SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 6
ประวัต ิ หลวงปู่ม ั่น ภูร ิท ติโ ต




ชาติก ำา เนิด และชีว ิต ปฐมวัย

      ท่านกำาเนิดในสกุลแก่นแก้ว บิดาชื่อคำาด้วง มารดาชิ่อ
จันทร์ เพียแก่นท้าว เป็นปู่นับถือพุทธศาสนา เกิดวันพฤหัสบดี
เดือนยี่ ปีมะแม ตรงกับวันที่ ๒๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๔๑๓ ณ
บ้านคำาบง ตำาบลโขงเจียม อำาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
มีพี่น้องร่วมท้องเดียวกัน ๗ คน ท่านเป็นบุตรคนหัวปี ท่านเป็น
คนร่างเล็ก ผิวดำาแดง แข็งแรงว่องไว สติปัญญาดีมาแต่กำาเนิด
ฉลาดเป็นผู้ว่านอนสอนง่าย ได้เรียนอักษรสมัยในสำานักของอา
คือ เรียนอักษรไทยน้อย อักษรไทย อักษรธรรม และอักษรขอม
อ่านออกเขียนได้ นับว่าท่านเรียนได้รวดเร็ว เพราะ มีความทรง
จำาดีและขยันหมั่นเพียร ชอบการเล่าเรียน ชีวิตสมณะ การ
แสวงหาธรรมและปฏิปทา
เมื่อท่านอายุได้ ๑๕ ปี ได้บรรพชาเป็นสามเณรในสำานัก
บ้านคำาบง ใครเป็นบรรพชาจารย์ไม่ปรากฏ ครั้นบวชแล้วได้
ศึกษาหาความรู้ทางพระศาสนา มีสวดมนต์และสูตรต่างๆ ใน
สำานักบรรพชาจารย์ จดจำาได้รวดเร็ว อาจารย์เมตตาปราณีมาก
เพราะเอาใจใส่ในการเรียนดี ประพฤติปฏิบัติเรียบร้อย เป็นที่ไว้
เนื้อเชื่อใจได้ เมื่อท่านอายุได้ ๑๗ บิดาขอร้องให้ลาสิกขาเพื่อ
ช่วยการงานทางบ้าน ท่านได้ลาสิกขาออกไปช่วยงานบิดา
มารดาเต็มความสามารถ

     ท่านเล่าว่า เมื่อลาสิกขาไปแล้วยังคิดที่จะบวชอีกอยู่เสมอ
ไม่เคยลืมเลย คงเป็นเพราะอุปนิสัยในทางบวชมาแต่ก่อนหน
หนึ่ง อีกอย่างหนึ่ง เพราะติดใจในคำาสั่งของยายว่า “เจ้าต้อง
บวชให้ยาย เพราะยายก็ได้เลี้ยงเจ้ายาก” คำาสั่งของยายนี้คอย
สกิดใจอยู่เสมอ

      ครั้นอายุท่านได้ ๒๒ ปี ท่านเล่าว่า มีความยากบวชเป็น
กำาลัง จึงอำาลาบิดามารดาบวช ท่านทั้งสองก็อนุมัติตามประสงค์
ท่านได้ศึกษา ในสำานักท่านอาจารย์เสาร์ กันตสีลเถระ วัดเลียบ
เมืองอุบล จังหวัดอุบลราชธานี ได้รับอุปสมบทกรรมเป็นภิกษุ
ภาวะในพระพุทธศาสนา ณ วัดศรีทอง(วัดศรีอุบลรัตนาราม)
อำาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี พระอริยกวี (อ่อน) เป็นพระ
อุปัชฌายะ มี พระครูสีทา ชยเสโน เป็นพระกรรมวาจาย์ และ
พระครูประจักษ์อุบลคุณ (สุ่ย) เป็นพระอนุสาวนาจารย์ เมื่อวันที่
๑๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๓๖ พระอุปัชฌายะขนานนามมคธ ให้ว่า
ภูทตฺโต เสร็จอุปสมบทกรรมแล้ว ได้กลับมาสำานักศึกษาวิปัสสนา
ธุระ กับ พระอาจารย์เสาร์ กันตศีลเถระ ณ วัดเลียบต่อไป

     เมื่อแรกอุปสมบท ท่านพำานักอยู่วัดเลียบ เมืองอุบลเป็นปกติ
ออกไปอาศัยอยู่วัดบูรพาราม เมืองอุบลบ้าง เป็นครั้งคราว ใน
ระหว่างนั้น ได้ศึกษาข้อปฏิบัติเบื้องต้น อันเป็นส่วนแห่งพระวินัย
คือ อาจาระ ความประพฤติมารยาท อาจริยวัตร แล้อุปัชฌาย
วัตร ปฏิบัติได้เรีบยร้อยดี จนเป็นที่ไว้วางใจของพระอุปัชฌา
จารย์ และได้ศึกษาข้อปฏิบัติอบรมจิตใจ คือ เดินจงกลม นั่ง
สมาธิ สมาทานธุดงควัตร ต่างๆ

      ในสมัยต่อมา ได้แสวงหาวิเวก บำาเพ็ญสมณธรรมในที่
ต่างๆ ตามราวป่า ป่าช้า ป่าชัฎ ที่แจ้ง หุบเขาซอกห้วย ธารเขา
เงื้อมเขา ท้องถำ้า เรือนว่าง ทางฝั่งซ้ายแม่นำ้าโขงบ้าง ฝั่งขวา
แม่นำ้าโขงบ้าง แล้วลงไปศึกษากับนักปราชญ์ในกรุงเทพฯ จำา
พรรษาอยู่ที่วัดปทุมวนาราม หมั่นไปสดับธรรมเทศนา กับ เจ้า
พระคุณพระอุบาลี (สิริจันทเถระ จันทร์) ๓ พรรษา แล้วออก
แสวงหาวิเวกในถิ่นภาคกลาง คือ ถำ้าสาริกา เขาใหญ่
นครนายก ถำ้าไผ่ขวาง เขาพระงาม แล ถำ้าสิงโตห์ ลพบุรี จนได้
รับความรู้แจ่มแจ้ง ในพระธรรมวินัย สิ้นความสงสัย ในสัตถุ
ศาสนา จึงกลับมาภาคอีสาน ทำาการอบรมสั่งสอน สมถวิปัสสน า
แก้สหธรรมิก และอุบาสกอุบาสิกาต่อไป มีผู้เลื่อมใสพอใจปฏิบัติ
มากขึ้น โดยลำาดับ มีศิษยานุศิษย์แพร่หลาย กระจายทั่วภาค
อีสาน

      ในกาลต่อมา ได้ลงไปพักจำาพรรษาที่วัดปทุมวนาราม
กรุงเทพฯ อีก ๑ พรรษา แล้วไปเชียงใหม่กับ เจ้าพระคุณอุบาลีฯ
(สิริจันทรเถระ จันทร์) จำาพรรษาวัดเจดีย์หลวง ๑ พรรษา แล้ว
ออกไปพักตามที่วิเวกต่างๆ ในเขตภาคเหนือหลายแห่ง เพื่อ
สงเคราะห์สาธุชนในที่นั้นๆ นานถึง ๑๑ ปี จึงได้กลับมา จังหวัด
อุบลราชธานี พักจำาพรรษาอยู่ที่ วัดโนนนิเวศน์ เพื่ออนุเคระาห์
สาธุชนในที่นั้น ๒ พรรษา แล้วมาอยู่ในเขตจังหวัดสกลนคร จำา
พรรษาที่ วัดป่าบ้านนามน ตำาบลตองขอบ อำาเภอเมืองสกลนคร
(ปัจจุบันคือ อำาเภอโคกศรีสุพรรณ) ๓ พรรษา จำาพรรษาที่ วัด
หนองผือ ตำาบลนาใน อำาเภอเมืองพรรณานิคม ๕ พรรษา เพื่อ
สงเคราะห์สาธุชนในถิ่นนั้น มีผู้สนใจในธรรมปฏิบัติ ได้ตดตาม
                                                       ิ
ศึกษาอบรมจิตใจมากมาย ศิษยานุศิษย์ของท่าน ได้แพร่
กระจายไปทั่วทุกภาคของประเทศไทย ยังเกียรติคุณของท่าน
ให้ฟุ้งเฟื่องเลื่องลือไป
ธุดงควัตรที่ท่านถือปฏิบัติเป็นอาจิณ ๔ ประการ

     ๑.ปังสุกุลิกังคธุดงค์ ถือนุ่งห่มผ้าบังสกุล นับตั้งแต่วัน
อุปสมบทมาตราบจนกระทั่งถึงวัยชรา จึงได้ผ่อนให้คหบดีจีวร
บ้าง เพื่ออนุเคราะห์แก่ผู้ศรัทธานำามาถวาย
     ๒.บิณฑบาติกังคธุดงค์ ถือภิกขาจารยวัตร เที่ยวบิณฑบาต
มาฉันเป็นนิตย์ แม้อาพาธ ไปในละแวกบ้านไม่ได้ ก็บิณฑบาต
ในเขตวัด บนโรงฉัน จนกระทั่งอาพาธ ลุกไม่ได้ในปัจฉิมสมัย
จึงงดบิณฑบาต
     ๓.เอกปัตติกังคธุดงค์ ถือฉันในบาต ใช้ภาชนะใบเดียวเป็น
นิตย์ จนกระทั่งถึงสมัยอาพาธในปัจฉิมสมัย จึงงด
     ๔.เอกาสนิกังคธุดงค์ ถือฉันหนเดียวเป็นนิตย์ ตลอดเวลา
แม้อาพาธหนักในปัจฉิมสมัย ก็มิได้เลิกละ ส่วนธุดงควัตรนอกนี้
ได้ถือปฏิบัติเป็นครั้งคราว ที่นับว่าปฏิบัติได้มาก ก็คือ อรัญญิ
กกังคธุดงค์ ถืออยู่เสนาสนะป่าห่างบ้านประมาณ ๒๕ เส้น หลีก
เร้นอยู่ในที่สงัดตามสมณวิสัย เมื่อถึงวัยชรา จึงอยู่ในเสนาสนะ
ป่าห่างจากบ้านพอสมควร ซึ่งพอเหมาะกับกำาลัง ที่จะภิกขาจาร
บิณฑบาต เป็นที่ที่ปราศจากเสียงอื้ออึง ประชาชนเคารพ
ยำาเกรง ไม่รบกวน นัยว่า ในสมัยที่ท่านยังแข็งแรง ได้ออก
จาริกโดดเดี่ยว แสวงวิเวกไปในป่าดงพงลึก จนสุดวิสัยที่
ศิษยานุศิษย์จะติดตามไปถึงได้ก็มี เช่น ในคราวไปอยู่ภาเหนือ
เป็นต้น ท่านไปวิเวกบนเขาสูง อันเป็นที่อยู่ของพวกมูเซอร์ ยัง
ชาวมูเซอร์ที่พูดไม่รู้เรื่องกัน ให้บังเกิดศรัทธาในพระพุทธ
ศาสนาได้

    ธรรมโอวาท

     คำาที่เป็นคติ อันท่านอาจารย์กล่าวอยู่บ่อยๆ ที่เป็นหลัก
วินิจฉัยความดีที่ทำา
     ด้วยกาย วาจา ใจ แก่ศิษยานุศิษย์ดังนี้

    ๑. ดีใดไม่มีโทษ ดีนั้นนับว่าเลิศ
๒. ได้สมบัติทั้งปวง ไม่ประเสริฐเท่าได้ตน เพราะตัวตนเป็น
ที่เกิดแห่งสมบัติทั้งปวง

     เมื่อท่านอธิบาย ตจปัญจกกรรมฐาน จบลง มักจะกล่าว
เตือนขึ้นเป็นคำากลอนว่า “แก้ให้ตกเน้อ แก้บ่ตก คาพกเจ้าไว้
แก้บ่ได้ แขวนคอต่องแต่ง แก้บ่พ้น คาก้นย่างยาย คาย่างยาย
เวียนตายเวียนเกิด เวียนเอากำาเนิดในภพทั้งสาม ภาพทั้งสาม
เป็นเฮือน เจ้าอยู่” ดังนี้

     เมื่อคราวท่านเทศนาสั่งสอนพระภิกษุ ผู้เป็นสานุศิษย์ถือ
ลัทธิฉันเจ ให้เข้าใจทางถูก และ ละเลิกลัทธินั้น ครั้นจบลงแล้ว
ได่กล่าวเป็นคติขึ้นว่า “เหลือแต่เว้าบ่เห็น บ่อนเบาหนัก เดินบ่ไป
ตามทาง สิถืกดงเสือฮ้าย” ดังนี้แล การบำาเพ็ญสมาธิ เอาแต่
เพียงเป็นบาทของวิปัสสนา คือ การพิจารณาก็พอแล้ว ส่วนการ
จะอยู่ในวิหารธรรมนั้น ก็ให้กำาหนดรู้ ถ้าใครกลัวตาย เพราะ
บทบาททางความเพียร ผู้นั้น จะกลับมาตายอีก หลายภพหลาย
ชาติ ไม่อาจนับได้ ส่วนผู้ใดไม่กลัวตาย ผู้นั้นจะตัดภพชาติให้
น้อยลง ถึงกับไม่มีภพชาติเหลืออยู่ และผู้นั้นแล จะเป็นผู้ไม่กลับ
หลังมาหาทุกข์อีก ธรรมะเรียนมาจากธรรมชาติ เห็นความเกิด
แปรปรวนของสังขาร ประกอบด้วยไตรลักษณ์ ปัจฉิมโอวาท
ของ พระพุทธเจ้าโดยแท้ๆ ถ้าเข้าใจในโอวาทปาฏิโมกข์ ท่าน
พระอาจารย์มั่นแสดงโดย ยึดหลักธรรมชาติของศีลธรรมทาง
ด้านการปฏิบัติ เพื่อเตือนนักปฏิบัติทั้งหลาย ท่านแสดงเอาแต่
ใจความว่า..

    การไม่ทำาบาปทั้งปวงหนึ่ง การยังกุศล คือ ความฉลาดให้
ถึงพร้อมหนึ่ง การชำาระจิตใจของตนให้ผ่องแผ้วหนึ่ง......

    นี้แล คือ ตำาสอนทั้งหลายของพระพุทธเจ้า
    การไม่ทำาบาป...ถ้าทางกายไม่ทำา แต่ทางวาจาก็ทำาอยู่ ถ้า
ทางวาจาไม่ทำา แต่ทางใจก็ทำา
    สั่งสมบาปตลอดวัน จนถึงเวลาหลับ พอตื่นจากหลับ ก็เริ่ม
สั่งสมบาปต่อไป จนถึงขณะหลับอีก เป็นทำานองนี้ โดยมิได้
สนใจว่า ตัวทำาบาป หรือ สั่งสมบาปเลย แม้กระนั้น ยังหวังใจอยู่
ว่า ตนมีศีลธรรม และ คอยแต่เอาความบริสุทธิ์ จากความมีศีล
ธรรม ที่ยงเหลือแต่ชื่อเท่านั้น ฉะนั้น จึงไม่เจอความบริสุทธิ์
         ั
กลับเจอแต่ความเศร้าหมอง ความวุ่นวายในใจตลอดเวลา ทั้งนี้
เพราะ ตนแสวงหาสิ่งนั้น ก็ต้องเจอสิ่งนั้น ถ้าไม่เจอสิ่งนั้น จะให้
เจออะไรเล่า เพราะเป็นของที่มีอยู่ ในโลกสมมุติอย่างสมบูรณ์

     ท่านพระอาจารย์มั่น แสดงโอวาทธรรม ให้ปรากฏไว้ เมื่อ
ครั้งท่านจำาพรรษาอยู่ ณ วัดสระประทุม (ปัจจุบัน คือ วัดประทุม
วนาราม) กรุงเทพมหานคร ซึงปัจจุบัน อาจค้นคว้าหาอ่านได้ไม่
                            ่
ง่ายนัก มีดังนี้

    นมตฺถุ สุคตสฺส ปญฺจธฺนกฺขนฺธานิ

     ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสุคต บรมศาสดาศากยะมุนี สัมมา
สัมพุทธเจ้า และ พระนวโลกุตตรธรรม ๙ ประการ และพระ
อริยสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้านั้น

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาutumporn charoensuk
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับniralai
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
หนังสือนี้เป็นที่รักของข้าพเจ้า
หนังสือนี้เป็นที่รักของข้าพเจ้าหนังสือนี้เป็นที่รักของข้าพเจ้า
หนังสือนี้เป็นที่รักของข้าพเจ้าPum Pep
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayatippaya6563
 
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดThiranan Suphiphongsakorn
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Jariya Huangjing
 
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริงแนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริงMuttakeen Che-leah
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔Kamonchapat Boonkua
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
พุทธประวัติเบื้องต้น-พระพุทธศาสนา
พุทธประวัติเบื้องต้น-พระพุทธศาสนาพุทธประวัติเบื้องต้น-พระพุทธศาสนา
พุทธประวัติเบื้องต้น-พระพุทธศาสนาNaronglit Kunsiri
 

Was ist angesagt? (18)

วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
หนังสือนี้เป็นที่รักของข้าพเจ้า
หนังสือนี้เป็นที่รักของข้าพเจ้าหนังสือนี้เป็นที่รักของข้าพเจ้า
หนังสือนี้เป็นที่รักของข้าพเจ้า
 
วั
วัวั
วั
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
จิรทีปต์
จิรทีปต์จิรทีปต์
จิรทีปต์
 
จิรทีปต์ 2
จิรทีปต์ 2จิรทีปต์ 2
จิรทีปต์ 2
 
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริงแนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชน
 
พุทธประวัติเบื้องต้น-พระพุทธศาสนา
พุทธประวัติเบื้องต้น-พระพุทธศาสนาพุทธประวัติเบื้องต้น-พระพุทธศาสนา
พุทธประวัติเบื้องต้น-พระพุทธศาสนา
 
test
testtest
test
 
อนุตตรีย์ วัชรภา
อนุตตรีย์  วัชรภาอนุตตรีย์  วัชรภา
อนุตตรีย์ วัชรภา
 

Ähnlich wie ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต

บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1Mameaw Pawa
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโตประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโตTaweedham Dhamtawee
 
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมอีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมPanda Jing
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมTongsamut vorasan
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึกWataustin Austin
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrareciteTongsamut vorasan
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์YajokZ
 
Dhamma core
Dhamma coreDhamma core
Dhamma coreYajokZ
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์guest3650b2
 
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนาอุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนาSongsarid Ruecha
 
ธรรมบรรยาย
ธรรมบรรยายธรรมบรรยาย
ธรรมบรรยายWataustin Austin
 
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdfmaruay songtanin
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555Carzanova
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 

Ähnlich wie ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต (20)

มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโตประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
ประวัติและปฏิปทา หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต
 
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมอีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์
 
Dhamma core
Dhamma coreDhamma core
Dhamma core
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์
 
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนาอุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
 
ธรรมบรรยาย
ธรรมบรรยายธรรมบรรยาย
ธรรมบรรยาย
 
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 

ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต

  • 1. ประวัต ิ หลวงปู่ม ั่น ภูร ิท ติโ ต ชาติก ำา เนิด และชีว ิต ปฐมวัย ท่านกำาเนิดในสกุลแก่นแก้ว บิดาชื่อคำาด้วง มารดาชิ่อ จันทร์ เพียแก่นท้าว เป็นปู่นับถือพุทธศาสนา เกิดวันพฤหัสบดี เดือนยี่ ปีมะแม ตรงกับวันที่ ๒๐ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๔๑๓ ณ บ้านคำาบง ตำาบลโขงเจียม อำาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี มีพี่น้องร่วมท้องเดียวกัน ๗ คน ท่านเป็นบุตรคนหัวปี ท่านเป็น คนร่างเล็ก ผิวดำาแดง แข็งแรงว่องไว สติปัญญาดีมาแต่กำาเนิด ฉลาดเป็นผู้ว่านอนสอนง่าย ได้เรียนอักษรสมัยในสำานักของอา คือ เรียนอักษรไทยน้อย อักษรไทย อักษรธรรม และอักษรขอม อ่านออกเขียนได้ นับว่าท่านเรียนได้รวดเร็ว เพราะ มีความทรง จำาดีและขยันหมั่นเพียร ชอบการเล่าเรียน ชีวิตสมณะ การ แสวงหาธรรมและปฏิปทา
  • 2. เมื่อท่านอายุได้ ๑๕ ปี ได้บรรพชาเป็นสามเณรในสำานัก บ้านคำาบง ใครเป็นบรรพชาจารย์ไม่ปรากฏ ครั้นบวชแล้วได้ ศึกษาหาความรู้ทางพระศาสนา มีสวดมนต์และสูตรต่างๆ ใน สำานักบรรพชาจารย์ จดจำาได้รวดเร็ว อาจารย์เมตตาปราณีมาก เพราะเอาใจใส่ในการเรียนดี ประพฤติปฏิบัติเรียบร้อย เป็นที่ไว้ เนื้อเชื่อใจได้ เมื่อท่านอายุได้ ๑๗ บิดาขอร้องให้ลาสิกขาเพื่อ ช่วยการงานทางบ้าน ท่านได้ลาสิกขาออกไปช่วยงานบิดา มารดาเต็มความสามารถ ท่านเล่าว่า เมื่อลาสิกขาไปแล้วยังคิดที่จะบวชอีกอยู่เสมอ ไม่เคยลืมเลย คงเป็นเพราะอุปนิสัยในทางบวชมาแต่ก่อนหน หนึ่ง อีกอย่างหนึ่ง เพราะติดใจในคำาสั่งของยายว่า “เจ้าต้อง บวชให้ยาย เพราะยายก็ได้เลี้ยงเจ้ายาก” คำาสั่งของยายนี้คอย สกิดใจอยู่เสมอ ครั้นอายุท่านได้ ๒๒ ปี ท่านเล่าว่า มีความยากบวชเป็น กำาลัง จึงอำาลาบิดามารดาบวช ท่านทั้งสองก็อนุมัติตามประสงค์ ท่านได้ศึกษา ในสำานักท่านอาจารย์เสาร์ กันตสีลเถระ วัดเลียบ เมืองอุบล จังหวัดอุบลราชธานี ได้รับอุปสมบทกรรมเป็นภิกษุ ภาวะในพระพุทธศาสนา ณ วัดศรีทอง(วัดศรีอุบลรัตนาราม) อำาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี พระอริยกวี (อ่อน) เป็นพระ อุปัชฌายะ มี พระครูสีทา ชยเสโน เป็นพระกรรมวาจาย์ และ พระครูประจักษ์อุบลคุณ (สุ่ย) เป็นพระอนุสาวนาจารย์ เมื่อวันที่ ๑๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๓๖ พระอุปัชฌายะขนานนามมคธ ให้ว่า ภูทตฺโต เสร็จอุปสมบทกรรมแล้ว ได้กลับมาสำานักศึกษาวิปัสสนา ธุระ กับ พระอาจารย์เสาร์ กันตศีลเถระ ณ วัดเลียบต่อไป เมื่อแรกอุปสมบท ท่านพำานักอยู่วัดเลียบ เมืองอุบลเป็นปกติ ออกไปอาศัยอยู่วัดบูรพาราม เมืองอุบลบ้าง เป็นครั้งคราว ใน ระหว่างนั้น ได้ศึกษาข้อปฏิบัติเบื้องต้น อันเป็นส่วนแห่งพระวินัย คือ อาจาระ ความประพฤติมารยาท อาจริยวัตร แล้อุปัชฌาย วัตร ปฏิบัติได้เรีบยร้อยดี จนเป็นที่ไว้วางใจของพระอุปัชฌา
  • 3. จารย์ และได้ศึกษาข้อปฏิบัติอบรมจิตใจ คือ เดินจงกลม นั่ง สมาธิ สมาทานธุดงควัตร ต่างๆ ในสมัยต่อมา ได้แสวงหาวิเวก บำาเพ็ญสมณธรรมในที่ ต่างๆ ตามราวป่า ป่าช้า ป่าชัฎ ที่แจ้ง หุบเขาซอกห้วย ธารเขา เงื้อมเขา ท้องถำ้า เรือนว่าง ทางฝั่งซ้ายแม่นำ้าโขงบ้าง ฝั่งขวา แม่นำ้าโขงบ้าง แล้วลงไปศึกษากับนักปราชญ์ในกรุงเทพฯ จำา พรรษาอยู่ที่วัดปทุมวนาราม หมั่นไปสดับธรรมเทศนา กับ เจ้า พระคุณพระอุบาลี (สิริจันทเถระ จันทร์) ๓ พรรษา แล้วออก แสวงหาวิเวกในถิ่นภาคกลาง คือ ถำ้าสาริกา เขาใหญ่ นครนายก ถำ้าไผ่ขวาง เขาพระงาม แล ถำ้าสิงโตห์ ลพบุรี จนได้ รับความรู้แจ่มแจ้ง ในพระธรรมวินัย สิ้นความสงสัย ในสัตถุ ศาสนา จึงกลับมาภาคอีสาน ทำาการอบรมสั่งสอน สมถวิปัสสน า แก้สหธรรมิก และอุบาสกอุบาสิกาต่อไป มีผู้เลื่อมใสพอใจปฏิบัติ มากขึ้น โดยลำาดับ มีศิษยานุศิษย์แพร่หลาย กระจายทั่วภาค อีสาน ในกาลต่อมา ได้ลงไปพักจำาพรรษาที่วัดปทุมวนาราม กรุงเทพฯ อีก ๑ พรรษา แล้วไปเชียงใหม่กับ เจ้าพระคุณอุบาลีฯ (สิริจันทรเถระ จันทร์) จำาพรรษาวัดเจดีย์หลวง ๑ พรรษา แล้ว ออกไปพักตามที่วิเวกต่างๆ ในเขตภาคเหนือหลายแห่ง เพื่อ สงเคราะห์สาธุชนในที่นั้นๆ นานถึง ๑๑ ปี จึงได้กลับมา จังหวัด อุบลราชธานี พักจำาพรรษาอยู่ที่ วัดโนนนิเวศน์ เพื่ออนุเคระาห์ สาธุชนในที่นั้น ๒ พรรษา แล้วมาอยู่ในเขตจังหวัดสกลนคร จำา พรรษาที่ วัดป่าบ้านนามน ตำาบลตองขอบ อำาเภอเมืองสกลนคร (ปัจจุบันคือ อำาเภอโคกศรีสุพรรณ) ๓ พรรษา จำาพรรษาที่ วัด หนองผือ ตำาบลนาใน อำาเภอเมืองพรรณานิคม ๕ พรรษา เพื่อ สงเคราะห์สาธุชนในถิ่นนั้น มีผู้สนใจในธรรมปฏิบัติ ได้ตดตาม ิ ศึกษาอบรมจิตใจมากมาย ศิษยานุศิษย์ของท่าน ได้แพร่ กระจายไปทั่วทุกภาคของประเทศไทย ยังเกียรติคุณของท่าน ให้ฟุ้งเฟื่องเลื่องลือไป
  • 4. ธุดงควัตรที่ท่านถือปฏิบัติเป็นอาจิณ ๔ ประการ ๑.ปังสุกุลิกังคธุดงค์ ถือนุ่งห่มผ้าบังสกุล นับตั้งแต่วัน อุปสมบทมาตราบจนกระทั่งถึงวัยชรา จึงได้ผ่อนให้คหบดีจีวร บ้าง เพื่ออนุเคราะห์แก่ผู้ศรัทธานำามาถวาย ๒.บิณฑบาติกังคธุดงค์ ถือภิกขาจารยวัตร เที่ยวบิณฑบาต มาฉันเป็นนิตย์ แม้อาพาธ ไปในละแวกบ้านไม่ได้ ก็บิณฑบาต ในเขตวัด บนโรงฉัน จนกระทั่งอาพาธ ลุกไม่ได้ในปัจฉิมสมัย จึงงดบิณฑบาต ๓.เอกปัตติกังคธุดงค์ ถือฉันในบาต ใช้ภาชนะใบเดียวเป็น นิตย์ จนกระทั่งถึงสมัยอาพาธในปัจฉิมสมัย จึงงด ๔.เอกาสนิกังคธุดงค์ ถือฉันหนเดียวเป็นนิตย์ ตลอดเวลา แม้อาพาธหนักในปัจฉิมสมัย ก็มิได้เลิกละ ส่วนธุดงควัตรนอกนี้ ได้ถือปฏิบัติเป็นครั้งคราว ที่นับว่าปฏิบัติได้มาก ก็คือ อรัญญิ กกังคธุดงค์ ถืออยู่เสนาสนะป่าห่างบ้านประมาณ ๒๕ เส้น หลีก เร้นอยู่ในที่สงัดตามสมณวิสัย เมื่อถึงวัยชรา จึงอยู่ในเสนาสนะ ป่าห่างจากบ้านพอสมควร ซึ่งพอเหมาะกับกำาลัง ที่จะภิกขาจาร บิณฑบาต เป็นที่ที่ปราศจากเสียงอื้ออึง ประชาชนเคารพ ยำาเกรง ไม่รบกวน นัยว่า ในสมัยที่ท่านยังแข็งแรง ได้ออก จาริกโดดเดี่ยว แสวงวิเวกไปในป่าดงพงลึก จนสุดวิสัยที่ ศิษยานุศิษย์จะติดตามไปถึงได้ก็มี เช่น ในคราวไปอยู่ภาเหนือ เป็นต้น ท่านไปวิเวกบนเขาสูง อันเป็นที่อยู่ของพวกมูเซอร์ ยัง ชาวมูเซอร์ที่พูดไม่รู้เรื่องกัน ให้บังเกิดศรัทธาในพระพุทธ ศาสนาได้ ธรรมโอวาท คำาที่เป็นคติ อันท่านอาจารย์กล่าวอยู่บ่อยๆ ที่เป็นหลัก วินิจฉัยความดีที่ทำา ด้วยกาย วาจา ใจ แก่ศิษยานุศิษย์ดังนี้ ๑. ดีใดไม่มีโทษ ดีนั้นนับว่าเลิศ
  • 5. ๒. ได้สมบัติทั้งปวง ไม่ประเสริฐเท่าได้ตน เพราะตัวตนเป็น ที่เกิดแห่งสมบัติทั้งปวง เมื่อท่านอธิบาย ตจปัญจกกรรมฐาน จบลง มักจะกล่าว เตือนขึ้นเป็นคำากลอนว่า “แก้ให้ตกเน้อ แก้บ่ตก คาพกเจ้าไว้ แก้บ่ได้ แขวนคอต่องแต่ง แก้บ่พ้น คาก้นย่างยาย คาย่างยาย เวียนตายเวียนเกิด เวียนเอากำาเนิดในภพทั้งสาม ภาพทั้งสาม เป็นเฮือน เจ้าอยู่” ดังนี้ เมื่อคราวท่านเทศนาสั่งสอนพระภิกษุ ผู้เป็นสานุศิษย์ถือ ลัทธิฉันเจ ให้เข้าใจทางถูก และ ละเลิกลัทธินั้น ครั้นจบลงแล้ว ได่กล่าวเป็นคติขึ้นว่า “เหลือแต่เว้าบ่เห็น บ่อนเบาหนัก เดินบ่ไป ตามทาง สิถืกดงเสือฮ้าย” ดังนี้แล การบำาเพ็ญสมาธิ เอาแต่ เพียงเป็นบาทของวิปัสสนา คือ การพิจารณาก็พอแล้ว ส่วนการ จะอยู่ในวิหารธรรมนั้น ก็ให้กำาหนดรู้ ถ้าใครกลัวตาย เพราะ บทบาททางความเพียร ผู้นั้น จะกลับมาตายอีก หลายภพหลาย ชาติ ไม่อาจนับได้ ส่วนผู้ใดไม่กลัวตาย ผู้นั้นจะตัดภพชาติให้ น้อยลง ถึงกับไม่มีภพชาติเหลืออยู่ และผู้นั้นแล จะเป็นผู้ไม่กลับ หลังมาหาทุกข์อีก ธรรมะเรียนมาจากธรรมชาติ เห็นความเกิด แปรปรวนของสังขาร ประกอบด้วยไตรลักษณ์ ปัจฉิมโอวาท ของ พระพุทธเจ้าโดยแท้ๆ ถ้าเข้าใจในโอวาทปาฏิโมกข์ ท่าน พระอาจารย์มั่นแสดงโดย ยึดหลักธรรมชาติของศีลธรรมทาง ด้านการปฏิบัติ เพื่อเตือนนักปฏิบัติทั้งหลาย ท่านแสดงเอาแต่ ใจความว่า.. การไม่ทำาบาปทั้งปวงหนึ่ง การยังกุศล คือ ความฉลาดให้ ถึงพร้อมหนึ่ง การชำาระจิตใจของตนให้ผ่องแผ้วหนึ่ง...... นี้แล คือ ตำาสอนทั้งหลายของพระพุทธเจ้า การไม่ทำาบาป...ถ้าทางกายไม่ทำา แต่ทางวาจาก็ทำาอยู่ ถ้า ทางวาจาไม่ทำา แต่ทางใจก็ทำา สั่งสมบาปตลอดวัน จนถึงเวลาหลับ พอตื่นจากหลับ ก็เริ่ม
  • 6. สั่งสมบาปต่อไป จนถึงขณะหลับอีก เป็นทำานองนี้ โดยมิได้ สนใจว่า ตัวทำาบาป หรือ สั่งสมบาปเลย แม้กระนั้น ยังหวังใจอยู่ ว่า ตนมีศีลธรรม และ คอยแต่เอาความบริสุทธิ์ จากความมีศีล ธรรม ที่ยงเหลือแต่ชื่อเท่านั้น ฉะนั้น จึงไม่เจอความบริสุทธิ์ ั กลับเจอแต่ความเศร้าหมอง ความวุ่นวายในใจตลอดเวลา ทั้งนี้ เพราะ ตนแสวงหาสิ่งนั้น ก็ต้องเจอสิ่งนั้น ถ้าไม่เจอสิ่งนั้น จะให้ เจออะไรเล่า เพราะเป็นของที่มีอยู่ ในโลกสมมุติอย่างสมบูรณ์ ท่านพระอาจารย์มั่น แสดงโอวาทธรรม ให้ปรากฏไว้ เมื่อ ครั้งท่านจำาพรรษาอยู่ ณ วัดสระประทุม (ปัจจุบัน คือ วัดประทุม วนาราม) กรุงเทพมหานคร ซึงปัจจุบัน อาจค้นคว้าหาอ่านได้ไม่ ่ ง่ายนัก มีดังนี้ นมตฺถุ สุคตสฺส ปญฺจธฺนกฺขนฺธานิ ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสุคต บรมศาสดาศากยะมุนี สัมมา สัมพุทธเจ้า และ พระนวโลกุตตรธรรม ๙ ประการ และพระ อริยสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้านั้น