SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 10
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ซิสติก ไฟโบรซิส ตัวร้าย
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาว จุฑามาศ เป็งนา เลขที่ 27 ชั้น ม.6/7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1 นางสาว จุฑามาศ เป็งนา เลขที่ 27
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ซิสติก ไฟโบรซิส ตัวร้าย
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Bad CYSTIC FIBROSIS
ประเภทโครงงาน ประเภทศึกษาและสารวจ
ชื่อผู้ทา นางสาว จุฑามาศ เป็งนา
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
โรคซิสติก ไฟโบรซิส คือโรคเรื้อรังที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมทาให้เกิดการสร้างเสมหะข้นใน
ปอด เมือกในตับอ่อน และอวัยวะอื่นๆในร่างกาย เสมหะข้นๆตามทางเดินอากาศในปอด จะทาให้มี
การติดเชื้อและเกิดการทาลายของปอด เมือกที่อยู่ในตับอ่อนก็จะไปขัดขวางการหลั่งเอนไซม์ที่ใช้ย่อย
อาหารก่อนการดูดซึมสารอาหาร Cystic fibrosis จึงถือว่าเป็นภาวะที่ทาให้เกิดอันตรายได้ถึงชีวิต แต่
อาการแสดงและความรุนแรงของมันจะมีความหลายหลายอย่างมากขึ้นกับอายุ ชนิดพันธุกรรมที่มีการ
กลายพันธุที่มี และสุขภาพโดยรวม
3
ซิสติก ไฟโบรซิส เป็นโรคทางพันธุกรรมชนิดหนึ่งหนึ่ง ส่งผลให้ปอดทางานผิดปกติ อวัยวะ
อื่นๆ ที่ผิดปกติด้วยได้แก่ ตับอ่อน ตับ ไต และลาไส้ เป็นต้น ในระยะยาวผู้ป่วยจะมีอาการหายใจ
ลาบาก มีเสมหะปริมาณมากทาให้ไอมาก และเกิดปอดติดเชื้อได้บ่อย อาการอื่นๆ ที่อาจพบได้ได้แก่
ไซนัสอักเสบ การเจริญเติบโตช้า อุจจาระเป็นมัน นิ้วมือนิ้วเท้ามีลักษณะปุ้ม และเป็นหมันในผู้ป่วย
ชาย เป็นต้น ผู้ป่วยมักมีอาการและความรุนแรงที่แตกต่างกันไปในแต่ละราย
โรคนี้ถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบออโตโซมลักษณะด้อย เกิดจากการกลายพันธุ์ในยีนทั้งสอง
ชุดที่ทาหน้าที่สร้างโปรตีนที่ชื่อว่าซีเอฟทีอาร์ หากมีการกลายพันธุ์ในยีนนี้เพียงชุดเดียวจะเป็นพาหะ
และไม่มีอาการของโรค ซีเอฟทีอาร์มีหน้าที่สาคัญในการสร้างสารคัดหลั่ง ได้แก่ เหงื่อ สารคัดหลั่งใน
ทางเดินอาหาร และมูกต่างๆ เมื่อซีเอฟทีอาร์ไม่ทางาน สารคัดหลั่งเหล่านี้จะมีลักษณะที่เหนียวข้น
ผิดปกติ การวินิจฉัยทาได้โดยการตรวจเหงื่อ และการตรวจพันธุกรรม ในบางประเทศจะมีการตรวจคัด
กรองโรคนี้ในทารกแรกเกิดทุกคน
ปัจจุบันยังไม่มีวิธีรักษาโรคนี้ให้หายขาด การเกิดปอดติดเชื้อในแต่ละครั้งสามารถรักษาได้โดย
ใช้ยาปฏิชีวนะ ทั้งแบบกิน แบบพ่น และแบบฉีดเข้าหลอดเลือดดา ในบางกรณีอาจต้องให้ผู้ป่วยใช้ยา
ปฏิชีวนะเช่นอะซิโทรมัยซินต่อเนื่องระยะยาวการพ่นด้วยน้าเกลือเข้มข้นและยาซาลบูทามอลอาจมี
ประโยชน์ในขณะที่มีอาการทางระบบหายใจ ในรายที่การทางานของปอดแย่ลงมากอาจต้องทาการ
ผ่าตัดปลูกถ่ายปอดใหม่ การรักษาอื่นที่มีความสาคัญโดยเฉพาะในผู้ป่วยอายุน้อยคือการใช้เอนไซม์
ทดแทนเอนไซม์จากตับอ่อน และการเสริมวิตามินชนิดที่ละลายในไขมัน การใช้เทคนิกระบายเสมหะ
จากทางเดินหายใจ เช่น การทากายภาพปอด มีประโยชน์ในระยะสั้น แต่ประโยชน์ในระยะยาวยังไม่
เป็นที่ชัดเจน อายุขัยโดยเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ในประเทศที่พัฒนาแล้วอยู่ที่ 42-50 ปี ผู้เสียชีวิตส่วน
ใหญ่เสียชีวิตจากอาการทางปอด
โรคนี้พบได้บ่อยที่สุดในคนเชื้อชาติยุโรปเหนือ โดยพบได้ประมาณ 1 คน ในทารกแรกเกิด
3,000 คน คนเชื้อชาตินี้โดยทั่วไปประมาณ 1 ใน 25 คน จะเป็นพาหะของโรคนี้ โรคนี้พบได้น้อยใน
คนเชื้อชาติเอเชียและแอฟริกัน ในเอเชียจะพบผู้ป่วยโรคนี้ 1 ราย ต่อ 100,000 ทารกคลอดมีชีวิต มีการ
บรรยายถึงโรคนี้เอาไว้เป็นการเฉพาะครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1938 โดยโดโรธี แอนเดอร์เซน ส่วนคาบรรยาย
ถึงอาการป่วยที่เข้าได้กับโรคนี้พบได้ย้อนไปถึง ค.ศ. 1595ชื่อ "ซิสติก ไฟโบรซิส" หมายถึงลักษณะ
ทางพยาธิวิทยาที่พบในตับอ่อน ซึ่งจะพบว่ามีเนื้อเยื่อพังผืด (ไฟโบรซิส) และถุงน้า (ซิสต์) อยู่ภายใน
4
วัตถุประสงค์
1 เพื่อศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับ โรคซิสติก ไฟโบรซิส
2 เพื่อเป็นแหล่งความรู้เกี่ยวกับ โรคซิสติก ไฟโบรซิส
3 เพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันการเกิดโรคซิสติก ไฟโบรซิส
ขอบเขตโครงงาน
ศึกษาความรู้ต่างๆเกี่ยวกับ โรคซิสติก ไฟโบรซิส
หลักการและทฤษฎี
Cystic fibrosis เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของภาวะ pancreatic insufficiency ในเด็ก อันดับสอง
เป็นโรคพันธุกรรมชื่อว่า Shwachman-Diamond Syndrome (SDS) อาการคล้ายกันมาก แต่เมื่อทาการ
ทดสอบ sweat test จะพบว่าปกติ การที่โรค CF ก่อให้เกิดมูกข้นเหนียวในทางเดินหายใจ ทาให้เกิด
อาการคัดแน่นจมูก ไซนัสอักเสบ เสียงหวีดในปอด อาการหอบหืด เมื่อโรคเป็นมากขึ้น เด็กจะมีอาการ
ไอเรื้อรัง เสมหะเหนียวข้น และพบการติดเชื้อในปอดซ้าแล้วซ้าเล่า อาการของระบบทางเดินหายใจ
รุนแรงมากขึ้นเป็นลาดับ
การวินิจฉัยโรคนี้อาศัยการทดสอบที่เรียกว่า sweat test หลักการคือ ใช้กระแสไฟฟ้าปริมาณ
น้อยมากผ่านยา pilocarpine ทาให้เหงื่ออกที่ผิวหนังบริเวณทดสอบ จากนั้น 30-60 นาที เก็บเหงื่อไป
ตรวจหาปริมาณคลอไรด์ ในประเทศสหรับอเมริกาการทดสอบ sweat test ต้องทาในห้องปฏิบัติการที่
ได้รับการรับรองจาก Cystic Fibrosis Foundation ผลการตรวจหากพบคลอไรด์มากกว่า 60 สงอครั้งจึง
ให้การวินิจฉัยโรคนี้ได้สาหรับการตรวจอื่นๆ ได้แก่ เอ็กซเรย์ปอด ตรวจเลือด ตรวจเชื้อแบคทีเรียบาง
ชนิด และตรวจสมรรถภาพปอด
การรักษาโรคนี้เป็นการดูแลระบบทางเดินหายใจ เรียกว่า pulmonary therapy เสริมเอ็นซัยม์
สาหรับย่อยไขมัน ติดตามการรักษาทุก 1-3 เดือน สาหรับวิธีใหม่ที่ใช้ในสหรัฐอเมริกาคือยีนบาบัด ทา
โดยพ่น CF gene ที่ปกติเข้าไปทางจมูก กลไกเชื่อว่ายีนดังกล่าวจะช่วยแก้ไขความผิดปกติของยีนในตัว
5
ผู้ป่วย ตั้งแต่ปี 1993 เป็นต้นมาได้มีการรักษาโดยวิธีนี้ประมาณ 100 ราย ในโรงพยาบาล 9 แห่ง อีกวิธี
หนึ่งเรียกว่า protein repair therapy เป็นการแก้ไขโปรตีนชื่อ CFTR protein ซึ่งผิดปกติ และมีการนา
ขมิ้น curcumin มาใช้ทดลองรักษาด้วยเช่นกัน
สาเหตุของโรคซิสติก ไฟโบรซิส
โรคซิสติก ไฟโบรซิส เป็นโรคถ่ายทอดทางพันธุกรรม นั่นหมายความว่าโรคนี้เกิดจากการมียีน
ผิดปกติที่ได้รับมาจากพ่อแม่ ความผิดปกติของยีนนี้มีการกลายพันธุ์ที่ทาให้เกิดเปลี่ยนแปลงของ
โปรตีน (รู้จักกันในชื่อ CFTR) ที่มีหน้าที่ควบคุมการเข้าออกเซลล์ของเกลือ ปัจจุบันมีการกลายพันธุ์ที่
ทาให้เกิด cystic fibrosis อยู่ถึง 1,800 แบบที่รู้จัก ผู้ที่เป็นโรคคือคนที่ได้รับยีน cystic fibrosis 2 ก็อบปี้
จากพ่อและแม่อย่างคนละอัน ทั้งพ่อและแม่ของคุณต้องมียีนผิดปกติอย่างน้อย 1 ก็อบปี้ คุณถึงจะเป็น
โรคนี้ได้หากทั้งพ่อแม่ของคุณมียีน cystic fibrosis จะพบว่าโอกาสที่คุณจะเป็นโรคนี้มีอยู่ 25
เปอร์เซนต์ หากคุณได้รับการถ่ายทอดยีนผิดปกติเพียงก็อบปี้ เดียวก็จะไม่เกิดโรค แต่คุณจะเป็นพาหะ
และสามารถส่งต่อยีนนี้ไปให้ลูกตัวเองได้นอกจากนี้ยังมีก็ยังมีโอกาสที่คุณจะไม่ได้รับการถ่ายทอดยีน
ผิดปกติถึงแม้พ่อแม่ของคุณจะเป็นพาหะก็ตาม
ความชุกของโรค
จากการอ้างอิงสถิติของมูลนิธิ Cystic fibrosis foundation พบว่าผู้ป่วย cystic fibrosis อาศัยใน
สหรัฐอเมริกาประมาณ 30,000 คน ประมาณ 1,000 รายที่เป็นผู้ป่วยใหม่ที่พึ่งได้รับการวินิจฉัยในแต่ละ
ปี มากกว่า 75 เปอร์เซนต์ของผู้ที่เป็นโรคได้รับการวินิจฉัยก่อนอายุ 2 ขวบ และมากกว่าครึ่งของผู้ป่วย
cystic fibrosis มีอายุได้ถึง 18 ปีหรือมากกว่า
ค่าเฉลี่ยอายุของโรคซิสติก ไฟโบรซิส
ในช่วงปี 1950 พบว่าเด็กที่เป็นโรคซิสติก ไฟโบรซิส แทบไม่มีอนาคตเลย จากข้อมูลของมูลนิธิ cystic
fibrosis foundation พบว่าเด็กส่วนใหญ่ที่เป็นโรคนี้มีอายุนานไม่ถึงเข้าชั้นประถม ปัจจุบันพบว่า
ค่าเฉลี่ยอายุของผู้ป่วยโรคซิสติก ไฟโบรซิส เกือบถึง 40 ปี
6
สาเหตุของโรคซิสติก ไฟรโบรซิส
โรคซิสติก ไฟรโบรซิสเกิดจากยีนที่ผิดปรกติที่สืบทอดมาจากพ่อแม่ ยีนผิดปรกติดังกล่าวจะมี
เซลล์บางตัวที่ไม่สามารถเคลื่อนย้ายเกลือกับน้าไปยังพนังเซลล์ได้และเมื่อร่วมกับการติดเชื้อ
ซ้าซากจะทาให้เกิดเมือกเหนียวข้นภายในท่อและทางผ่านต่าง ๆ ของร่างกายเด็กที่เกิดมาพร้อม
โรคซิสติก ไฟรโบรซิสจะมีพันธุกรรมที่ผิดปรกติสองชุด แต่ละชุดมาจากพ่อกับแม่ พ่อกับแม่
ของเด็กคนนั้นไม่จาเป็นต้องมีอาการของภาวะนี้เพราะว่าพวกเขามียีนที่ผิดปรกตินี้เพียงชุด
เดียวต่อคนเท่านั้น หรือกล่าวได้ว่าโรคนี้จะแสดงอาการก็ต่อเมื่อยีนผิดปรกติมีครบหนึ่งคู่
นั่นเองหากพ่อแม่ทั้งสองมียีนที่ผิดปรกตินี้อยู่ พวกเขาจะมีโอกาสส่งต่อยีนแต่ละตัวไปยังลูก
25% ภาวะนี้ไม่สามารถแพร่กระจายไปยังผู้อื่นได้
อาการของโรคซิสติก ไฟรโบรซิส
โรคซีสติก ไฟโบรซีส (Cystic Fibrosis) สามารถวินิจฉัยได้ด้วยการคัดกรองในทารกแรกเกิด
ภายในเดือนแรกที่เด็กเกิด เป็นช่วงที่อาการของโรคยังไม่ก่อตัวขึ้นเลยด้วยซ้า ทางที่ดีควรจะตรวจโรค
นี้ตั้งแต่เนิ่นๆ เพราะถ้าตรวจพบได้เร็วเท่าไหร่ ก็จะช่วยให้ทาการรักษาได้เร็วเท่านั้น ถ้าผู้ป่วยเกิด
ในช่วงที่ยังไม่มีการตรวจคัดกรองทารกแรกเกิดอย่างปัจจุบัน ผู้ป่วยจะต้องรู้ว่าอาการของโรคซีสติกไฟ
โบรซีสเป็นอย่างไร เพราะบางคนที่เป็นก็ไม่มีอาการใดๆแสดงให้เห็นเลยจนกระทั่งพวกเขาย่างเข้าสู่
วัยรุ่นหรือวัยผู้ใหญ่
อาการของโรค ได้แก่:
- ผิวมีเหงื่อเค็ม
- ไอบ่อยๆ
- ไอเป็นเสมหะหรือมูกเลือด
- หายใจไม่ออกหรือหายใจถี่
- ติดเชื้อในปอดหรือไซนัสเป็นประจา
- ออกกาลังกายไม่ได้
7
- น้ามูกไหลหรือจมูกอักเสบ
- ปวดไซนัสหรือมีความดัน
- การเจริญเติบโตช้า (poor growth)
- น้าหนักลดหรือเบื่ออาหาร
- อุจจาระมันเลื่อม กลลิ่นเหม็น หรือก้อนใหญ่
- ลาไส้เคลื่อนไหวลาบากหรือท้องผูกรุนแรง
- นิ้วปุ้ม (ปลายนิ้วจะใหญ่และมีลักษณะเป็นกลมๆ)
- เมื่อยล้า
การตรวจคัดกรองทารกแรกเกิด (Newborn Screening)
ปัจจุบัน มีการตรวจคัดกรองทารกแรกเกิดเพื่อหาโรคซีสติกไฟโบรซีสใน 50 รัฐของประเทศ
สหรัฐอเมริกา โดยจะทดสอบทางพันธุกรรมหรือการทดสอบ immunoreactive trypsinogen (IRT)
วิธีการทดสอบทางพันธุกรรมเป็นการตรวจหาเบาะแสของโรคซีสติกไฟโบรซีสที่มาทางพันธุกรรม
การทดสอบด้วย IRT จะตรวจหาระดับ IRT ที่สูงกว่าปกติ ซึ่งเป็นสารเคมีที่ปล่อยออกมาจากตับอ่อน
จากการทดสอบด้วยวิธีที่ได้กล่าวมา ถ้าการตรวจทารกมีผลเป็นบวกแพทย์จะทาการทดสอบเหงื่อเพื่อ
ยืนยันการวินิจฉัย โดยจะทาสารผลิตเหงื่อบนผิวหนัง จากนั้นทดสอบเหงื่อเพื่อเช็คว่าเหงื่อมีความเค็ม
มากกว่าปกติหรือไม่
การทดสอบผู้ใหญ่และเด็กโต
ผู้ใหญ่และเด็กโตที่ไม่ได้รับการคัดกรองตั้งแต่แรกเกิดอาจต้องทาการทดสอบเลือดทาง
พันธุกรรมหรือทดสอบเหงื่อเพื่อตรวจหาโรคซีสติกไฟโบรซีสหากแพทย์สงสัยว่าพวกเขาจะเป็นโรค
ดังกล่าวนี้
- การเอ็กซเรย์หรือทา CT scan ที่ทรวงอก
- การเอ็กซเรย์โพรงจมูก
8
- การตรวจสมรรถภาพปอด
- การทดสอบทางพันธุกรรมอื่นๆ
- การตรวจไขมันในอุจจาระ (วัดปริมาณไขมันในอุจจาระ)
- การตรวจการทางานของตับอ่อน
- การเพาะเชื้อจากเสมหะ (Sputum culture) โดยจะวิเคราะห์เสมหะเพื่อดูการเจริญเติบโตของ
แบคทีเรีย
การรักษาสาหรับโรคซิสติก ไฟรโบรซิส
ณ ขณะนี้ยังไม่มีวิธีรักษาโรคซิสติก ไฟรโบรซิส แต่ก็มีการรักษามากมายที่สามารถควบคุม
อาการ ป้องกันภาวะแทรกซ้อน และทาให้คุณสามารถใช้ชีวิตร่วมกับภาวะนี้ได้ง่ายขึ้นผู้ป่วยโรคซิสติก
ไฟรโบรซิสจะมีทีมรักษาคอยจัดทาแผนการดูแลตามความจาเป็นและความต้องการของผู้ป่วย
การรักษาที่มีอยู่มีดังต่อไปนี้: การใช้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันและรักษาภาวะติดเชื้อในอก การใช้
ยาเพื่อทาให้ทาให้มูกในปอดอ่อนลงและทาให้ไอออกมาง่ายขึ้น การใช้ยาเพื่อขยายหลอดลมและลด
การอักเสบ เทคนิคและอุปกรณ์พิเศษเพื่อกาจัดมูกออกจากปอด การใช้ยาเพื่อช่วยทาให้ดูดซึมอาหารได้
ดีขึ้น การทานอาหารพิเศษและทานอาหารเสริมเพื่อป้องกันภาวะทางโภชนาการ (malnutrition)
สาหรับหัตถกรรมปลูกถ่ายปอดนั้นมักจะดาเนินการในกรณีที่ปอดเสียหายจากโรคค่อนข้างรุนแรง
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1 ศึกษาข้อมูลจากหลายๆแหล่ง เกี่ยวกับ โรคซิสติก ไฟโบรซิส
2 ทาการสร้างBLOGและนาข้อมูลที่ศึกษามาลงในBLOG
3 ตรวจสอบความถูกต้องและนาเสนอ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- คอมพิวเตอร์
- อินเตอร์เน็ต
9
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอ
บ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
10
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้ที่ได้เข้ามาศึกษาหาความรู้ในBLOGจะได้รับความรู้เรื่อง โรคซิสติก ไฟโบรซิส
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราช
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง
https://www.honestdocs.co/what-is-cystic-fibrosis
http://www.bangkokhealth.com/index.php/health/health-system/gastro/1691-cystic-
fibrosis-cf.html
https://th.wikipedia.org/wiki/ซิสติก_ไฟโบรซิส

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

สังคมก้มหน้า บท-1
สังคมก้มหน้า บท-1สังคมก้มหน้า บท-1
สังคมก้มหน้า บท-1
kessara61977
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
Korakrit Jindadang
 

Was ist angesagt? (17)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Female contraception g5 342
Female contraception g5 342Female contraception g5 342
Female contraception g5 342
 
101245
101245101245
101245
 
101245
101245101245
101245
 
สังคมก้มหน้า บท-1
สังคมก้มหน้า บท-1สังคมก้มหน้า บท-1
สังคมก้มหน้า บท-1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
 
เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอม
 
2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict
 
2561 project 03
2561 project  032561 project  03
2561 project 03
 
Addictsocial
AddictsocialAddictsocial
Addictsocial
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูลระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูล
 
สื่อสังคมออนไลน์กับการปฏิบัติการข่าวสารในภาวะวิกฤติ
สื่อสังคมออนไลน์กับการปฏิบัติการข่าวสารในภาวะวิกฤติสื่อสังคมออนไลน์กับการปฏิบัติการข่าวสารในภาวะวิกฤติ
สื่อสังคมออนไลน์กับการปฏิบัติการข่าวสารในภาวะวิกฤติ
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ต้นกำเนิดของยางแท่ง
ต้นกำเนิดของยางแท่งต้นกำเนิดของยางแท่ง
ต้นกำเนิดของยางแท่ง
 

Ähnlich wie Cf

2562 final-project 09-issariya
2562 final-project 09-issariya2562 final-project 09-issariya
2562 final-project 09-issariya
guntjetnipat
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
0910797083
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
0910797083
 
2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed
ssuser8b5bea
 

Ähnlich wie Cf (20)

2560 project -1 new
2560 project -1 new2560 project -1 new
2560 project -1 new
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
 
2562 final-project 17
2562 final-project 172562 final-project 17
2562 final-project 17
 
2562 final-project 17
2562 final-project 172562 final-project 17
2562 final-project 17
 
2562 final-project 09-issariya
2562 final-project 09-issariya2562 final-project 09-issariya
2562 final-project 09-issariya
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2560 project .doc-คอม (2)
2560 project .doc-คอม (2)2560 project .doc-คอม (2)
2560 project .doc-คอม (2)
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
work1pjcom
work1pjcomwork1pjcom
work1pjcom
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
 
2562 final-project -06-610
2562 final-project -06-6102562 final-project -06-610
2562 final-project -06-610
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed
 
2562 final-project 06-610
2562 final-project 06-6102562 final-project 06-610
2562 final-project 06-610
 

Cf

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ซิสติก ไฟโบรซิส ตัวร้าย ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาว จุฑามาศ เป็งนา เลขที่ 27 ชั้น ม.6/7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 นางสาว จุฑามาศ เป็งนา เลขที่ 27 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ซิสติก ไฟโบรซิส ตัวร้าย ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Bad CYSTIC FIBROSIS ประเภทโครงงาน ประเภทศึกษาและสารวจ ชื่อผู้ทา นางสาว จุฑามาศ เป็งนา ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน โรคซิสติก ไฟโบรซิส คือโรคเรื้อรังที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมทาให้เกิดการสร้างเสมหะข้นใน ปอด เมือกในตับอ่อน และอวัยวะอื่นๆในร่างกาย เสมหะข้นๆตามทางเดินอากาศในปอด จะทาให้มี การติดเชื้อและเกิดการทาลายของปอด เมือกที่อยู่ในตับอ่อนก็จะไปขัดขวางการหลั่งเอนไซม์ที่ใช้ย่อย อาหารก่อนการดูดซึมสารอาหาร Cystic fibrosis จึงถือว่าเป็นภาวะที่ทาให้เกิดอันตรายได้ถึงชีวิต แต่ อาการแสดงและความรุนแรงของมันจะมีความหลายหลายอย่างมากขึ้นกับอายุ ชนิดพันธุกรรมที่มีการ กลายพันธุที่มี และสุขภาพโดยรวม
  • 3. 3 ซิสติก ไฟโบรซิส เป็นโรคทางพันธุกรรมชนิดหนึ่งหนึ่ง ส่งผลให้ปอดทางานผิดปกติ อวัยวะ อื่นๆ ที่ผิดปกติด้วยได้แก่ ตับอ่อน ตับ ไต และลาไส้ เป็นต้น ในระยะยาวผู้ป่วยจะมีอาการหายใจ ลาบาก มีเสมหะปริมาณมากทาให้ไอมาก และเกิดปอดติดเชื้อได้บ่อย อาการอื่นๆ ที่อาจพบได้ได้แก่ ไซนัสอักเสบ การเจริญเติบโตช้า อุจจาระเป็นมัน นิ้วมือนิ้วเท้ามีลักษณะปุ้ม และเป็นหมันในผู้ป่วย ชาย เป็นต้น ผู้ป่วยมักมีอาการและความรุนแรงที่แตกต่างกันไปในแต่ละราย โรคนี้ถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบออโตโซมลักษณะด้อย เกิดจากการกลายพันธุ์ในยีนทั้งสอง ชุดที่ทาหน้าที่สร้างโปรตีนที่ชื่อว่าซีเอฟทีอาร์ หากมีการกลายพันธุ์ในยีนนี้เพียงชุดเดียวจะเป็นพาหะ และไม่มีอาการของโรค ซีเอฟทีอาร์มีหน้าที่สาคัญในการสร้างสารคัดหลั่ง ได้แก่ เหงื่อ สารคัดหลั่งใน ทางเดินอาหาร และมูกต่างๆ เมื่อซีเอฟทีอาร์ไม่ทางาน สารคัดหลั่งเหล่านี้จะมีลักษณะที่เหนียวข้น ผิดปกติ การวินิจฉัยทาได้โดยการตรวจเหงื่อ และการตรวจพันธุกรรม ในบางประเทศจะมีการตรวจคัด กรองโรคนี้ในทารกแรกเกิดทุกคน ปัจจุบันยังไม่มีวิธีรักษาโรคนี้ให้หายขาด การเกิดปอดติดเชื้อในแต่ละครั้งสามารถรักษาได้โดย ใช้ยาปฏิชีวนะ ทั้งแบบกิน แบบพ่น และแบบฉีดเข้าหลอดเลือดดา ในบางกรณีอาจต้องให้ผู้ป่วยใช้ยา ปฏิชีวนะเช่นอะซิโทรมัยซินต่อเนื่องระยะยาวการพ่นด้วยน้าเกลือเข้มข้นและยาซาลบูทามอลอาจมี ประโยชน์ในขณะที่มีอาการทางระบบหายใจ ในรายที่การทางานของปอดแย่ลงมากอาจต้องทาการ ผ่าตัดปลูกถ่ายปอดใหม่ การรักษาอื่นที่มีความสาคัญโดยเฉพาะในผู้ป่วยอายุน้อยคือการใช้เอนไซม์ ทดแทนเอนไซม์จากตับอ่อน และการเสริมวิตามินชนิดที่ละลายในไขมัน การใช้เทคนิกระบายเสมหะ จากทางเดินหายใจ เช่น การทากายภาพปอด มีประโยชน์ในระยะสั้น แต่ประโยชน์ในระยะยาวยังไม่ เป็นที่ชัดเจน อายุขัยโดยเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ในประเทศที่พัฒนาแล้วอยู่ที่ 42-50 ปี ผู้เสียชีวิตส่วน ใหญ่เสียชีวิตจากอาการทางปอด โรคนี้พบได้บ่อยที่สุดในคนเชื้อชาติยุโรปเหนือ โดยพบได้ประมาณ 1 คน ในทารกแรกเกิด 3,000 คน คนเชื้อชาตินี้โดยทั่วไปประมาณ 1 ใน 25 คน จะเป็นพาหะของโรคนี้ โรคนี้พบได้น้อยใน คนเชื้อชาติเอเชียและแอฟริกัน ในเอเชียจะพบผู้ป่วยโรคนี้ 1 ราย ต่อ 100,000 ทารกคลอดมีชีวิต มีการ บรรยายถึงโรคนี้เอาไว้เป็นการเฉพาะครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1938 โดยโดโรธี แอนเดอร์เซน ส่วนคาบรรยาย ถึงอาการป่วยที่เข้าได้กับโรคนี้พบได้ย้อนไปถึง ค.ศ. 1595ชื่อ "ซิสติก ไฟโบรซิส" หมายถึงลักษณะ ทางพยาธิวิทยาที่พบในตับอ่อน ซึ่งจะพบว่ามีเนื้อเยื่อพังผืด (ไฟโบรซิส) และถุงน้า (ซิสต์) อยู่ภายใน
  • 4. 4 วัตถุประสงค์ 1 เพื่อศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับ โรคซิสติก ไฟโบรซิส 2 เพื่อเป็นแหล่งความรู้เกี่ยวกับ โรคซิสติก ไฟโบรซิส 3 เพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันการเกิดโรคซิสติก ไฟโบรซิส ขอบเขตโครงงาน ศึกษาความรู้ต่างๆเกี่ยวกับ โรคซิสติก ไฟโบรซิส หลักการและทฤษฎี Cystic fibrosis เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของภาวะ pancreatic insufficiency ในเด็ก อันดับสอง เป็นโรคพันธุกรรมชื่อว่า Shwachman-Diamond Syndrome (SDS) อาการคล้ายกันมาก แต่เมื่อทาการ ทดสอบ sweat test จะพบว่าปกติ การที่โรค CF ก่อให้เกิดมูกข้นเหนียวในทางเดินหายใจ ทาให้เกิด อาการคัดแน่นจมูก ไซนัสอักเสบ เสียงหวีดในปอด อาการหอบหืด เมื่อโรคเป็นมากขึ้น เด็กจะมีอาการ ไอเรื้อรัง เสมหะเหนียวข้น และพบการติดเชื้อในปอดซ้าแล้วซ้าเล่า อาการของระบบทางเดินหายใจ รุนแรงมากขึ้นเป็นลาดับ การวินิจฉัยโรคนี้อาศัยการทดสอบที่เรียกว่า sweat test หลักการคือ ใช้กระแสไฟฟ้าปริมาณ น้อยมากผ่านยา pilocarpine ทาให้เหงื่ออกที่ผิวหนังบริเวณทดสอบ จากนั้น 30-60 นาที เก็บเหงื่อไป ตรวจหาปริมาณคลอไรด์ ในประเทศสหรับอเมริกาการทดสอบ sweat test ต้องทาในห้องปฏิบัติการที่ ได้รับการรับรองจาก Cystic Fibrosis Foundation ผลการตรวจหากพบคลอไรด์มากกว่า 60 สงอครั้งจึง ให้การวินิจฉัยโรคนี้ได้สาหรับการตรวจอื่นๆ ได้แก่ เอ็กซเรย์ปอด ตรวจเลือด ตรวจเชื้อแบคทีเรียบาง ชนิด และตรวจสมรรถภาพปอด การรักษาโรคนี้เป็นการดูแลระบบทางเดินหายใจ เรียกว่า pulmonary therapy เสริมเอ็นซัยม์ สาหรับย่อยไขมัน ติดตามการรักษาทุก 1-3 เดือน สาหรับวิธีใหม่ที่ใช้ในสหรัฐอเมริกาคือยีนบาบัด ทา โดยพ่น CF gene ที่ปกติเข้าไปทางจมูก กลไกเชื่อว่ายีนดังกล่าวจะช่วยแก้ไขความผิดปกติของยีนในตัว
  • 5. 5 ผู้ป่วย ตั้งแต่ปี 1993 เป็นต้นมาได้มีการรักษาโดยวิธีนี้ประมาณ 100 ราย ในโรงพยาบาล 9 แห่ง อีกวิธี หนึ่งเรียกว่า protein repair therapy เป็นการแก้ไขโปรตีนชื่อ CFTR protein ซึ่งผิดปกติ และมีการนา ขมิ้น curcumin มาใช้ทดลองรักษาด้วยเช่นกัน สาเหตุของโรคซิสติก ไฟโบรซิส โรคซิสติก ไฟโบรซิส เป็นโรคถ่ายทอดทางพันธุกรรม นั่นหมายความว่าโรคนี้เกิดจากการมียีน ผิดปกติที่ได้รับมาจากพ่อแม่ ความผิดปกติของยีนนี้มีการกลายพันธุ์ที่ทาให้เกิดเปลี่ยนแปลงของ โปรตีน (รู้จักกันในชื่อ CFTR) ที่มีหน้าที่ควบคุมการเข้าออกเซลล์ของเกลือ ปัจจุบันมีการกลายพันธุ์ที่ ทาให้เกิด cystic fibrosis อยู่ถึง 1,800 แบบที่รู้จัก ผู้ที่เป็นโรคคือคนที่ได้รับยีน cystic fibrosis 2 ก็อบปี้ จากพ่อและแม่อย่างคนละอัน ทั้งพ่อและแม่ของคุณต้องมียีนผิดปกติอย่างน้อย 1 ก็อบปี้ คุณถึงจะเป็น โรคนี้ได้หากทั้งพ่อแม่ของคุณมียีน cystic fibrosis จะพบว่าโอกาสที่คุณจะเป็นโรคนี้มีอยู่ 25 เปอร์เซนต์ หากคุณได้รับการถ่ายทอดยีนผิดปกติเพียงก็อบปี้ เดียวก็จะไม่เกิดโรค แต่คุณจะเป็นพาหะ และสามารถส่งต่อยีนนี้ไปให้ลูกตัวเองได้นอกจากนี้ยังมีก็ยังมีโอกาสที่คุณจะไม่ได้รับการถ่ายทอดยีน ผิดปกติถึงแม้พ่อแม่ของคุณจะเป็นพาหะก็ตาม ความชุกของโรค จากการอ้างอิงสถิติของมูลนิธิ Cystic fibrosis foundation พบว่าผู้ป่วย cystic fibrosis อาศัยใน สหรัฐอเมริกาประมาณ 30,000 คน ประมาณ 1,000 รายที่เป็นผู้ป่วยใหม่ที่พึ่งได้รับการวินิจฉัยในแต่ละ ปี มากกว่า 75 เปอร์เซนต์ของผู้ที่เป็นโรคได้รับการวินิจฉัยก่อนอายุ 2 ขวบ และมากกว่าครึ่งของผู้ป่วย cystic fibrosis มีอายุได้ถึง 18 ปีหรือมากกว่า ค่าเฉลี่ยอายุของโรคซิสติก ไฟโบรซิส ในช่วงปี 1950 พบว่าเด็กที่เป็นโรคซิสติก ไฟโบรซิส แทบไม่มีอนาคตเลย จากข้อมูลของมูลนิธิ cystic fibrosis foundation พบว่าเด็กส่วนใหญ่ที่เป็นโรคนี้มีอายุนานไม่ถึงเข้าชั้นประถม ปัจจุบันพบว่า ค่าเฉลี่ยอายุของผู้ป่วยโรคซิสติก ไฟโบรซิส เกือบถึง 40 ปี
  • 6. 6 สาเหตุของโรคซิสติก ไฟรโบรซิส โรคซิสติก ไฟรโบรซิสเกิดจากยีนที่ผิดปรกติที่สืบทอดมาจากพ่อแม่ ยีนผิดปรกติดังกล่าวจะมี เซลล์บางตัวที่ไม่สามารถเคลื่อนย้ายเกลือกับน้าไปยังพนังเซลล์ได้และเมื่อร่วมกับการติดเชื้อ ซ้าซากจะทาให้เกิดเมือกเหนียวข้นภายในท่อและทางผ่านต่าง ๆ ของร่างกายเด็กที่เกิดมาพร้อม โรคซิสติก ไฟรโบรซิสจะมีพันธุกรรมที่ผิดปรกติสองชุด แต่ละชุดมาจากพ่อกับแม่ พ่อกับแม่ ของเด็กคนนั้นไม่จาเป็นต้องมีอาการของภาวะนี้เพราะว่าพวกเขามียีนที่ผิดปรกตินี้เพียงชุด เดียวต่อคนเท่านั้น หรือกล่าวได้ว่าโรคนี้จะแสดงอาการก็ต่อเมื่อยีนผิดปรกติมีครบหนึ่งคู่ นั่นเองหากพ่อแม่ทั้งสองมียีนที่ผิดปรกตินี้อยู่ พวกเขาจะมีโอกาสส่งต่อยีนแต่ละตัวไปยังลูก 25% ภาวะนี้ไม่สามารถแพร่กระจายไปยังผู้อื่นได้ อาการของโรคซิสติก ไฟรโบรซิส โรคซีสติก ไฟโบรซีส (Cystic Fibrosis) สามารถวินิจฉัยได้ด้วยการคัดกรองในทารกแรกเกิด ภายในเดือนแรกที่เด็กเกิด เป็นช่วงที่อาการของโรคยังไม่ก่อตัวขึ้นเลยด้วยซ้า ทางที่ดีควรจะตรวจโรค นี้ตั้งแต่เนิ่นๆ เพราะถ้าตรวจพบได้เร็วเท่าไหร่ ก็จะช่วยให้ทาการรักษาได้เร็วเท่านั้น ถ้าผู้ป่วยเกิด ในช่วงที่ยังไม่มีการตรวจคัดกรองทารกแรกเกิดอย่างปัจจุบัน ผู้ป่วยจะต้องรู้ว่าอาการของโรคซีสติกไฟ โบรซีสเป็นอย่างไร เพราะบางคนที่เป็นก็ไม่มีอาการใดๆแสดงให้เห็นเลยจนกระทั่งพวกเขาย่างเข้าสู่ วัยรุ่นหรือวัยผู้ใหญ่ อาการของโรค ได้แก่: - ผิวมีเหงื่อเค็ม - ไอบ่อยๆ - ไอเป็นเสมหะหรือมูกเลือด - หายใจไม่ออกหรือหายใจถี่ - ติดเชื้อในปอดหรือไซนัสเป็นประจา - ออกกาลังกายไม่ได้
  • 7. 7 - น้ามูกไหลหรือจมูกอักเสบ - ปวดไซนัสหรือมีความดัน - การเจริญเติบโตช้า (poor growth) - น้าหนักลดหรือเบื่ออาหาร - อุจจาระมันเลื่อม กลลิ่นเหม็น หรือก้อนใหญ่ - ลาไส้เคลื่อนไหวลาบากหรือท้องผูกรุนแรง - นิ้วปุ้ม (ปลายนิ้วจะใหญ่และมีลักษณะเป็นกลมๆ) - เมื่อยล้า การตรวจคัดกรองทารกแรกเกิด (Newborn Screening) ปัจจุบัน มีการตรวจคัดกรองทารกแรกเกิดเพื่อหาโรคซีสติกไฟโบรซีสใน 50 รัฐของประเทศ สหรัฐอเมริกา โดยจะทดสอบทางพันธุกรรมหรือการทดสอบ immunoreactive trypsinogen (IRT) วิธีการทดสอบทางพันธุกรรมเป็นการตรวจหาเบาะแสของโรคซีสติกไฟโบรซีสที่มาทางพันธุกรรม การทดสอบด้วย IRT จะตรวจหาระดับ IRT ที่สูงกว่าปกติ ซึ่งเป็นสารเคมีที่ปล่อยออกมาจากตับอ่อน จากการทดสอบด้วยวิธีที่ได้กล่าวมา ถ้าการตรวจทารกมีผลเป็นบวกแพทย์จะทาการทดสอบเหงื่อเพื่อ ยืนยันการวินิจฉัย โดยจะทาสารผลิตเหงื่อบนผิวหนัง จากนั้นทดสอบเหงื่อเพื่อเช็คว่าเหงื่อมีความเค็ม มากกว่าปกติหรือไม่ การทดสอบผู้ใหญ่และเด็กโต ผู้ใหญ่และเด็กโตที่ไม่ได้รับการคัดกรองตั้งแต่แรกเกิดอาจต้องทาการทดสอบเลือดทาง พันธุกรรมหรือทดสอบเหงื่อเพื่อตรวจหาโรคซีสติกไฟโบรซีสหากแพทย์สงสัยว่าพวกเขาจะเป็นโรค ดังกล่าวนี้ - การเอ็กซเรย์หรือทา CT scan ที่ทรวงอก - การเอ็กซเรย์โพรงจมูก
  • 8. 8 - การตรวจสมรรถภาพปอด - การทดสอบทางพันธุกรรมอื่นๆ - การตรวจไขมันในอุจจาระ (วัดปริมาณไขมันในอุจจาระ) - การตรวจการทางานของตับอ่อน - การเพาะเชื้อจากเสมหะ (Sputum culture) โดยจะวิเคราะห์เสมหะเพื่อดูการเจริญเติบโตของ แบคทีเรีย การรักษาสาหรับโรคซิสติก ไฟรโบรซิส ณ ขณะนี้ยังไม่มีวิธีรักษาโรคซิสติก ไฟรโบรซิส แต่ก็มีการรักษามากมายที่สามารถควบคุม อาการ ป้องกันภาวะแทรกซ้อน และทาให้คุณสามารถใช้ชีวิตร่วมกับภาวะนี้ได้ง่ายขึ้นผู้ป่วยโรคซิสติก ไฟรโบรซิสจะมีทีมรักษาคอยจัดทาแผนการดูแลตามความจาเป็นและความต้องการของผู้ป่วย การรักษาที่มีอยู่มีดังต่อไปนี้: การใช้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันและรักษาภาวะติดเชื้อในอก การใช้ ยาเพื่อทาให้ทาให้มูกในปอดอ่อนลงและทาให้ไอออกมาง่ายขึ้น การใช้ยาเพื่อขยายหลอดลมและลด การอักเสบ เทคนิคและอุปกรณ์พิเศษเพื่อกาจัดมูกออกจากปอด การใช้ยาเพื่อช่วยทาให้ดูดซึมอาหารได้ ดีขึ้น การทานอาหารพิเศษและทานอาหารเสริมเพื่อป้องกันภาวะทางโภชนาการ (malnutrition) สาหรับหัตถกรรมปลูกถ่ายปอดนั้นมักจะดาเนินการในกรณีที่ปอดเสียหายจากโรคค่อนข้างรุนแรง วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1 ศึกษาข้อมูลจากหลายๆแหล่ง เกี่ยวกับ โรคซิสติก ไฟโบรซิส 2 ทาการสร้างBLOGและนาข้อมูลที่ศึกษามาลงในBLOG 3 ตรวจสอบความถูกต้องและนาเสนอ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - คอมพิวเตอร์ - อินเตอร์เน็ต
  • 9. 9 งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอ บ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน
  • 10. 10 ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผู้ที่ได้เข้ามาศึกษาหาความรู้ในBLOGจะได้รับความรู้เรื่อง โรคซิสติก ไฟโบรซิส สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราช กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง https://www.honestdocs.co/what-is-cystic-fibrosis http://www.bangkokhealth.com/index.php/health/health-system/gastro/1691-cystic- fibrosis-cf.html https://th.wikipedia.org/wiki/ซิสติก_ไฟโบรซิส