SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 29
บทที่ 3 ธรณีพิบัติภัย
(Geohazard)
1. ภูเขาไฟระเบิด (Volcanic Eruption)
ภูเขาไฟจะอยู่หนาแน่นบริเวณรอยต่อ
ของแผ่นธรณีที่เกิดจากการเคลื่อนที่
ของแผ่นธรณีรูปแบบต่าง ๆ โดยส่วน
ใหญ่จะพบบริเวณแผ่นธรณีเคลื่อนที่
เข้าหากัน เนื่องจากการมุดตัวของ
แผ่นธรณีทาให้เกิดการหลอมของ
แผ่นธรณีและกลายเป็นแมกมา และ
เคลื่อนที่ขึ้นสู่ผิวโลกเกิดเป็นภูเขาไฟ
ตำแหน่งของภูเขำไฟทั่วโลก
นอกจากนี้ยังเห็นว่าแนวของตาแหน่งภูเขาไฟนั้น กระจายตัวต่อเนื่องบริเวณขอบทวีปรอบมหาสมุทร
แปซิฟิกซึ่งมีลักษณะคล้ายวงแหวน จึงเรียกว่า วงแหวนไฟ (ring of fire)
วงแหวนไฟ (ring of fire)
การเกิดภูเขาไฟระเบิดส่วนใหญ่จะสัมพันธ์กับแนวรอยต่อของแผ่นธรณี แต่มีบางกรณีที่พบภูเขาไฟระเบิดอยู่ภายใน
แผ่นธรณี ซึ่งเป็นบริเวณที่แมกมาปะทุขึ้นมายังผิวโลก จุดที่แมกมาเคลื่อนที่ขึ้นมาบนผิวโลก เรียกว่า จุดร้อน (hot spot)
เช่น หมู่เกาะฮาวาย อุทยานแห่งชาติเยลโล่สโตน
ภูเขาไฟธีรา เกาะซานโตรินี
ประเทศกรีซ ค.ศ. 1610
ภูเขาไฟคาปาร ์ราวติเก
ประเทศเอลซัลวาดอร ์
ค.ศ. 2013
ภูเขาไฟฮวนนา ปูดิน่า
ประเทศเปรู ค.ศ. 1600
ภูเขาไฟแทมโบรา เกาะซัมบาวา
อินโดนีเซีย ผู้เสียชีวิต 34,000 คน
ค.ศ. 1815
ภูเขาไฟปิ นาตู โบ เกาะลูซอน
ประเทศฟิ ลลิปปิ นส์ค.ศ. 1991
ภูเขาไฟฉางไป๋ ซาน
พรมแดนจีน-เกาหลีเหนือ
ประเทศจีน ค.ศ. 1702
ภูเขาไฟซาน
ตามาเรีย
ประเทศ
กัวเตมาลา
ค.ศ. 1902
ภูเขาไฟระเบิดครั้งร้ายแรง
กระบวนการเกิดภูเขาไฟระเบิด
กระบวนการเกิดภูเขาไฟระเบิดเกิดจากแมกมามีอุณหภูมิสูงและมีความหนาแน่นน้อยลง จึงเคลื่อนที่ขึ้นด้านบน ในแมกมา
มีแก๊สละลายอยู่ในรูปของเหลวเนื่องจากได้ผิวโลกมีความดันสูงกว่าบนผิวโลก เมื่อแมกมาเคลื่อนที่ขึ้นสู่ผิวโลก ความดันจะ
ลดลงทาให้แก๊สในแมกมาก่อตัวเป็นฟอง และ ฟองแก๊สเหล่านั้นก็พยายามแยกตัวออกจากแมกมา หากแมกมามีความหนืด
มาก แก๊สจะแยกตัวออกได้ยากทาให้สะสมความดันไว้ ทาให้เกิดการระเบิดรุนแรง
ความแรงของการปะทุของภูเขาไฟขึ้นอยู่กับความหนืดของลาวา โดยปัจจัยที่ควบคุมความหนืด
ของลาวา คือ ปริมาณซิลิกา
ลาวามีความหนืดต่า เกิดจากการ
มีปริมาณซิลิกาน้อย มีการปะทุไม่รุนแรง
ทาให้ลาวาค่อย ๆ ไหลออกจากปล่องแผ่
ออกไปโดยรอบ ทาให้ภูเขาไฟมีฐานกว้าง
และความสูงไม่มาก
ลาวามีความหนืดสูง เกิดจากมีซิลิกาปริมาณมาก เมื่อแมกมาที่
เคลื่อนที่มาจะสะสมไม่สามารถออกจากปากปล่องได้ ความดันเพิ่มเรื่อย ๆ
เกิดการปะทุอย่างรุนแรง ลาวาบางส่วนพุ่งขึ้นไปในอากาศและแข็งตัว
เป็นเศษชิ้นภูเขาไฟ (pyroclast) เช่น เถ้าธุรีภูเขาไฟ บอมบ์ภูเขาไฟ บล็อก
ภูเขาไฟ ตกตะกอนไม่ไกลจากปล่องภูเขาไฟ ทาให้ภูเขาไฟสูงขึ้นเรื่อย ๆ
ภูเขาไฟเมานาโลอา บนหมู่เกาะฮาวาย เกิดจาก
ลาวาที่มีความหนืดต่า ทาให้ได้ภูเขาไฟฐานกว้าง
ภูเขาไฟฟูจิที่ญี่ปุ่น เกิดจากลาวาที่มีความ
หนืดสูง ทาให้ได้ภูเขาไฟสูงชัน
ภูเขาไฟในประเทศไทย
ภูเขาไฟในประเทศไทยเป็นภูเขาไฟที่ดับสนิทและเกิดการผุพังบางส่วน แต่ยังมีหลักฐานร่องรอยให้
เห็นว่าเป็นปากภูเขาไฟ
เขำกระโดง บุรีรัมย์ เขำพนมรุ้ง บุรีรัมย์
การเตรียมตัวป้ องกันภัยจากภูเขาไฟระเบิด วิธีการป้ องกันตัวจากภูเขาไฟ
เตรียมเสบียง ยารักษาโรค เครื่องใช้ที่จำาเ็น
รวมทั้งเครื่องมือสื่อสาร
ติดตามข่าวสารจากทางราชการอย่างเคร่งครัด
ใส่หน้ากากอนามัย แว่นตาทุกชนิดเพื่อ็้องกันเถ้า
ภูเขาไฟ
ไม่ควรหลบอยู่ในอาคารสิ่งก่อสร้าง
เพราะอาจถล่มลงมาจากแผ่นดินไหว
หรือเถ้าภูเขาไฟได้
คอยรับฟังข่าวเตือนภัยเกี่ยวกับภูเขาไฟ
เมื่อมี็ระกาศให้อพยพหลับภัย
ควรรีบอพยพโดยด่วน
ควรขับรถด้วยความระมัดระวังเมื่อมี
เถ้าภูเขาไฟอยู่บนถนนเ็นจำานวนมาก
แนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากการเกิดภูเขาไฟระเบิด
2. แผ่นดินไหว
เมื่อเกิดแผ่นดินไหว คลื่นไหวสะเทือนที่ถูก
ปลดปล่อยออกมาจาก ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
(earthquake focus) ซึ่งมีระดับความลึกแตกต่าง
กันในแต่ละบริเวณ คลื่นไหวสะเทือนจากบริเวณ
ต้นกาเนิดของแผ่นดินไหว ภายในโลกมีการ
เคลื่อนที่ออกไปทุกทิศทุกทาง และบริเวณที่ได้รับ
ผล กระทบจากแผ่นดินไหวมากที่สุด คือ ตาแหน่ง
บนพื้นผิวโลกที่อยู่เหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
เรียกว่า จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (epicenter) ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (earthquake focus)
จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (epicenter)
คลื่นไหวสะเทือนที่เคลื่อนที่ออกจากศูนย์เกิดแผ่นดินไหวจะเป็นคลื่นในตัวกลาง (body waves) ได้แก่ คลื่นปฐมภูมิ
และคลื่นทุติยภูมิ แต่เมื่อคลื่นในตัวกลางเคลื่อนที่มาถึงพื้นผิว โลกจะทาให้เกิดคลื่นพื้นผิว (surface waves) ที่ส่งผลให้
แผ่นดินสั่นสะเทือนในลักษณะที่แตกต่างกัน ได้แก่
1. คลื่นเลิฟ (Love wave) เป็นคลื่นไหวสะเทือน
ที่เคลื่อนที่ไปตามผิวระนาบพื้นผิวโลกทาให้
อนุภาคเกิดการ สั่นในแนวราบ มีทิศทางตั้งฉาก
กับการเคลื่อนที่ของคลื่น เป็นสาเหตุทาให้พื้น
โลกสันในแนวราบ
2. คลื่นเรลีย์ลีย์ (Rayleigh wave) เป็นคลื่นไหว
สะเทือนที่เคลื่อนที่ไปตามระนาบพื้นผิวโลกทา
ให้อนุภาคตัวกลางสั่น ในลักษณะวงรีคล้าย
คลื่นน้า เป็นสาเหตุทาให้พื้นโลกสั่นขึ้นลง
ขนาดแผ่นดินไหว
ปริมาณของพลังงานที่ถูกปลดปล่อยออกมาในรูปของการสั่นสะเทือนที่ส่งผ่าน
มายังผิวโลก สังเกตได้จากค่าแอมพลิจูดของคลื่นแผ่นดินไหวที่ตรวจวัดได้ และ
นามาคานวณเป็นขนาดของแผนดินไหว ขนาดของแผ่นดินไหว (earthquake
magnitude) นั้นรายงานโดยใช้มาตราริกเตอร์ ที่พัฒนาในปี พ.ศ. 2478 โดย
ชาลส์ ฟรานซิส ริกเตอร์ (Charles Francis Richter) นักแผ่นดินไหววิทยาชาว
อเมริกัน มาตราริกเตอร์มีความเหมาะสมเมื่อใช้ตรวจวัดขนาดของแผ่นดินไหว
ที่มีระยะห่างจากสถานีตรวจวัดไม่เกิน 650 กิโลเมตร จึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า
ขนาดท้องถิ่น (local magnitude, ML)
ต่อมามีการพัฒนาเครื่องมือตรวจวัดที่ทันสมัยทาให้สามารถวัดขนาดของ
แผ่นดินไหวได้แม่นยายิ่งขึ้น และสามารถวัดคลื่นไหวสะเทือนที่เกิดจากศูนย์เกิด
แผ่นดินไหวจากระยะไกลได้ทั่วโลก ปัจจุบัน การบอกขนาดของแผ่นดินไหว
นิยมใช้ ขนาดโมเมนต์แผ่นดินไหว (moment magnitude, MW )
ชาลส์ ฟรานซิส ริกเตอร์
พัฒนาเครื่องมือตรวจวัด
ผลของแผ่นดินไหวที่ทาให้คนรู้สึกถึงการสั่นสะเทือน ลักษณะที่วัตถุหรือ
อาคารเสียหาย หรือ สภาพภูมิประเทศเปลี่ยนแปลง ได้ถูกนามาประเมิน
เป็นความรุนแรงของแผ่นดินไหว (earthquake intensity) ความรุนแรงจะ
มากที่สุดบริเวณใกล้จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวและสดลงตามระยะทาง
มาตราวัดความรุนแรงของแผ่นดินไหวที่นิยมใช้ในปัจจุบันคือ มาตราเมอร์
คัลลีปรับปรุงใหม่ (modified Mercalli Scale) ซึ่งแบ่งเป็น 12 ระดับ
ขนาดความรุนแรง 7.6 ริกเตอร ์
ผู้เสียชีวิต 17,118 คน
ตรุกี ค.ศ. 1999
แผ่นดินไหวครั้งร้ายแรง
ขนาดความรุนแรง 7.0 ริกเตอร ์
ผู้เสียชีวิต 316,000 คน
เฮติ ค.ศ.
2010
ขนาดความรุนแรง 7.4 ริกเตอร ์
ผู้เสียชีวิต 40,000 คน
อิหร่าน ค.ศ. 1990
ขนาดความรุนแรง 7.9 ริกเตอร ์
ผู้เสียชีวิต 87,857 คน
จีน ค.ศ. 2008
ขนาดความรุนแรง 7.6 ริกเตอร ์
ผู้เสียชีวิต 86,000 คน
ปากีสถาน ค.ศ. 2005
ขนาดความรุนแรง 9.1 ริกเตอร ์
ผู้เสียชีวิต 227,898 คน
อินโดนีเซีย ค.ศ. 2004
ขนาดความรุนแรง 9.0 ริกเตอร ์
ผู้เสียชีวิต 20,000 คน
ญี่ปุ่ น ค.ศ. 2011
ให้ความรู้เกี่ยวกับภัยแผ่นดินไหว
และแนวทางการรับมือกับแผ่นดินไหว
เช่น เกิดแผ่นดินไหว ห้ามใช้ลิฟต์
สิ่งก่อสร้างต่างๆ ได้รับความเสียหาย
ผู้คนได้รับบาดเจบและเสียชีวิต
การสื่อสารการคมนาคมได้รับผลกระทบ
และเกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ
แผ่นดินไหวรุนแรงที่เกิดใต้ทะเล
อาจทำาให้เกิดคลื่นสึนามิ
ผลกระทบและการระวังภัยจากการเกิดแผ่นดินไหว
การระวังภัย
กำาหนดนโยบายการสร้างหรือต่อเติม
อาคารบ้านเรือนให้สามารถ
รับแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว
ฝึกซ้อมเตรียมรับมือกับแผ่นดินไหว
เพื่อความเข้าใจและลดการบาดเจบ
และเสียชีวิต
ผลกระ
ทบ
3. สึนามิ
สึนามิ (tsunami) เป็นคาในภาษาญี่ปุ่น แปลว่า คลื่นท่าเรือ
เนื่องจากเป็นคลื่นที่สร้างความเสียหายรุนแรง โดยเฉพาะ
บริเวณท่าเรือของหมู่บ้านชาวประมงในญี่ปุ่น
เป็นกลุ่มคลื่นน้าที่เกิดขึ้นจากการย้ายที่ของปริมาตรน้าก้อนใหญ่ คือ มหาสมุทรหรือทะเลสาบขนาดใหญ่ แผ่นดินไหว
การปะทุของภูเขาไฟและการระเบิดใต้น้าอื่น ๆ (รวมทั้งการจุดวัตถุระเบิดหรือวัตถุระเบิดนิวเคลียร์ใต้น้า) ดินถล่ม
ธารน้าแข็งไถล อุกกาบาตตกและการรบกวนอื่น ไม่ว่าเหนือหรือใต้น้า ล้วนอาจก่อให้เกิดเป็นคลื่นสึนามิได้ทั้งสิ้น
เหตุการณ์เหล่านี้ทาให้เกิดการแทนที่ของมวลน้าอย่างเฉียบพลันเป็นบริเวณกว้างจึงเกิดเป็นระลอกคลื่นแผ่กระจาย
ออกไปทุกทิศทุกทางจึงทาให้เกิดสึนามิในหลายพื้นที่
โดยส่วนใหญ่แล้วสึนามิมักจะเกิดขึ้นบริเวณชายฝั่ง
โดยรอบของมหาสมุทรแปซิฟิ ก เนื่องจากมีแนว
รอยต่อของแผ่นธรณีเป็นทางยาว ซึ่งเป็ นบริเวณที่
เกิดการมุดตัวของแผ่นธรณีและทาให้เกิดการเลื่อน
ตัวของพื้นมหาสมุทรเป็ นสาเหตุขอการเกิด
แผ่นดินไหว ซึ่งในบางครั้งอาจทาให้เกิดสินามิ
ตามมาได้ สึนามิเป็นคลื่นที่มีลักษณะเฉพาะตัว เมื่อ
เคลื่อนที่ผ่านบริเวณที่เป็นทะเลลึก สึนามิจะมีความ
สูงคลื่นน้อยสังเกตเห็นได้ยาก แต่มีความยาวคลื่นได้
ถึง 200 กิโลเมตร และเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วสูง ได้ถึง
950 กิโลเมตรต่อชั่วโมง อีกทั้งยังสามารถเคลื่อนที่
ออกจากจุดกาเนิดได้ไกลหลายพันกิโลเมตร
เมื่อเคลื่อนที่ผ่านบริเวณที่เป็นทะเลลึก
สึนามิจะมีความ สูงคลื่นน้อย
เมื่อสึนามิเคลื่อนเข้าสู่บริเวณชายฝั่ง
น้าตื้นความยาวคลื่นและความเร็ว
คลื่นจะลดลงแต่ความ สูงคลื่น
เพิ่มขึ้นทาให้เกิดคลื่นขนาดใหญ่
ปะทะเข้ากับชายฝั่ง
เมื่อสึนามิเคลื่อนเข้าสู่บริเวณชายฝั่งน้าตื้นความยาวคลื่นและความเร็วคลื่นจะลดลงแต่ความสูงคลื่นเพิ่มขึ้นทาให้เกิด
คลื่นขนาดใหญ่ปะทะเข้ากับ มวลน้าที่ซัดขึ้นชายฝั่งอาจท่วมลึกเข้าไปบนแผ่นดิน ได้ไกลหลายร้อยเมตร มวลน้าปริมาณ
มากที่พัดขึ้นชายฝั่งจะปะทะกับสิ่งก่อสร้างพร้อมกับพัดพา เอาผู้ประสบภัย สิ่งของ ต้นไม้ และอื่น ๆ ไปกับมวลน้า เมื่อ
มวลน้าท่วมลึกเข้าไปบนชายฝั่งจนหมดพลังงานแล้ว มวลน้าจะไหลกลับลงสู่ทะเลพร้อมกับพัดพาเอาเศษสิ่งของ และ
ผู้ประสบภัยลงสู่ทะเล หลังจากนั้นคลื่นระลอกถัดไปจะพัดเข้าปะทะกับชายฝั่งอีกครั้ง
ความเสียหายของพื้นที่บริเวณชายฝั่งหลังเกิดสึนามิ ประเทศญี่ปุ่ น
กระบวนการเตือนภัยสึนามิ
1. การตรวจวัดข้อมูล เช่น ความดันของน้าทะเล การสั่นสะเทือนของแผ่นธรณีและการเปลี่ยนแปลงของระดับ
น้าและคลื่น โดยเครื่องมือตรวจวัดซึ่งติดตั้งอยู่ในมหาสมุทร ข้อมูลต่าง ๆ จะถูกส่งไปยังตาวเทียมเพื่อส่งข้อมูลไปยัง
ศูนย์เตือนภัยหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2. การประมวลผลจากข้อมูล เป็นการนาข้อมูลจากการตรวจวัดมาพยากรณ์โดยใช้แบบจาลอง เพื่อจาลองผล
ของการเกิดสึนามิ เช่น ความสูงคลื่น ระยะเวลาที่คลื่นจะเคลื่อนที่ถึงชายฝั่ง
3. การประกาศเตือนภัย เป็นการเผยแพร่ข้อมูลเตือนภัยจากศูนย์เตือนภัยไปยังประชาชน หรือองค์กรสาธารณะ
เพื่อให้ประกาศให้ประชาชนเตรียมพร้อมและคอยเฝ้าติดตาม สถานการณ์จากศูนย์เตือนภัย
ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลัก
กระบวนการเตือนภัยสึนามิ
กำรตรวจวัดข้อมูล
กำรประมวลผลจำกข้อมูล
กำรประกำศเตือนภัย
ดาวเทียมอิริเดียม (Iridium Satellite)
ส่งข้อมูลไ็ยังศูนย์เตือนภัยสึนามิบนฝั่ง
ทุ่นลอย (buoy)
เกบข้อมูลความเรวลม อุณหภูมิและความกดอากาศ
แล้วดึงข้อมูลไ็ยังดาวเทียม
เครื่องตรวจวัดความดันน้า (Bootom
Pressure Recorder : BPR)
ส่งข้อมูลความดันนำ้าทะเล การสั่นสะเทือนของเ็ลืองโลก
และการเ็ลี่ยนแ็ลงของคลื่นทะเลไ็ยังทุ่นลอยบนผิวนำ้า
ระบบตรวจวัดคลื่นสึนามิแบบทุ่นลอย (Deep Ocean Assessment and Reporting Assessment of Tsunam
ฟิลิ็็ินส์ พ.ศ. 2519
ผู้เสียชีวิตกว่า 5,000 คน
ญี่็ุ่น พ.ศ. 2554
ผู้เสียชีวิตกว่า 20,000 คน
ชายฝั่งอลาสกา พ.ศ. 2507
ผู้เสียชีวิตกว่า 100 คน
ชิลี พ.ศ. 2503
ผู้เสียชีวิตกว่า 1,000 คน
็า็ัวนิวกินี พ.ศ. 2541
ผู้เสียชีวิตกว่า 2,000 คน
มหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547
ผู้เสียชีวิตกว่า 200,000 คน
การเกิดเกิดนามิครั้งที่ร้ายแรงที่สุดของแต่ละประเทศ
บทที่ 3 ธรณีพิบัติภัย
(Geohazard)

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
narongsakday
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
smEduSlide
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
website22556
 

Was ist angesagt? (20)

ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 
ธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัยธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัย
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
Astronomy V
Astronomy VAstronomy V
Astronomy V
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
หินอัคนี.pdf
หินอัคนี.pdfหินอัคนี.pdf
หินอัคนี.pdf
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 

Ähnlich wie โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ

บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
narongsakday
 
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
พัน พัน
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
smEduSlide
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sun
native
 
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัวแผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
NIMT
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
nasanunwittayakom
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
kalita123
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
Miewz Tmioewr
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
Kroo Mngschool
 
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
Petch Tongthummachat
 

Ähnlich wie โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ (20)

บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกของเรา
โลกของเราโลกของเรา
โลกของเรา
 
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sun
 
แผ่นดินไหว503
แผ่นดินไหว503แผ่นดินไหว503
แผ่นดินไหว503
 
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัวแผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหว
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหวโลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหว
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหว
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
Astronomy 04
Astronomy 04Astronomy 04
Astronomy 04
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
โลกวิกฤตและดวงโลก
โลกวิกฤตและดวงโลกโลกวิกฤตและดวงโลก
โลกวิกฤตและดวงโลก
 
โลกวิกฤตและดวงโลก
โลกวิกฤตและดวงโลกโลกวิกฤตและดวงโลก
โลกวิกฤตและดวงโลก
 
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
 

Mehr von soysuwanyuennan

Mehr von soysuwanyuennan (7)

บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐานบทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
 
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกเอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
 
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกเอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟ
 

โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ