศเล็กๆ จะเอาชนะประเทศมหาอานาจ
ซึ่งมีความพร้อมในทุกด้านทั้งเศรษฐกิจ กาลังทหาร จะต้องใช้วิธีการก่อการร้าย เนื่องจากเป็นวิธีการที่ทาให้ประเทศ
มหาอานาจเกิดความประหวั่นพรั่นพรึง
ในการกาหนดนโยบายบริหารประเทศ รวมถึงการวางนโยบายต่างประเทศ จะเป็นสิ่งที่เกี่ยวกับ
ผลประโยชน์ทั้งสิ้น ซึ่งในการกาหนดผลประโยชน์ของชาติจะต้องพิจารณาถึงปัจจัยต่อไปนี้ เรียงลาดับ
ความสาคัญต่อไปนี้
1.ความอยู่รอดของประเทศและความปลอดภัยของประเทศ เป็นสิ่งแรกที่ต้องคานึงถึง เพราะ
เป็นสิ่งสาคัญมาก ส่งผลให้ประเทศต่าง ๆ สามารถเข้ามาทาสงครามได้ทันที เนื่องจากว่ารู้สึกตนเอง
ไม่ปลอดภัย
2.ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ เป็นองค์ประกอบที่นาประเทศไปสู่ความเจริญรุ่งเรืองและเป็น
มหาอานาจได้
3.การขยายอานาจของประเทศ แต่ละประเทศก็ต้องการขยายอานาจของตน หรือไม่ก็ต้อง
พยายามรักษาอานาจของตนที่มีอยู่ไม่ให้น้อยลง
4.เกียรติภูมิของประเทศ มีความสาคัญต่อการวางนโยบายต่างประเทศ เพราะเกี่ยวเนื่องกับ
ความน่าเชื่อถือในเวทีโลก ซึ่งอาจส่งผลกระทบกับการติดต่อค้าขาย การส่งเสริมการลงทุนในประเทศ
และการขยายอานาจ
5. ผลประโยชน์แห่งชาติ คือ ความต้องการหรือความปรารถนาอันสาคัญยิ่งของประชาชน
ส่วนรวม ความต้องการนั้นจึงมีลักษณะกว้างและค่อนข้างถาวรและเมื่อได้พิจารณากาหนดขึ้นแล้ว ก็
จะต้องมุ่งกระทาโดยต่อเนื่องเพื่อให้บรรลุผล
ดังนั้นในเรื่องของผลประโยชน์ของชาติในเวทีระหว่างประเทศนั้นจะมีผลไปในสองด้านคือ
1. ผลประโยชน์ร่วมกัน (common interests)
2. ความขัดแย้งในผลประโยชน์ (conflicting interests)
ซึ่งทั้ง 2 ตัวนี้จะเป็นตัวกาหนดว่าเมื่อไรจะเป็น มิตร หรือ ศัตรูกัน
1. ถ้าเมื่อไรที่ประสานประโยชน์กันได้ ในจุดที่เรียกว่า ใจประสานกัน ก็จะเป็นเพื่อน เป็นหุ้นส่วน
จนถึงการรวมคิดร่วมด้วยช่วยกัน แต่สภาพนี้ก็ไม่ได้จีรังตลอด
2. ซึ่งอาจจะมาขัดแย้งกัน กลายเป็นศัตรู คู่แข่ง คู่ขัดแย้งกัน แต่สภาพนี้ก็ไม่จีรัง
เหมือนกันขึ้นอยู่กับว่าถ้าประสานประโยชน์กันได้ก็จะกลายเป็นมิตรกันอีก
ในเรื่องของความคิดแย้งในประชาคมระหว่างประเทศนั้นมีแนวคิด 3B+3R ซึ่งเป็นที่มาของความขัดแย้ง
3B ประกอบด้วย
1. Background (ภูมิหลัง) คือภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ที่เคยเกิดขึ้นในอดีตว่ามีความสัมพันธ์ในแง่ใด
2. Belief (ความเชื่อ) ความเชื่อในขนบธรรมเนียมประเพณี
3. Benefit (ผลประโยชน์) บุคคลย่อมมีผลประโยชน์เป็นของตนเอง
3R ประกอบด้วย
1. Race (เชื้อชาติ) อัตลักษณ์ที่อยู่ในตัวแต่ละคน อาจจะเกี่ยวกับสีผิว เชื่อชาติ
2. Religion (ศาสนา) ศรัทในคาสอนที่ต่างกัน
3. Resources (ทรัพยากร) มีทรัพยากรจากัดไม่พอสาหรับการสนองต่อความต้องการ
เครื่องมือในการดาเนินนโยบายต่างประเทศ
1. การทูต - - การเจรจาต่อรอง
** ประเทศที่สาม ผู้ไกล่เกลี่ย - - อานวยความสะดวกด้านสถานที่ / เวลาในการเจรจา แต่ไม่เข้าไปยุ่ง มี 2
รูปแบบ คือ
1. Good Office - - ผู้ให้บริการ ประสานไมตรี
2. Mediation (Mediator) เข้าร่วมประชุมด้วย
*** ศัพท์น่ารู้
Corridor Diplomatic = การเจรจาริมระเบียง ใช้ช่วงเวลาเบรคทานของว่างในการเจรจา (นอกรอบ)
Funeral Diplomatic = งานทูตในงานศพ เจรจาในงานศพ
2. เศรษฐกิจ - - การแลกเปลี่ยน, การจูงใจ, การบีบบังคับ
ประมาณปี 1974 อาหรับใช้มาต่อรองกับประเทศที่หนุนอิสราเอล ที่เรียกว่าเป็น Oil Politic คือ การไม่
ขายสินค้าที่จาเป็นให้กับประเทศที่หนุนอิสราเอล
** embarge = ไม่ขาย boycott = การบีบบังคับโดยการงดเว้น
Money Diplomacy = ใช้เงินทุ่ม เพื่อช่วยเหลือ
SAR : Special Administration Region
3. จิตวิทยา - โฆษณาชวนเชื่อ
- แก้ข่าว / เสริมสร้างภาพลักษณ์
สงครามน้าลาย – War of words – การกล่าวหาโจมตีกันโดยคาพูด
Imperialist – ลัทธิจักรวรรดินิยม
Hegemonist – ลัทธิความเป็นเจ้า
Expansionists – ลัทธิที่ชอบขยายอานาจ เช่น จีน
Lucky (Running Dog) – สุนัขรับใช้ – ไทยเคยถูกประเทศคอมมิวนิสต์กล่าวหาว่าเป็นสุนัขรับใช้
อเมริกา
4. ทางทหาร - - ใช้เป็นทางสุดท้าย หรือ เพื่อป้องกันตัวเอง
Ultima Retio / Last resort วิธีสุดท้าย, ช่องทางสุดท้าย
Threat - การคุกคาม (รัฐไม่ควรใช้ทหารไปคุกคามรัฐอื่นๆ)
Richard Nixon – Negotiation from strength
การทูตที่มีศักยภาพทางทหารที่เข้มแข็งหนุนหลังให้ยาเกรง กาปั้นเหล็กภายใต้ถุงมือกามะหยี่
ทฤษฏีที่สาคัญในการกาหนดนโยบายต่างประเทศ
ทฤษฏีเกี่ยวพัน (Linkage Theory)
เป็นทฤษฏีที่ชี้ให้เห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่างสภาวะแวดล้อมของภายในประเทศ (ปัจจัย
ภายในประเทศ) กับ สภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศ (ปัจจัยภายนอกประเทศ) ที่จะส่งผลต่อการกาหนด
นโยบายต่างประเทศของประเทศใดประเทศหนึ่งในห้วงเวลาใดเวลาหนึ่ง
ทฤษฏีการตัดสินใจ (Decision Making Theory)
หลักการของทฤษฏีการตัดสินใจ
1. ลักษณะของผู้ตัดสินใจ
2. กระบวนการการตัดสินใจ
3. เทคนิคและเกณฑ์บรรทัดฐานที่ผู้ตัดสินใจนามาใช้เพื่อหาข้อตกลงใจ
ในการตัดสินใจจะมีตัวแปร 3 ตัวคือ
1. ปัจจัยภายใน ได้แก่ เศรษฐกิจภายในประเทศ พรรคการเมือง กองทัพ
2. ปัจจัยภายนอก ได้แก่ ระเบียบโลก เศรษฐกิจโลก
3. กระบวนการตัดสินใจองกรที่ตัดสินใจมีความสามารถแค่ไหน รู้เขารู้เราอย่างไร มีข้อมูลข่าวสาร
การสื่อเป็นอย่างไร แล้วกาหนดนโยบายเพื่อประโยชน์ส่วนตน หรือ เนื่องจากผลประโยชน์ปห่งชาติ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
Paew Tongpanya
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
Wichai Likitponrak
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
Namthip Theangtrong
 
7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม
Wichai Likitponrak
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Jariya Jaiyot
 
คู่มือวิเคราะห์เศรษฐกิจชุมชนระดับชาวบ้าน
คู่มือวิเคราะห์เศรษฐกิจชุมชนระดับชาวบ้านคู่มือวิเคราะห์เศรษฐกิจชุมชนระดับชาวบ้าน
คู่มือวิเคราะห์เศรษฐกิจชุมชนระดับชาวบ้าน
อลงกรณ์ อารามกูล
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงาน
Chainarong Maharak
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
Evesu Goodevening
 
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบสใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
Aomiko Wipaporn
 

Was ist angesagt? (20)

หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
 
Lessonplan 5animalgrowth2
Lessonplan 5animalgrowth2Lessonplan 5animalgrowth2
Lessonplan 5animalgrowth2
 
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม
 
สืบพันธุ์
สืบพันธุ์สืบพันธุ์
สืบพันธุ์
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60
 
คู่มือวิเคราะห์เศรษฐกิจชุมชนระดับชาวบ้าน
คู่มือวิเคราะห์เศรษฐกิจชุมชนระดับชาวบ้านคู่มือวิเคราะห์เศรษฐกิจชุมชนระดับชาวบ้าน
คู่มือวิเคราะห์เศรษฐกิจชุมชนระดับชาวบ้าน
 
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
 
digestive system.pdf
digestive system.pdfdigestive system.pdf
digestive system.pdf
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงาน
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบสใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 

Ähnlich wie เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด b

บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
Thammasat University
 

Ähnlich wie เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด b (7)

บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
 
งาน อ.ป
งาน อ.ป งาน อ.ป
งาน อ.ป
 
ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
 
9789740335894
97897403358949789740335894
9789740335894
 
law
lawlaw
law
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่
 

Mehr von ประพันธ์ เวารัมย์

Mehr von ประพันธ์ เวารัมย์ (20)

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่นแนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
 
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ชุดที่ 2
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  ชุดที่ 2แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  ชุดที่ 2
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ชุดที่ 2
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชนสรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
 
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณแนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
 
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อ
แนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อแนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อ
แนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อ
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบท้องถิ่นแนวข้อสอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบท้องถิ่น
 
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
 
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
 

เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด b

  • 1. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ความหมาย ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relation) คือ กิจกรรมหรือการกระทาต่างๆ ของผู้ แสดงบทบาทระหว่างประเทศ ซึ่งอาจจะเป็นรัฐหรือไม่ใช่รั อย่างเช่น บรรษัทข้ามชาย ผู้ก่อการร้าย หรือ ขบวนการก่อการร้าย องค์การระหว่างประเทศ กลุ่มระหว่างประเทศเป็นต้น หัวใจสาคัญของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จะมี 2 เรื่อง 1. ความร่วมมือระหว่างประเทศ (International Relation) ไม่ว่าจะเป็นความร่วมมือด้านการเมือง เศรษฐกิจ ทหาร วัฒนธรรม สังคม ประเพณี วิทยาศาสตร์ เป็นต้น 2. ความขัดแย้งระหว่างประเทศ (International Conflict) เช่นความขัดแย้งทางการเมือง เศรษฐกิจ ทหาร หรือด้านอื่นๆ เป็นต้น ลักษณะพื้นฐาน โดยทั่วไปของสังคมชุมชนระหว่างประเทศ เอ็ดเวิร์ด แอล มอร์ส กล่าวว่า ปัจจุบัน สังคมชุมชนระหว่างประเทศมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ลักษณะพื้นฐานทั่วไปของสังคมชุมชนระหว่างประเทศ มีลักษณะที่สาคัญดังนี้ 1.สังคมชุมชนระหว่างประเทศ มีจานวนสมาชิกที่มีจานวนไม่แน่นอน และเปลี่ยนแปลงได้ ตลอดเวลา ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 จานวนสมาชิกที่เป็นรัฐเอกราชในองค์การสันนิบาตชาติมีจานวนสมาชิกมาก ที่สุดเพียง 6 รัฐ แต่เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 รับอาณานิคมทั้งหลาย เช่น อินเดีย ลาว ฯลฯ ได้รับการ ปลดปล่อยจากเจ้าอาณานิคม จึงก่อให้เกิดรัฐเอกราชเพิ่มขึ้นอีกมาก และเมื่อโซเวียตล่มสลาย และแยกตัว ออกเป็นรับเอกราช 15 สาธารณรัฐ และการรวมประเทศ เยอรมันตะวันตกกับเยอรมันตะวันออก ซึ่งล้วนมีผล ต่อการเปลี่ยนแปลงจานวนสมาชิกในสังคมชุมชนระหว่างประเทศ 2. ทรัพยากรธรรมชาติมีค่อนข้างจากัด ทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ ทรัพยากรทางด้านอาหาร พลังงาน และแร่ธาตุต่างๆ ที่ใช้ตอบสนอง ความ ต้องการของมนุษย์ ทาให้รัฐเอกราชทั้งหลายพยายามที่จะปกป้องและพิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของรัฐ เช่นการ ใช้มาตรการประกาศเขตเศรษฐกิจจาเพาะทางทะเล หรือปัญหาพลังงานน้ามันราคาแพงขึ้น ทาให้ประเทศไทย ประสบกับภาวะขาดดุลการค้าและจาเป็นต้องรับจัดหาพลังงานทดแทนในปัจจุบัน เป็นต้น 3. ความเสมอภาคท่ามกลางความไม่เสมอภาค ตามกฎบัตรสหประชาชาติรัฐเอกราชทุกรัฐมีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน มี 1 เสียงเหมือนกัน ไม่ว่าจะ เป็นรัฐใหญ่หรือรัฐเล็กแต่ในความเป็นจริงรัฐใหญ่ย่อมจะมีผลประโยชน์และความได้เปรียบมากกว่ารัฐเล็กๆจึง เป็นบ่อเกิดของการต่อสู้แข่งขัน และแย่งชิงอานาจกันเพื่อให้ได้มาซึ่งความได้เปรียบ ทั้งทางด้านการทหาร เศรษฐกิจ การค้าและยุทธศาสตร์
  • 2. 4. ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐแต่ละรัฐในสังคมชุมชนระหว่างประเทศ นั้นไม่สามารถที่จะอยู่โดดเดี่ยว ตามลาพังได้ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐไม่ว่าจะเป็นระหว่างรัฐใหญ่กับรัฐเล็ก รัฐใหญ่กับรัฐใหญ่ รัฐเล็กกับรัฐเล็กก็ ตามอาจมีผลออกมาในรูปแบบของความร่วมมือ หมายถึงสันติภาพ ความประนีประนอมรอมชอมกันเพื่อการ อยู่ร่วมกันอย่างสันติ หรือความขัดแย้งอันอาจนาไปสู่ภาวะสงครามได้ 5. การพึ่งพาอาศัยกัน ในยุคโลกาภิวัตน์ ในยุคโลกาภิวัตน์ ซึ่งเป็นโลกไร้พรมแดนเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารความคิด การเงินการค้า การบริการ การเมือง วัฒนธรรมสังคม สิ่งแวดล้อม ทาให้เกิดความใกล้ชิดระหว่างรัฐก่อให้เกิดการพึ่งพาอาศัยกัน 6. สังคมชุมชนระหว่างประเทสมีลักษณะเป็นพลวัตร ในลักษณะที่มีความไหลลื่น และมีความเปลี่ยนแปลงอย่างเสมอในทุกรูปแบบ เช่นการพัฒนาด้าน วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี การขนส่งภาพ และข้อมูลข่าวสารข้ามทวีปผ่านดาวเทียม เป็นต้น ** ตรงกับคาที่ว่า ทุกสิ่งไม่เที่ยงแท้แน่นอน ความเปลี่ยนแปลง คือ ความแน่นอน 7.สังคมชุมชนระหว่างประเทศมีลักษณะเป็นอนาธิปไตย เป็นสังคมที่ประกอบไปด้วยสมาชิกที่มีความหลากหลาย เช่น รัฐเอกราชทั้งหลาย องค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรอาสาสมัคร บรรษัทข้ามชาติเป็นต้น มีหลักพื้นฐาน คือ Self Help System – หลักการช่วยเหลือตนเอง - ต้องช่วยเหลือตนเองก่อน 8. สื่อครอบโลก ทฤษฎีสื่อครอบโลก (Global Media Theory) สิ่งที่มนุษย์ไม่สามารถจะหลีกหนีพ้นไปได้ คือสื่อ ซึ่งอาจจะมาในหลากหลายรูปแบบ เช่น สื่อในฐานะที่ เป็นแหล่งข่าวสารให้ความรู้ สื่อในฐานะแหล่งโฆษณา และสื่อบันเทิง ไม่ว่าจะเป็นทางวิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร อินเตอร์เน็ต เป็นต้น จะมีอิทธิพลต่อมนุษย์อย่างไม่สามารถหลักเลี่ยงได้ สื่อจึงอยู่ใกล้ชิด กับมนุษย์อย่างแนบแน่น และเป็นปัจจัยสาคัญในการชี้นาทิศทางของสังคมชุมชนระหว่างประเทศ ใครครอบครองข้อมูลข่าวสาร สามารถครอบครององค์ความรู้ ใครครอบครององค์ความรู้ สามารถครอบครองสื่อ ใครครอบครองสื่อ สามารถครอบครองความเป็นเจ้า ในสังคมชุมชนระหว่างประเทศ ปัญหามักมาจากสื่อที่มีการตีไข่ ใส่สี – สื่อเป็นธุรกิจ อยู่ได้ด้วยกาไร เป็นสินค้า สื่อเป็นดาบสองคม – ที่บอกทั้งแง่ดีและไม่ดี แต่อยู่ที่ผู้บริโภคด้วย ต้องรู้จักเลือกบริโภค เช่น Internet และสามารถทาคนดีเป็นคนเลวได้ หรือ ทาคนเลวเป็นคนดีได้ เพราะสื่อเป็นเจ้าพ่อ Image Making – สร้างภาพ
  • 3. *** การบริโภคสื่อ จึงอย่าด่วนสรุป !!! สื่ออาจครอบงา ในรูปแบบ ต่อไปนี้ 1. สื่อทางเดียว (One Way Communication) เช่น การล้างสมอง, ครอบงาความเชื่อ 2. การผูกขาด (Monopoly) ถ้ามีข้างที่แตกต่าง จะไม่ได้รับการนาเสนอ และผลจากการมีผู้โฆษณา ชวนเชื่อ 3. การประสานประโยชน์ร่วมกัน (Common Interest) 4. เกิดวัฒนธรรมข้ามชาติ (Global Culture) 5. ก่อให้เกิดความฝันข้ามชาติ (Global Dreams) 6. และพฤติกรรมร่วมข้ามชาติ (Global Behavior) 7. ทาให้โลกเป็นหนึ่งเดียว ภายใต้วัฒนธรรมอเมริกัน (Globalization of Americanization) 9.ทุนข้ามชาติ เช่น การเคลื่อนย้ายทุนและทุนการผลิตรถยนต์ของโตโยต้า ,ฟอร์ด การลงทุนข้ามชาติของ เทสโก้โลตัส หรือเอไอเอ เป็นต้น เราถูกครอบงาจากโลกตะวันตกโดยเฉพาะเศรษฐศาสตร์ Adam Smith เขียนหนังสือ ความมั่งคั่งของชาติ Wealth of Nations / An Inquiry into a wealth in the Nations (1776) ซึ่งเป็นปีที่อเมริกาประกาศเอกราช แยกตัวจากอังกฤษ ว่า รัฐบาลไม่ควรก้าวก่าย ระบบธุรกิจ ถ้าจาเป็นให้น้อยที่สุด โดยให้ กลไกตลาด ดาเนินไปด้วยตนเอง ซึ่งกลไกตลาดก็คือ Demand – ความต้องการสินค้า และ Supply – จานวนสินค้า Adam Smith กล่าวว่า มนุษย์มีความเห็นแก่ตัวสูง ซึ่งมีข้อดีและข้อเสีย ก็คือ ความโลภ ซึ่งทาให้มนุษย์ พัฒนาแสวงหาผลผลิตให้มากขึ้น ทาให้เกิดนวัตกรรม (Innovation) มากขึ้น รัฐต้องมาเกี่ยวข้องให้น้อย มาเกี่ยวเฉพาะป้องกันการผูกขาด Invisible Hand ก็คือ มือไร้เงา หรือ มือโปร่งแสง (อ้างอิง ดร.พงษ์ศานติ์ พันธุลาภ) ก็คือ กลไกตลาด นั่นเอง ที่คอบควบคุมตลาด เช่น ค่าของเงิน, อัตราแลกเปลี่ยน ทฤษฎีนี้ที่ครอบงาทุกชุมชนสังคมระหว่าง ประเทศ คิดเหมือนกันหมด ภายใต้ ระบบทุนนิยม David Ricardo – เสนอกฎได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ – ใครผลิตอะไรได้ในต้นทุนในราคาถูก ก็จะผลิต สิ่งนั้นแล้วนามาค้าขายแลกเปลี่ยนกัน 10.สังคมไร้พรมแดน พรมแดนและทฤษฎีทางด้านภูมิศาสตร์เริ่มหมดความหมายเพราะความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี และ ความสาเร็จในอวกาศ สื่อต่างๆ ผ่านดาวเทียมสามารถส่งข้ามพรมแดนประเทศต่างๆ โดยรัฐเจ้าของอธิปไตยไม่ สามารถกั้นขวางหรือว่าตรวจตราได้
  • 4. การเมืองระหว่างประเทศ (International Politics ) ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจะแตกต่างจากการเมืองระหว่างประเทศ (International Politics) ตรงที่ การเมืองระหว่างประเทศจะเป็นส่วนหนึ่งของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หรือเป็นสาขาหนึ่งของ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การเมืองระหว่างประเทศจะเกิดขึ้นต่อเมื่อมีการใช้อานาจระหว่างรัฐหรือระหว่างประเทศเกิดขึ้น การ ใช้อานาจอาจจะใช้อานาจทางการเมือง ทางเศรษฐกิจ หรือการทหารก็เป็นการเมืองระหว่างประเทศทั้งสิ้น อานาจ (Power) หมายถึง ความสามารถ (Ability) ขีดความสามารถ (Capability) หรือปริมาณ ความสามารถ (Capacity) ที่ผู้แสดงบทบาทระหว่างประเทศหนึ่ง ๆ ทาให้ผู้แสดงบทบาทอื่นกระทาตามความ ต้องการของตน หรือละเว้นไม่กระทาในสิ่งที่ตนไม่ต้องการให้กระทาโดยใช้ความรุนแรงหรือการลงโทษ หรือ อาจจะใช้ในรูปการโน้มน้าวจูงใจหรือการให้รางวัลก็ได้ การแซงชั่น หมายถึง การลงโทษ เช่น ไม่มีการนาเครื่องบินลงลิเบีย และไม่ให้เครื่องบินของลิเบียบิน เข้าประเทศ รวมทั้งงดสั่งซื้อน้ามันจากลิเบีย จนกระทั่งก่อนหน้าปีนี้ ลิเบียก็ยอมส่งผู้ร้ายให้กับสหรัฐและยอม ชดใช้ค่าเสียหาย การเมืองโลก (World Politics) จะมีความหมายกว้างกว่าการเมืองระหว่างประเทศ เป็นการใช้อานาจระหว่างประเทศของผู้แสดง บทบาทระหว่างประเทศอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากรัฐด้วย สถานการณ์การเมืองโลก หมายถึง ปรากฏการณ์ระหว่างประเทศที่เกิดขึ้นในเวทีโลก ที่แสดงให้เห็นถึงการใช้อานาจเพื่อให้เกิด ความร่วมมือและ/หรือความขัดแย้งระหว่างประเทศ สถานการณ์การเมืองโลกต้องมีการใช้อานาจของรัฐและ ตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐ หัวใจสาคัญอยู่ที่อานาจ โดยผู้แสดงบทบาทระหว่างประเทศที่ทั้งเป็นรัฐและไม่ใช่รัฐจะแสดง บทบาท หรือพฤติกรรมอยู่ในเวทีที่เรียกว่า “เวทีโลก” สานักต่างๆ ที่ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประหว่างประเทศมีสานักที่สาคัญ 3 สานัก คือ 1. สานักสัจจะนิยมแบบคลาสสิก (Classical Realism) แนวคิดหลักของกลุ่มนี้ คือ - รัฐเป็นผู้แสดงบทบาทที่สาคัญเพียงผู้เดียว แม้ว่าจะมีผู้แสดงอื่นๆ แต่ไม่มีความสาคัญ - ให้ความสาคัญกับผลประโยชน์ของชาติ เพราะผลประโยชน์เป็นสิ่งที่รัฐปรารถนาและจะอยู่ใน ดินแดนอื่น ทั้งทรัพยากร ความมั่นคงปลอดภัยและการกินดีอยู่ดี - เน้นเรื่องความมั่นคงของปลอดภัย ซึ่งความมั่นคงปลอดภัยแบ่งออกเป็นความมั่นคงด้านจิตวิสัย คือ การมีความรู้สึกว่ารัฐตนเองจะต้องปลอดภัยทางภัยคุกคามต่างๆ ความมั่นคงด้านวัตถุวิสัย คือ การปลอดจากภัยคุกคามต่างๆ ทั้งการก่อการร้าย การทาลายล้างต่างๆ - เน้นการสร้างสัมพันธมิตร เพราะบางรัฐหากมองว่าในเรื่องที่ตนเองไม่สามารถใช้อานาจได้ตามลาพัง ก็จะมีการรวมกับรัฐอื่น เพื่อให้อานาจมีขนาดใหญ่
  • 5. - เน้นการถ่วงดุลอานาจ เช่น ในยุคสงครามเย็นจะมีการถ่วงดุลอานาจระหว่างนาโต้กับวอร์ซอ ด้วย การพัฒนากองกาลังทหารและอาวุธให้มีความทันสมัยและสมรรถภาพเท่าเทียมกัน (ทฤษฎีถ่วงดุลอานาจใช้ได้เฉพาะทางทหารและการเมืองเท่านั้น สานักสัจจะนิยมจึงเน้นวิเคราะห์ ปรากฏการณ์ทางด้านการเมืองเท่านั้น) 1.2 สานักสัจจะนิยมคลาสสิกแนวใหม่ (Neoclassical Realism) จะมีความแตกต่างจากแนวคิดสัจจะนิยม แบบเก่า หลักการที่สาคัญของสานักนี้ คือ - มองว่าเหตุการณ์ระหว่างประเทศทั้งที่เป็นเรื่องของความร่วมมือหรือความขัดแย้ง จะเกิดจาก โครงสร้างของระบบระหว่างประเทศ - สัจจะนิยมแนวใหม่ยังเน้นในเรื่องอนาธิปไตยระหว่างประเทศ คือ มองว่าในโลกนี้ไม่มีองค์กรใดหรือ รัฐใดที่จะมีบทบาทในการควบคุมพฤติกรรมของผู้แสดงบทบาทอื่นๆ ไม่มีกฎหมายหรือข้อ บังคับใดที่จะให้ผู้แสดง บทบาททาตามได้ ถึงมีก็จะไม่ยึดถือ ทาให้เกิดสภาพอนาธิปไตยระหว่างประเทศ - เน้นในเรื่องความมั่นคงปลอดภัย ผลประโยชน์ของรัฐและอานาจ มองว่ารัฐต่างๆ ต้องการอยู่เหนือรัฐอื่น คานึงถึงความปลอดภัยของตนเอง - เน้นการดิ้นรนและต่อสู้ภายใต้สภาพอนาธิปไตย - เน้นดุลแห่งความหวาดกลัว ต่างจากสัจจะนิยมแบบเก่าที่เน้นถ่วงดุลอานาจด้วยอาวุธธรรมดา แต่ดุล แห่งความหวาดกลัวจะมาจากแสนยานุภาพทางด้านนิวเคลียร์ที่ทาให้ 2 ฝ่ายไม่กล้าคุกคามต่อ - การเตรียมพร้อมทางทหารและการป้องปราม 2. สานักเสรีนิยมแนวใหม่ (Neoliberalism) - เน้นการสร้างสถาบัน/องค์การระหว่างประเทศหรือกฎหมายระหว่างประเทศ ที่จะทาให้เกิดความ ร่วมมือโดยเฉพาะความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ เช่น องค์การการค้าโลก (WTO) - เน้นการสร้างสันติภาพ คือ มองว่าหากมีความร่วมมือระหว่างประเทศจะก่อให้เกิดสันติภาพโดยมี องค์การระหว่างประเทศและกฎหมายระหว่างประเทศเป็นเครื่องมือ - เน้นการสร้างประชาธิปไตย เพราะมองว่า หากทุกประเทศเป็นประชาธิปไตยโลกก็จะมีสันติภาพ - เน้นที่การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน (Interdependence) เพื่อให้บรรลุถึงความจาเป็นของมวล มนุษย์ คือ การแก้ไขปัญหาความยากจน การช่วยเหลือกันในการพัฒนาประเทศ การแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม - เน้นความมั่นคงปลอดภัยร่วมกัน (Collective Security) โดยร่วมมือกัน อาจจะมีกองกาลัง ร่วมกัน เช่น กองกาลังขององค์การระหว่างประเทศ
  • 6. - นอกจากนี้ยังเน้นเรื่องระเบียบโลก ซึ่งหมายถึง แบบแผนทางด้านต่าง ๆ ทั้งการค้า การทหาร การทูต ที่มีการกาหนดขึ้นว่าพฤติกรรมในด้านต่างๆ ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศควรจะดาเนินการอย่างไร เช่น ในแง่การค้าก็ต้องเปิดเสรี ในแง่การเมืองก็ต้องประชาธิปไตย - เน้นการรวมตัวเป็นกลุ่มในภูมิภาค - เน้นการปฏิรูปสถาบัน เพื่อให้รองรับกับปัญหาที่เกิดขึ้น **โดยภาพรวมเสรีนิยมแนวใหม่จะเน้นเศรษฐกิจเป็นหลัก** ระเบียบโลก หมายถึง แบบแผนของกิจกรรมหรือกลุ่มของการจัดการทางการเมือง การทูต กฎหมาย เศรษฐกิจ และการทหารเป็นต้น ที่กาหนดวิธีการและหลักเกณฑ์ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของผู้แสดงบทบาทใน ระดับโลก ระเบียบโลกในยุคหลังสงครามเย็น (ถูกกาหนดโดย สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น) 1. การเปิดเสรี (Liberalization) นั่นคือจะต้องเปิดเสรีในด้านการค้า การเงิน และการลงทุน 2. การรวมกลุ่มภูมิภาค (Regionalization) เป็นผลมาจากความสาเร็จของสหภาพยุโรป ซึ่งเริ่ม ตั้งแต่ ปี 1957 เป็นต้นมา สหภาพยุโรปมีประชาคมเศรษฐกิจแห่งยุโรป และวิวัฒนาการมาเป็นสหภาพ ยุโรปในปัจจุบัน ปรากฏว่าสหภาพยุโรปพัฒนาไปถึงระดับที่ 4 แล้ว โดย - ขั้นที่ 1 คือ การเปิดการค้าเสรี - ขั้นที่ 2 คือ สหภาพภาษีศุลกากร - ขั้นที่ 3 คือ ตลาดร่วม - ขั้นที่ 4 คือ สหภาพเศรษฐกิจ - ขั้นที่ 5 คือ สหภาพการเมือง ซึ่งปรากฏว่าสหภาพยุโรปมีการรวมตัวกันเป็นสหภาคที่ 4 เรียบร้อยแล้ว นั่นคือสหภาพเศรษฐกิจการเงิน หรือเรียกว่า EMU 3. การสร้างสถาบันระหว่างประเทศ (Institutionalization) เพื่อนาไปสู่ความร่วมมือระหว่าง ประเทศของประเทศต่างๆ 4. การทาให้เป็นประชาธิปไตย (Democratization) 5. ความมั่นคง (Security) แบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ 5.1 ความมั่นคงทางการเมือง (Political Security) เน้นในเรื่องของ - การร่วมมือต่อต้านการก่อการร้าย (Counter-Terrorism) ซึ่งสหรัฐอเมริกา ได้ ร่วมมือกับ สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น นามติการต่อต้านการก่อการร้ายเข้าไปใน สหประชาชาติ ในการประชุม G 7 G8 หรือแม้กระทั้งการประชุม APEC หรืออาจ กล่าวได้ว่าในการประเกือบทุกที่จะต้องเน้นเรื่องนี้ กลายเป็นมติประชาชาติ
  • 7. 5.2 ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ (Economic Security) - ความมั่งคั่ง - การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ - การอยู่ดีกินดีของประชาชน 5.3ความมั่นคงทางทหาร (Military Security) คือต้องไม่แพร่อาวุธนิวเคลียร์ 6. การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (Privatization) หากกิจการที่เกี่ยวกับเรื่องของการสื่อสารและ คมนาคมไปอยู่ในความควบคุมดูแลของรัฐนั้น จะเกิดการคอร์รัปชั่นขึ้นเป็นจานวนมาก และผลประโยชน์ก็จะ ไม่ได้ตกอยู่กับประชาชน จึงมีความคิดเห็นว่าควรจะให้เอกชนดูแลบริหารงาน วิธีนี้จึงจะทาให้ผลประโยชน์ตก อยู่กับประชาชน 7. สภาพแวดล้อม (Environment) เป็นสิ่งที่ถูกสร้างขึ้นมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการทา FTA จะมีข้อแนบท้ายว่าประเทศนั้นจะต้องรักษาสภาพแวดล้อม 8. สิทธิมนุษยชน (Human Rights) มีข้อกาหนดเช่นเดียวกับการทา FTA ของสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ในส่วนของ Eu นั้นได้กาหนดว่าถ้าประเทศใดก็ตามมีการรักษาสิทธิมนุษยชน สิทธิแรงงาน 9. สิทธิแรงงาน (Labor Rights) 10. การลดระเบียบกฎเกณฑ์ (Deregulation) คือกฎเกณฑ์ที่มีอยู่ที่ขัดขวางการค้าเสรี การ ลงทุนเสรีนั้นต้องลดให้หมด เช่น เรื่องการขอใบอนุญาต การพิสูจน์ในเรื่องสินค้าที่ใช้เวลานาน จะต้องมีการ ลดกฎเกณฑ์ให้หมด 11. การจัดการและการบริหารที่ดี หรือ ธรรมาภิบาล (Good Governance) คือจะต้องมี ความยุติธรรม ต้องมีความรับผิดชอบ และต้องไม่มีการคอร์รัปชั่น เป็นต้น 12. ความโปร่งใส (Transparency) คือ เน้นว่าเมื่อมีการประกาศหรือให้ความช่วยเหลือ ลงทุน หรือเรื่องการประมูลต่างๆ ต้องมีเอกสารประกาศให้เห็นชัดเจน **การรวมตัว คือ เน้นการรวมตัวระหว่างประเทศเพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน เช่น ในการลดภาษี ลดการกีดกันทางการค้า เป็นต้น** 3. สานักโครงสร้างนิยม (Structuralism) จะเน้นที่โครงสร้างที่เป็นอยู่ในเวลานี้ เป็นโครงสร้างของโลกทุนนิยม เป็นโครงสร้างที่เอารัดเอาเปรียบ กอบโกยผลประโยชน์จากประเทศกาลังพัฒนาและด้อยพัฒนา โดยประเทศที่พัฒนาแล้วจะเข้ามากอบโกย ทรัพยากรธรรมชาติ วัตถุดิบ แรงงาน โดยไม่ได้ให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่าต่อประเทศกาลังพัฒนา และมีผลทาให้ ประเทศกาลังพัฒนา ด้อยพัฒนาตลอดกาล ไม่สามารถลืมตาอ้าปากได้ ทฤษฎีที่อยู่ในกลุ่มโครงสร้างนิยม 3.1 ทฤษฎีพึ่งพิง (Dependency Theory) จะมองว่า ในโลกนี้จะแบ่งรัฐออกเป็นรัฐแกนกลาง (Core) ซึ่งเป็นประเทศพัฒนาแล้วกับรัฐปริมณฑล (Periphery) ซึ่งเป็นประเทศกาลังพัฒนา ที่รัฐแกนกลางได้
  • 8. เข้ามากอบโกยผลประโยชน์ด้านต่างๆ จากรัฐปริมณฑล ส่งผลให้รัฐปริมณฑลต้องด้อยพัฒนา ไม่มีโอกาสในการ พัฒนาตนเอง ทฤษฎีนี้จะพูดแต่เรื่องการกอบโกยผลประโยชน์ ไม่ได้พูดถึงความร่วมมือหรือความขัดแย้งที่ ชัดเจน แต่เป็นความขัดแย้งระหว่างโลกเหนือกับโลกใต้ (อาจารย์มองว่าอย่าพยายามเอาทฤษฎีนี้มาอธิบายเพราะจะมองภาพไม่ค่อยชัดให้ใช่ทฤษฏีระบบ โลกแทน) 3.2 ทฤษฎีระบบโลก (World System Theory) บิดาของทฤษฎีนี้ คือ เอ็มมานูเอล วอลเลอร์ไสตน์ กล่าวว่า ประเทศต่างๆ ในโลกแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ - ประเทศศูนย์กลาง (Core) ได้แก่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ได้แก่ สหรัฐฯ และยุโรปตะวันตก แคนาดา - ประเทศกึ่งปริมณฑล (Semi-periphery) ได้แก่ ญี่ปุ่น ประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NICs) คือ เกาหลีใต้ สิงคโปร์ ฮ่องกง ไต้หวัน บราซิล เม็กซิโก อาร์เจนติน่า - ประเทศปริมณฑล (Periphery) ได้แก่ ประเทศกาลังพัฒนาทั้งหลายทั้งเอเชียและอัฟริกา ทฤษฎีระบบโลก กล่าวว่า ประเทศศูนย์กลางจะกอบโกยผลประโยชน์จากประเทศรอบนอกและกึ่งรอบ นอก โดยประเทศกึ่งรอบนอกจะทาหน้าที่สองอย่างคือ ถูกกอบโกยจากประเทศศูนย์กลาง และในเวลาเดียวกัน ก็เข้าไปกอบโกยผลประโยชน์จากประเทศรอบนอกด้วย ทาให้ประเทศรอบนอกเป็นผู้ที่เดือดร้อนมากที่สุด ยิ่ง ทาให้ประเทศรอบนอกไม่มีโอกาสพัฒนาขึ้นมาได้เลย ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ทฤษฎี หมายถึง กลุ่มสมมุติฐานหรือกลุ่มข้อสรุปทั่วไปที่นามาใช้อธิบายวิเคราะห์ และทานาย เหตุการณ์ระหว่างประเทศ ทฤษฎีในกลุ่มเสรีนิยม 1. ทฤษฎีพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันระหว่างประเทศ (Interdependence Theory) นักวิชาการยัง ไม่ยอมรับว่าเป็นทฤษฎี เป็นแต่เพียงแนวคิด เนื่องจากยังไม่มีข้อสรุปที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป และนามาใช้ วิเคราะห์ในเรื่องการค้าเป็นหลักที่มองว่าการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันทาให้เกิดการค้า การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน แบ่งออกเป็น 1) การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันแบบเท่าเทียมกัน เช่น การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันระหว่างสหรัฐ และอียู ทาให้ทั้ง 2 ฝ่ายมีอานาจพอๆ กัน สามารถเจรจาต่อรองกันได้ เพราะทั้ง 2 ฝ่ายต้องมีการแลกเปลี่ยน สินค้าซึ่งกันและกัน เมื่อมีการใช้อานาจจากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง อีกฝ่ายจะตอบโต้ได้ เช่น กรณีสหรัฐได้ออกมาตรา ที่กาหนดว่า ถ้ามีการทุ่มตลาดในตลาดสหรัฐ ให้นาเอาภาษีที่มาจากการทุ่มตลาดไปให้กับบริษัทที่ได้รับ ผลกระทบ ทาให้อียูฟ้องร้อง WTO ผลที่ออกมาคือ WTO ตัดสินว่าสหรัฐทาผิดกฎ WTO แต่เวลานี้สหรัฐฯ ยัง ไม่ยอมยกเลิกมาตราอันนี้ ทาให้อียู แซงชั่นสหรัฐฯ ด้วยการขึ้นภาษีสินค้าจากอเมริกาที่เข้าไปขายในอียู ขณะที่
  • 9. หลายประเทศที่ได้รับผลกระทบจากการกระทาของสหรัฐกลับไม่กล้าแซงชั่น เช่นเดียวกันเมื่อยุโรปละเมิดกฎ เกี่ยวกับเรื่องระบอบกล้วยหอม (การให้สิทธิพิเศษแก่ประเทศในทะเลแคริบเบียนในการส่งออกกล้วยหอมไป ยุโรป) สหรัฐก็ฟ้องไปที่ WTO และ WTO ก็มีการตัดสินว่าอียูผิดให้ยกเลิกระบอบกล้วยหอม 2) การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันแบบไม่เท่าเทียมกัน เช่น กรณีระหว่างไทยกับสหรัฐเป็นการพึ่งพาอาศัยแบบไม่เท่าเทียมกัน ก่อให้เกิดอานาจที่แตกต่างกัน กล่าวคือ ไทยเราเป็นฝ่ายพึ่งพาสหรัฐมากกว่าสหรัฐอเมริกาพึ่งพาไทย ถ้าไทยไม่ให้ความร่วมมือกับ สหรัฐอเมริกา เราก็อาจจะถูกตัด GSP เช่น หากสหรัฐพบว่าเรามีการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาก็จะตัด GSP และการที่เราได้ GSP จากสหรัฐมากเป็นอันดับ 2 ทาให้เราได้ประโยชน์มาก ถ้าถูกตัดก็จะได้รับผลกระทบอย่าง มาก 2. ทฤษฎีระบอบ (Regime Theory) ก็เป็นอีกทฤษฎีหนึ่งในกลุ่มเสรีนิยม ระบอบ หมายถึง หลักเกณฑ์ กฎ แนวปทัสถาน มาตรฐาน กระบวนการตัดสินใจที่ Actors ทั้งหลายตกลงกันว่าจะใช้หลักเกณฑ์ เหล่านี้และสมาชิกทั้งหลายต้องปฏิบัติตาม เช่น กฎบัตรสหประชาชาติ กฎเกณฑ์ของ WTO ซึ่งระบอบนี้จะเป็น ตัวควบคุมพฤติกรรมของรัฐหรือ Actors ทั้งหลายให้ปฏิบัติตาม ทฤษฎีระบอบมองว่าในบางเรื่องตัวกฎเกณฑ์ จะมีผลในการปฏิบัติหรือสมาชิกยอมรับระบอบมากกว่าบางเรื่อง เช่น สมาชิกจะยอมรับกฎเกณฑ์ทางด้าน เศรษฐกิจการค้า และการลงทุนมากกว่ายอมรับกฎเกณฑ์ทางด้านการเมืองและการทหาร ระบบระหว่างประเทศ (International System) ระบบระหว่างประเทศ หมายถึง การกระทาซึ่งกันและกันของผู้แสดงบทบาทในเวทีระหว่างประเทศที่มี การกระทาต่อกันอย่างใกล้ชิดจนกลายเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน การกระทาของตัวแสดงหนึ่งจะมีผลต่อตัวแสดง อื่นๆ ส่วนประกอบของระบบระหว่างประเทศ ประกอบด้วย 1. ผู้แสดงบทบาทระหว่างประเทศ (Actors) มีมากมายหลายตัวดังที่นาเสนอไปแล้ว - ชาติ-รัฐ - องค์การระหว่างประเทศ ได้แก่ องค์การระดับภูมิภาค, องค์การระดับสากล - ผู้แสดงบทบาทที่มีอานาจเหนือรัฐ - สัมพันธมิตร - องค์การข้ามชาติที่ไม่ใช่รัฐบาล เช่น NGOs, ขบวนการก่อการร้าย - กลุ่มย่อยระดับชาติ เช่น สหภาพแรงงาน, กลุ่มผลประโยชน์ - ปัจเจกชน 2. โครงสร้าง (Structure) โครงสร้างในระบบระหว่างประเทศจะประกอบด้วยปัจจัย 4 ประการ คือ 2.1 ความมากน้อยของอิทธิพล (Influence) และทางเข้าไปสู่ทรัพยากร (Resource) ของสมาชิกใน ระบบระหว่างประเทศ หมายถึง การพิจารณาว่าในระบบระหว่างประเทศประกอบไปด้วยประเทศหรือกลุ่มที่มี อิทธิพลนั้นแบ่งเป็นกี่พวก กี่กลุ่ม เช่น ในระบบระหว่างประเทศหลังสงครามเย็น สหรัฐอเมริกาจะเป็นประเทศ
  • 10. ที่มีอิทธิพลทางด้านการเมือง เศรษฐกิจเหนือกว่าประเทศอื่นๆ ขณะเดียวกันก็ยังมีจีน อังกฤษ ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น เยอรมัน สหภาพยุโรป ที่มีอิทธิพล อย่างสาคัญต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 2.2 ความมากน้อยของขั้วอานาจ (Polarity) คาว่าขั้วอานาจ หมายถึง ศูนย์กลางอานาจ ศูนย์กลาง อานาจอาจจะหมายถึงรัฐ กลุ่มรัฐ หรือองค์การระหว่างประเทศ และอาจจะเป็นทั้งขั้วอานาจทางการเมือง ขั้ว อานาจทางเศรษฐกิจ ขั้วอานาจทางทหาร เช่น สหรัฐอเมริกาจะเป็นขั้วอานาจทั้งทางการเมืองเศรษฐกิจและ การทหาร ส่วนอียูและญี่ปุ่น คือ ขั้วอานาจทางเศรษฐกิจ การจะดูว่ารัฐใดหรือกลุ่มใดเป็นศูนย์กลางอานาจจะดูจากปัจจัย 3 ประการ - ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมของตัวแสดงอื่นๆ - ความสามารถควบคุมผลลัพธ์ระหว่างประเทศได้ ผลลัพธ์ในที่นี้ก็คือ ความร่วมมือและความขัดแย้ง ระหว่างประเทศนั่นเอง - ความสามารถในการควบคุมทรัพยากร เช่น น้ามัน เทคโนโลยี แร่ธาตุ ความสามารถในการควบคุม ทรัพยากรอาจจะมาทั้งจากการซื้อหรือการใช้กาลังเข้ายึดครอง ดังนั้น หลังสงครามเย็นมาจนถึงต้นปี 2000 โลกของเราจึงอยู่ในระบบขั้วอานาจ ที่เรียกว่า Uni-polar System หรือ ระบบขั้วอานาจขั้วเดียว นั่นคือ สหรัฐอเมริกาเป็นศูนย์กลางอานาจเพียงหนึ่งเดียวที่สามารถ สั่งการ ชี้นา บงการโลกทั้งโลกได้อย่างเต็มที่ อย่างไรก็ตาม บางคนมองว่าลักษณะของขั้วอานาจขั้วเดียวนั้นเกิดขึ้นเพียงระยะเวลาสั้นๆ หลังสงคราม เย็นสิ้นสุดใหม่ๆ เท่านั้น แต่หลังจากผ่านพ้นไประยะหนึ่งระบบขั้วอานาจของโลกก็ได้เปลี่ยนเป็นระบบที่ เรียกว่า Uni-Multipolar System หรือระบบหลายขั้วอานาจแบบศูนย์เดียว หมายถึง แม้ว่าสหรัฐอเมริกา จะเป็นเอกกะอภิมหาอานาจเพียงหนึ่งเดียวแต่ก็ยังมีมหาอานาจอื่นๆ ที่เข้ามีอิทธิพลและมีบทบาทควบคู่ไปกับ สหรัฐ ไม่ว่าจะเป็นอังกฤษ ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น จีน 2.3 การกระจายอานาจ (Distribution of Power) ในระบบระหว่างประเทศ เป็นการพิจารณาว่า ในระบบระหว่างประเทศนั้นอานาจได้ถูกแบ่งหรือถูกกระจายไปอย่างไร เช่น ปัจจุบันอานาจจะอยู่กับอเมริกาที่เป็นเอกะอภิมหาอานาจส่วนที่เหลือก็จะแบ่งไปที่มหาอานาจ ทั้งจีน รัสเซีย อี ยู ญี่ปุ่น หรือมหาอานาจขนาดกลาง เช่น อิสราเอลและมหาอานาจขนาดเล็ก เช่น เวียดนามที่เป็นประเทศที่มี กองทัพขนาดใหญ่ 2.4 ความมากน้อยของความเป็นลักษณะเดียวกัน (Homogeneity) ในระบบระหว่างประเทศ ประเด็นนี้เป็นการพิจารณาว่าในระบบระหว่างประเทศนั้นแบ่งเป็นกี่กลุ่ม ที่มีลักษณะเหมือนกัน เช่น - ทุนนิยม / สังคมนิยม - ประชาธิปไตย / คอมมิวนิสต์ - การค้าเสรี / การค้าที่ไม่เสรี - ประเทศอุตสาหกรรม / ประเทศเกษตรกรรม - ประเทศที่พัฒนาแล้ว/ ประเทศกาลังพัฒนา
  • 11. 3. กระบวนการ (Process) หมายถึง แบบอย่างของการกระทาที่มีต่อกันของตัวแสดงบทบาทในสังคม ระหว่างประเทศ รวมทั้งวิธีการที่ตัวแสดงเลือกที่จะนามาใช้ในการนามาซึ่งผลประโยชน์ที่ต้องการ แบบอย่าง ของการกระทาดังกล่าวอาจจะเป็นการใช้ความรุนแรง ก้าวร้าว หรือประนีประนอม หรือเน้นความร่วมมือ เช่น อเมริกาเลือกที่จะใช้วิธีการทาสงครามในการต่อต้านการก่อการร้ายแทนที่จะใช้วิธีการอื่นๆ เช่นเดียวกับ ขบวนการก่อการร้ายก็นาเอาวิธีการที่รุนแรงมาใช้เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของตนเองเช่นกัน 4. สภาพแวดล้อมระหว่างประเทศ (International Environment) หมายถึง สภาพแวดล้อมที่อยู่ ภายนอกระบบระหว่างประเทศและมีผลต่อระบบระหว่างประเทศ เช่น มีผลต่อการกระทาของตัวแสดง ขณะเดียวกันระบบระหว่างประเทศก็มีผลต่อสภาพแวดล้อมด้วย เช่น สภาพแวดล้อมในยุคสงครามเย็นจะมีผล ต่อระบบระหว่างประเทศ ทาให้พฤติกรรมของตัวแสดงบทบาทของผู้แสดงบทบาทที่ต่างไปจากยุคหลังสงคราม เย็น การศึกษาถึงระบบระหว่างประเทศจะมีทั้งระบบการเมืองระหว่างประเทศ และระบบเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ การเข้าใจระบบการเมืองระหว่างประเทศจะทาให้เราสามารถวิเคราะห์สถานการณ์การเมืองโลกได้ เป็นอย่างดี ทาให้เราตอบคาถามได้ว่า ทาไมตัวแสดงแต่ละตัวแสดงพฤติกรรมต่างๆ ออกมา เข้าใจสาเหตุที่อยู่ เบื้องหลังของเหตุการณ์การเมืองระหว่างประเทศ ประกอบกับเป็นยุคของโลกาภิวิตน์ ซึ่งเป็นยุคที่ต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันเป็นปรากฎการณ์ที่ หลอดรวมความสัมพันธ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในทุกมุมส่วนของโลก ให้ มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันและใกล้ชิดกันมากขึ้นตามแบบอย่างโลกตะวันตกอย่างที่ไม่เคยปรากฎ ขึ้นมาก่อน เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ห่างไกลและข้ามพรมแดนรัฐสามารถถูกรับรู้ได้ทันที่ทาให้ โลกมีลักษณะเป็นหมู่บ้านโลก โดยมีเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นตัวช่วยสนันสนุน ก่อให้เกิดการเชื่องโยงประสานใน 3 ด้าน คือ - เชื่อมโยงประสานกันทางเศรษฐกิจระหว่างนานาประเทศ คือ ส่งผลให้มีการไหลเวียนของ สินค้า บริการ เงินทุน ผู้คน และทรัพยากรที่ข้ามพ้นกาแพงรัฐชาติ เช่น อุตสาหกรรมผลิตรถยนต์ ของ บริษัทโตโยต้า ใช้เทคโนโลยีและการพัฒนา จากประเทศญีปุ่น อาศัยชินส่วน เช่น ล้อ ตัวถังจากประเทศ จีน แต่กลับนาไปประกอบเป็นตัวรถยนต์ในประเทศไทยแทน เป็นต้น - เชื่อมโยงประสานทางแนวความคิด ความเชื่อ และอุดมการณ์ เช่น ความเป็นประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน การค้าเสรี เป็นต้น - เชื่อมโยงประสานโลกให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ดังนั้นโลกในยุคโลกาภิวัตน์ต้องเป็นโลกที่ต้องมีระเบียบกฎเกณฑ์ หรือระเบียบโลก ซึ่งระเบียบ โลกดังกล่าวถูกกาหนดโดยมหาอานาจตะวันตกโดยมีสหรัฐฯ เป็นหัวหน้า ซึ่งประเทศกาลังพัฒนา ทั้งหลายต่างต้องอยู่ภายใต้ระบบดังกล่าว ความร่วมมือและความขัดแย้งในระบบเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
  • 12. จากลักษณะของระบบเศรษฐกิจระหว่างประเทศตามที่กล่าวไปแล้วข้างต้นทาให้เกิดทั้งความ ร่วมมือและความขัดแย้งทางเศรษฐกิจ ความขัดแย้งนั้นมีสาเหตุจากดังต่อไปนี้ - ความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติและเผ่าพันธุ์ - ความขัดแย้งทางศาสนา - ความแตกต่างทางได้อารยธรรม - ความแตกต่างทางด้านอุดมการณ์ทางการเมืองของระบบเศรษฐกิจ - การแข่งขันด้านอาวุธ - ลัทธิชาตินิยม - ความขัดแย้งทางประวัติศาสตร์ระหว่างชนชาติต่างๆ - การต่อต้านบทบาทของชาติมหาอานาจ และเมื่อเกิดความขัดแย้งขึ้นก็จะต้องเกิดความร่วมมือขึ้นเพื่อช่วยกันแก้ไขปัญหาต่างๆนั่นเอง ดังนี้ - ความร่วมมือทางการทหาร - ความร่วมมือทางการเมือง - ความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ - ความร่วมมือทางด้านการศึกษาและวัฒนธรรม ความร่วมมือนั้นได้กล่าวไปแล้วว่าเกิดขึ้นทั้งในรูปของการเจรจาการค้าแบบทวิภาคี เช่น เขต การค้าเสรีไทย-ออสเตรเลีย ไทย-จีน สหรัฐกับสิงคโปร์ และการเจรจาการค้าแบบพหุภาคี เช่น อาเซียน-จีน เกิดความร่วมมือในระดับภูมิภาค เช่น เอกเปก อียู นาฟต้า รวมทั้งความร่วมมือในอนุ ภูมิภาค เช่นสามเหลี่ยม เศรษฐกิจ ห้าเหลี่ยมเศรษฐกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีความร่วมมือในลักษณะของการลงทุนร่วมกัน อย่างไรก็ตามความขัดแย้งทางเศรษฐกิจก็เกิดขึ้นอย่างสาคัญเช่นกันโดยเฉพาะความขัดแย้งที่ เกิดขึ้นจากการกีดกันทางการค้า เช่นกรณีที่อียูกีดกันการนาเข้ากล้วยจากสหรัฐ จนกลายเป็นความ ขัดแย้งทางการค้าระหว่างสหรัฐกับอียู และมีประเด็นอื่นๆ ตามมาอีกหลายเรื่อง แม้กระทั่งประเทศไทยเองเราก็มีความขัดแย้งกับประเทศคู่ค้าตลอดเวลา เช่นการที่ไทยโดนกีด กันสินค้ากุ้งจากสหรัฐ สินค้าเหล็กจากโปแลนด์ หรือสินค้าอาหารจากอียู ที่สาคัญการที่มหาอานาจโดยเฉพาะสหรัฐและอียู ได้ใช้องค์การระหว่างประเทศเป็นเครื่องมือใน การแสวงหาประโยชน์และก่อให้เกิดการค้าที่ไม่เป็นธรรม ทาให้เกิดความขัดแย้งในสังคมชุมชนระหว่าง ประเทศ โดยมี สาเหตุมาจากการค้าการลง
  • 13. ทุนระหว่างประเทศ เช่นปัญหาที่เกิดจากการเก็งกาไรของระบบทุนนิยม ทาให้เกิดทุนนิยมคาสิโน เช่น การปั่นหุ้น การทุบค่าเงิน อันส่งผลให้เศรษฐกิจของบางประเทศล้มลงและบรรษัทข้ามชาติก็เข้าไป แสวงหาประโยชน์ นอกจากนี้ระบบทุนนิยมโลกทาให้เกิดทุนนิยมมาเฟีย เช่นเกิดอาชญากรรมข้ามชาติ การค้า ผู้หญิงข้ามชาติ การฟอกเงินข้ามชาติ สรุปทฤษฏีที่ใช้ในการวิเคราะห์ ทฤษฎีที่ใช้ในการวิเคราะห์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ 1. ทฤษฎีพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันระหว่างประเทศ 2. ทฤษฏีบูรณาการทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคมี 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ความร่วมมือจัดตั้งเขตการค้าเสรี (Free Trade Area / Agreement: FTA) หมายถึง การร่วมมือกัน ของประเทศสมาชิกในภูมิภาคเพื่อขจัดอุปสรรคทางการค้า ยกเลิกภาษีทางการค้าระหว่างกัน มีการเคลื่อนย้าย สินค้าโดยเสรีระหว่างประเทศสมาชิก โดยประเทศสมาชิกยังจัดเก็บภาษีศุลกากรกับประเทศนอกกลุ่มได้ตาม นโยบายของตนเอง 2) สหภาพศุลกากร (Custom Union) หมายถึง ประเทศสมาชิกนอกจากจะยกเลิกภาษีทางการค้า ลด อุปสรรคระหว่างกันแล้วยังใช้ระบบภาษีศุลกากรกับประเทศนอกกลุ่มในอัตราเดียวกัน หรือมี Common Custom Policy 3) ตลาดร่วม (Common Market) หมายถึง การขยายความร่วมมือด้านการค้าถึงขนาดที่เปิดโอกาสให้ทุน แรงงาน การประกอบการเคลื่อนไหวอย่างเสรีภายในกลุ่ม เช่น แรงงานในเยอรมันไปทางานในฝรั่งเศส ในอังกฤษ และประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปอื่นๆ ได้อย่างเสรี 4) สหภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Union) เป็นการรวมตัวกันตั้งแต่ขั้นตอนที่ 1+ 2+ 3 รวมกับการ กาหนดนโยบายสังคม เศรษฐกิจ การเงิน การคลังร่วมกัน 5) สหภาพการเมือง (Political Union) ถือเป็นจุดสุดท้ายของการบูรณาการทางเศรษฐกิจ หมายถึง การ ใช้นโยบายการเมืองและความมั่นคงอันเดียวกัน เช่นเดียวกับ United States of America ขั้นตอนนี้ยังคงเป็นไปได้ยาก เพราะรัฐต่างๆ ยังอยากสงวนอานาจอธิปไตยในการกาหนดนโยบายการเมืองและความมั่นคงของตนเองอยู่ ทฤษฏีที่ใช้ในการวิเคราะห์ความขัดแย้งทางเศรษฐกิจ 1. ทฤษฏีพึงพิง 2. ทฤษฏีระบบโลก ทฤษฎีที่ใช้ในการวิเคราะห์ความร่วมมือทางการเมือง ทฤษฏีดุลแห่งอานาจ เป็นทฤษฎีที่บอกว่าโลกจะไม่เกิดปัญหาความรุนแรง ไม่มีสงคราม หากมีความได้ดุลในอานาจของ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เนื่องจากต่างฝ่ายต่างต้องกลัวอานาจของอีกฝ่าย เช่น รัสเซียก็พยายามสร้างดุลกับ สหรัฐอเมริกา หรือในยุคของสงครามเย็นฝ่ายคอมมิวนิสต์ก็พยายามรวมกลุ่มกันเพื่อสร้างดุลอานาจกับฝ่ายโลกเสรี
  • 14. ทฤษฎีที่ใช้ในการวิเคราะห์ความขัดแย้งทางการเมือง 1) แนวคิดการครองความเป็นเจ้า เช่น สหรัฐที่พยายามครองความเป็นเจ้าจึงต้องเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับทุก ประเทศในโลก โดยใช้เครื่องมือทุกอย่างเพื่อให้ตนเองครองความเป็นเจ้าโลก 2) แนวคิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย เป็นแนวคิดที่บอกว่าหากประเทศเล็กๆ จะเอาชนะประเทศมหาอานาจ ซึ่งมีความพร้อมในทุกด้านทั้งเศรษฐกิจ กาลังทหาร จะต้องใช้วิธีการก่อการร้าย เนื่องจากเป็นวิธีการที่ทาให้ประเทศ มหาอานาจเกิดความประหวั่นพรั่นพรึง ในการกาหนดนโยบายบริหารประเทศ รวมถึงการวางนโยบายต่างประเทศ จะเป็นสิ่งที่เกี่ยวกับ ผลประโยชน์ทั้งสิ้น ซึ่งในการกาหนดผลประโยชน์ของชาติจะต้องพิจารณาถึงปัจจัยต่อไปนี้ เรียงลาดับ ความสาคัญต่อไปนี้ 1.ความอยู่รอดของประเทศและความปลอดภัยของประเทศ เป็นสิ่งแรกที่ต้องคานึงถึง เพราะ เป็นสิ่งสาคัญมาก ส่งผลให้ประเทศต่าง ๆ สามารถเข้ามาทาสงครามได้ทันที เนื่องจากว่ารู้สึกตนเอง ไม่ปลอดภัย 2.ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ เป็นองค์ประกอบที่นาประเทศไปสู่ความเจริญรุ่งเรืองและเป็น มหาอานาจได้ 3.การขยายอานาจของประเทศ แต่ละประเทศก็ต้องการขยายอานาจของตน หรือไม่ก็ต้อง พยายามรักษาอานาจของตนที่มีอยู่ไม่ให้น้อยลง 4.เกียรติภูมิของประเทศ มีความสาคัญต่อการวางนโยบายต่างประเทศ เพราะเกี่ยวเนื่องกับ ความน่าเชื่อถือในเวทีโลก ซึ่งอาจส่งผลกระทบกับการติดต่อค้าขาย การส่งเสริมการลงทุนในประเทศ และการขยายอานาจ 5. ผลประโยชน์แห่งชาติ คือ ความต้องการหรือความปรารถนาอันสาคัญยิ่งของประชาชน ส่วนรวม ความต้องการนั้นจึงมีลักษณะกว้างและค่อนข้างถาวรและเมื่อได้พิจารณากาหนดขึ้นแล้ว ก็ จะต้องมุ่งกระทาโดยต่อเนื่องเพื่อให้บรรลุผล ดังนั้นในเรื่องของผลประโยชน์ของชาติในเวทีระหว่างประเทศนั้นจะมีผลไปในสองด้านคือ 1. ผลประโยชน์ร่วมกัน (common interests) 2. ความขัดแย้งในผลประโยชน์ (conflicting interests) ซึ่งทั้ง 2 ตัวนี้จะเป็นตัวกาหนดว่าเมื่อไรจะเป็น มิตร หรือ ศัตรูกัน 1. ถ้าเมื่อไรที่ประสานประโยชน์กันได้ ในจุดที่เรียกว่า ใจประสานกัน ก็จะเป็นเพื่อน เป็นหุ้นส่วน จนถึงการรวมคิดร่วมด้วยช่วยกัน แต่สภาพนี้ก็ไม่ได้จีรังตลอด 2. ซึ่งอาจจะมาขัดแย้งกัน กลายเป็นศัตรู คู่แข่ง คู่ขัดแย้งกัน แต่สภาพนี้ก็ไม่จีรัง เหมือนกันขึ้นอยู่กับว่าถ้าประสานประโยชน์กันได้ก็จะกลายเป็นมิตรกันอีก
  • 15. ในเรื่องของความคิดแย้งในประชาคมระหว่างประเทศนั้นมีแนวคิด 3B+3R ซึ่งเป็นที่มาของความขัดแย้ง 3B ประกอบด้วย 1. Background (ภูมิหลัง) คือภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ที่เคยเกิดขึ้นในอดีตว่ามีความสัมพันธ์ในแง่ใด 2. Belief (ความเชื่อ) ความเชื่อในขนบธรรมเนียมประเพณี 3. Benefit (ผลประโยชน์) บุคคลย่อมมีผลประโยชน์เป็นของตนเอง 3R ประกอบด้วย 1. Race (เชื้อชาติ) อัตลักษณ์ที่อยู่ในตัวแต่ละคน อาจจะเกี่ยวกับสีผิว เชื่อชาติ 2. Religion (ศาสนา) ศรัทในคาสอนที่ต่างกัน 3. Resources (ทรัพยากร) มีทรัพยากรจากัดไม่พอสาหรับการสนองต่อความต้องการ เครื่องมือในการดาเนินนโยบายต่างประเทศ 1. การทูต - - การเจรจาต่อรอง ** ประเทศที่สาม ผู้ไกล่เกลี่ย - - อานวยความสะดวกด้านสถานที่ / เวลาในการเจรจา แต่ไม่เข้าไปยุ่ง มี 2 รูปแบบ คือ 1. Good Office - - ผู้ให้บริการ ประสานไมตรี 2. Mediation (Mediator) เข้าร่วมประชุมด้วย *** ศัพท์น่ารู้ Corridor Diplomatic = การเจรจาริมระเบียง ใช้ช่วงเวลาเบรคทานของว่างในการเจรจา (นอกรอบ) Funeral Diplomatic = งานทูตในงานศพ เจรจาในงานศพ 2. เศรษฐกิจ - - การแลกเปลี่ยน, การจูงใจ, การบีบบังคับ ประมาณปี 1974 อาหรับใช้มาต่อรองกับประเทศที่หนุนอิสราเอล ที่เรียกว่าเป็น Oil Politic คือ การไม่ ขายสินค้าที่จาเป็นให้กับประเทศที่หนุนอิสราเอล ** embarge = ไม่ขาย boycott = การบีบบังคับโดยการงดเว้น Money Diplomacy = ใช้เงินทุ่ม เพื่อช่วยเหลือ SAR : Special Administration Region 3. จิตวิทยา - โฆษณาชวนเชื่อ - แก้ข่าว / เสริมสร้างภาพลักษณ์ สงครามน้าลาย – War of words – การกล่าวหาโจมตีกันโดยคาพูด Imperialist – ลัทธิจักรวรรดินิยม Hegemonist – ลัทธิความเป็นเจ้า Expansionists – ลัทธิที่ชอบขยายอานาจ เช่น จีน
  • 16. Lucky (Running Dog) – สุนัขรับใช้ – ไทยเคยถูกประเทศคอมมิวนิสต์กล่าวหาว่าเป็นสุนัขรับใช้ อเมริกา 4. ทางทหาร - - ใช้เป็นทางสุดท้าย หรือ เพื่อป้องกันตัวเอง Ultima Retio / Last resort วิธีสุดท้าย, ช่องทางสุดท้าย Threat - การคุกคาม (รัฐไม่ควรใช้ทหารไปคุกคามรัฐอื่นๆ) Richard Nixon – Negotiation from strength การทูตที่มีศักยภาพทางทหารที่เข้มแข็งหนุนหลังให้ยาเกรง กาปั้นเหล็กภายใต้ถุงมือกามะหยี่ ทฤษฏีที่สาคัญในการกาหนดนโยบายต่างประเทศ ทฤษฏีเกี่ยวพัน (Linkage Theory) เป็นทฤษฏีที่ชี้ให้เห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่างสภาวะแวดล้อมของภายในประเทศ (ปัจจัย ภายในประเทศ) กับ สภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศ (ปัจจัยภายนอกประเทศ) ที่จะส่งผลต่อการกาหนด นโยบายต่างประเทศของประเทศใดประเทศหนึ่งในห้วงเวลาใดเวลาหนึ่ง
  • 17. ทฤษฏีการตัดสินใจ (Decision Making Theory) หลักการของทฤษฏีการตัดสินใจ 1. ลักษณะของผู้ตัดสินใจ 2. กระบวนการการตัดสินใจ 3. เทคนิคและเกณฑ์บรรทัดฐานที่ผู้ตัดสินใจนามาใช้เพื่อหาข้อตกลงใจ ในการตัดสินใจจะมีตัวแปร 3 ตัวคือ 1. ปัจจัยภายใน ได้แก่ เศรษฐกิจภายในประเทศ พรรคการเมือง กองทัพ 2. ปัจจัยภายนอก ได้แก่ ระเบียบโลก เศรษฐกิจโลก 3. กระบวนการตัดสินใจองกรที่ตัดสินใจมีความสามารถแค่ไหน รู้เขารู้เราอย่างไร มีข้อมูลข่าวสาร การสื่อเป็นอย่างไร แล้วกาหนดนโยบายเพื่อประโยชน์ส่วนตน หรือ เนื่องจากผลประโยชน์ปห่งชาติ