SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 41
การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการบริหารโรงเรียนของครู
ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท
PARTICIPATION IN DECISION MAKING OF SCHOOL ADMINISTRATION
OF EXPANDED EDUCATIONAL SCHOOL TEACHERS UNDER CHAINAT
PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE
นายสรวิชญ์ สินสวาท
รหัสนักศึกษา 55H61270224
สาขาการบริหารการศึกษา รุ่น 18 ห้อง
2
บทที่ 1 บทนา
 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 กาหนดให้
กระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาให้โรงเรียนทั้งในด้าน
วิชาการ งบประมาณ การบริหารบุคคล และการบริหารทั่วไป ซึ่งผู้บริหาร
โรงเรียนจะมีบทบาทสาคัญในกระบวนการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ
สถานศึกษา ครู นักเรียนและผู้ปกครอง ชุมชน ในการตัดสินใจบริหารและ
จัดการศึกษา และในการบริหารสถานศึกษาแบบกระจายอานาจนั้น
ผู้บริหารต้องให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
เพราะว่าการตัดสินใจแบบมีส่วนร่วมเป็นองค์ประกอบในการบริหาร
การศึกษาที่สาคัญประการหนึ่ง
บทที่ 1 บทนา
 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา (ต่อ)
โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษามีจานวนบุคลากรที่มากกว่า
โรงเรียนประถมศึกษาโดยทั่วไปและมีความพร้อมในหลายๆ ด้าน จะทา
ให้การบริหารเป็นไปอย่างมีระบบและสามารถกระจายอานาจหน้าที่ไปยัง
บุคลากรอย่างทั่วถึง ซึ่งก่อให้เกิดการบริหารงานอย่างมีส่วนร่วมในทุก
ภาคส่วนของสถานศึกษา แต่ข้อสาคัญประการหนึ่งที่ควรศึกษาคือ
โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาที่มีขนาดไม่เท่ากัน จะทาให้ครูใน
โรงเรียนจะมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหารโรงเรียนอยู่ใน
ระดับที่เท่าเทียมกันหรือไม่
บทที่ 1 บทนา
 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา (ต่อ)
ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการ
บริหารโรงเรียนของครูในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท โดยจะศึกษาตาม
ภารกิจการบริหารโรงเรียนทั้ง 4งานคือ งานวิชาการ งานบุคลากร งาน
งบประมาณ และงานบริหารทั่วไป ทั้งนี้เพื่อนาผลการวิจัยไปใช้เป็น
ข้อเสนอแนะและแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาการบริหารโรงเรียนขยาย
โอกาสทางการศึกษาให้เท่าเทียมกัน อันจะส่งผลโดยตรงต่อการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนให้ดียิ่งขึ้นต่อไป
บทที่ 1 บทนา
 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการบริหารโรงเรียนของ
ครูในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาชัยนาท
2. เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการบริหารโรงเรียน
ของครูในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท โดยจาแนกตามขนาดโรงเรียน
บทที่ 1 บทนา
 สมมุติฐานของการวิจัย
การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการบริหารโรงเรียนของครูในโรงเรียน
ขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ชัยนาท ที่มีขนาดสถานศึกษาต่างกันมีความแตกต่างกัน
บทที่ 1 บทนา
 กรอบแนวคิดในการวิจัย
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยมุ่งที่จะศึกษาการมีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจการบริหารโรงเรียนของครูในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท ซึ่งผู้วิจัยอาศัยกรอบ
แนวคิดของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องขอบข่ายและภารกิจการบริหารและ
จัดการสถานศึกษาที่เป็ นนิติบุคคล ได้แบ่งขอบข่ายและภารกิจของ
สถานศึกษาเป็น
4 งานหลักคือ
1. งานบริหารงานวิชาการ
2. งานบริหารงานงบประมาณ
3. งานบริหารงานบุคคล
4. งานบริหารทั่วไป
บทที่ 1 บทนา
 ขอบเขตของการวิจัย
1. ขอบเขตด้านเนื้อหา การวิจัยเรื่อง การมีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจการบริหารโรงเรียนของครูในโรงเรียนขยายโอกาสทาง
การศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท
โดยมีแนวคิดกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องขอบข่ายและภารกิจการ
บริหารและจัดการสถานศึกษาที่เป็นนิติบุคคล
บทที่ 1 บทนา
 ขอบเขตของการวิจัย
2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย
2.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ ครูที่ปฏิบัติงาน
ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาชัยนาท ปีการศึกษา 2555 จานวน 56โรงเรียน รวม 834 คน
2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูที่
ปฏิบัติงานในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ปีการศึกษา 2555 โดยใช้
ตารางเครจซี่และมอร์แกน ได้จานวน 263 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น
(Stratified random sampling) ตามขนาดของโรงเรียน
บทที่ 1 บทนา
 ขอบเขตของการวิจัย
3. ตัวแปรที่ศึกษา ประกอบด้วย
3.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ ขนาดของโรงเรียน แบ่งเป็น ขนาดเล็ก ขนาดกลางและ
ขนาดใหญ่
3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการบริหารโรงเรียนของ
ครู
ตามภารกิจการบริหารโรงเรียน 4 งาน คือ
3.2.1 งานบริหารวิชาการ
3.2.2 งานบริหารงบประมาณ
3.2.3 งานบริหารบุคคล
3.2.4 งานบริหารทั่วไป
บทที่ 1 บทนา
 ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย
ผู้วิจัยมุ่งหวังประโยชน์ที่จะได้รับจากการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ดังนี้
1. เป็นข้อมูลสารสนเทศในการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการ
บริหารโรงเรียนของครูในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท
2. ผลที่ได้จากการศึกษานาไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุง
การบริหารโรงเรียน และพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารแบบมีส่วนร่วม
ในการตัดสินใจของครูในการบริหารโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท
3. เป็นข้อมูลสารสนเทศในการวางแผนการพัฒนาคุณภาพการ
บริหารของโรงเรียนให้มีมาตรฐานการศึกษา เพื่อรองรับการประเมิน
ภายในและภายนอกองค์กรต่อไป
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การวิจัยเรื่องการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการบริหารโรงเรียน
ของครูในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่
เกี่ยวข้อง โดยมีสาระสาคัญเสนอดังนี้
1. การบริหารสถานศึกษา
1.1 ความหมายของการบริหารสถานศึกษา
1.2 ความสาคัญของการบริหารสถานศึกษา
1.3 ขอบข่ายการบริหารสถานศึกษา
1.3.1 การบริหารงานวิชาการ
1.3.2 การบริหารงานงบประมาณ
1.3.3 การบริหารงานบุคคล
1.3.4 การบริหารทั่วไป
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2. การมีส่วนร่วมในการบริหาร
2.1 ความหมายของการมีส่วนร่วม
2.2 ความสาคัญของการมีส่วนร่วม
2.3 แนวคิดทฤษฎีการมีส่วนร่วม
2.4 รูปแบบการมีส่วนร่วม
3. การตัดสินใจ
3.1 ความหมายของการตัดสินใจ
3.2 ความสาคัญของการตัดสินใจ
3.3 กระบวนการตัดสินใจ
3.4 แนวคิดทฤษฎีการตัดสินใจ
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
4. บริบทของสถานศึกษาในสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท
4.1 สภาพทั่วไป โครงสร้างและภารกิจ
4.2 จานวนครูแยกตามขนาดโรงเรียน
4.3 โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา
5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
5.1 งานวิจัยในประเทศ
5.2 งานวิจัยต่างประเทศ
6. สรุปกรอบแนวคิดในการวิจัย
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย
 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ครูที่ปฏิบัติงานใน
โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท ปีการศึกษา 2555 รวม 56 โรงเรียน
จานวน 834 คน
2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ครูที่ปฏิบัติงานใน
โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาชัยนาท ปีการศึกษา 2555 จานวน 263 คน จาก
ประชากรข้างต้น ซึ่งการกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง
เครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับค่าความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ได้กลุ่มตัวอย่าง
263 คน
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย
ขนาดสถานศึกษา จานวน จานวนกลุ่ม
สถานศึกษาขนาดเล็ก 159 50
สถานศึกษาขนาดกลาง 562 177
สถานศึกษาขนาดใหญ่ 113 36
รวมทั้งสิ้น 834 263
ตารางที่ 3.1 แสดงจานวนประชากรและกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามขนาดโรงเรียน
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย
 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้เป็นแบบสอบถาม โดยแบ่งออกเป็น
2 ตอน ได้แก่
ตอนที่ 1 เป็ นแบบสอบถามแบบตรวจสอบรายการ (checklist)
เกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามแบบเลือกตอบ จานวน 4 ข้อ
ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (rating
scale) ชนิด 5 ระดับ จานวน 45 ข้อ เกี่ยวกับสภาพการมีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจบริหารโรงเรียนประถมศึกษาซึ่งมี 4 ด้าน ดังนี้
ด้านที่ 1 งานวิชาการ จานวน 11 ข้อ
ด้านที่ 2 งานบริหารงบประมาณ จานวน 10 ข้อ
ด้านที่ 3 งานบริหารบุคคล จานวน 11 ข้อ
ด้านที่ 4 งานบริหารทั่วไป จานวน 13 ข้อ
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย
 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ผู้วิจัยได้ดาเนินการสร้างเครื่องมือตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. ศึกษาเอกสาร ตารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
2. วิเคราะห์ข้อมูลในการสร้างเครื่องมือเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจการบริหารโรงเรียน มี 4 ด้าน คือ ด้านการบริหารวิชาการ ด้านการ
บริหารงบประมาณ ด้านการบริหารบุคคล และด้านการบริหารทั่วไป
3. นาข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามาสร้างเครื่องมือ ตามคานิยาม
ของกระทรวงศึกษาธิการและวัตถุประสงค์เป็นหลัก จานวน 1 ชุด ประกอบด้วย
2 ตอน
4. นาเครื่องมือที่สร้างขึ้นเสนออาจารย์ที่ปรึกษาภาคนิพนธ์เพื่อ
ตรวจสอบ ความชัดเจนของคาถาม เพื่อให้ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขใน
ข้อบกพร่อง
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย
 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
5. นาเครื่องมือที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วให้ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 3 ท่าน
ตรวจสอบความเที่ยงตรง (validity) เพื่อหาความสอดคล้องในด้านโครงสร้าง
ความเที่ยงตรงในด้านเนื้อหา ความเหมาะสม ความชัดเจนและความถูกต้อง
ของการใช้ภาษาแล้วนามาหาค่าดัชนีความสอดคล้องของเครื่องมือ (index
of item objective congruence: IOC) โดยพิจารณาความเที่ยงตรงจากดัชนี
ความสอดคล้อง คือ เกณฑ์ค่าดัชนีความสอดคล้องมีค่าเท่ากับหรือมากกว่า
0.50 ขึ้นไป จึงถือว่าข้อคาถามนั้นมีความเที่ยงตรงตามเนื้อหา พบว่าได้ค่า
ดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 1 จานวน 43 ข้อ และค่าดัชนีความสอดคล้องกับ
เท่ากับ 0.67 จานวน 2 ข้อ
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย
 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
6. นาเครื่องมือที่ได้ปรับปรุงจากคาแนะนาของผู้ทรงคุณวุฒิและ
อาจารย์ที่ปรึกษา แล้วไปทดลองใช้ (tryout) กับครูที่ปฏิบัติงานในโรงเรียน
ขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สุพรรณบุรี เขต 3 ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จานวน 30 คน แล้วนาข้อมูลมา
วิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม (reliability) วิเคราะห์หาค่า
สัมประสิทธิ์แอลฟา (α- coefficient) ของครอนบัค (Cronbach) ได้ค่าความ
เชื่อมั่นที่ระดับ 0.98
7. นาผลที่ได้มาพิจารณาปรับปรุง ขอคาแนะนาจากอาจารย์ที่ปรึกษาภาค
นิพนธ์และจัดทาแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย
 การเก็บรวบรวมข้อมูล
ผู้วิจัยดาเนินการรวบรวมข้อมูลตามลาดับดังนี้
1. นาหนังสือขอความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากสานักงาน
บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรีถึงสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาชัยนาทเพื่อให้ผู้วิจัยได้เก็บข้อมูล
2. ผู้วิจัยดาเนินการส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์และประสานงานทาง
โทรศัพท์ในการติดตามเก็บแบบสอบถามจากโรงเรียนโดยตนเอง โดยผู้วิจัยส่ง
แบบสอบถามไปยังโรงเรียนเพื่อแจกให้กับครูที่ปฏิบัติการสอนในโรงเรียนที่เป็นกลุ่ม
ตัวอย่าง จานวน 263 ชุด โดยกาหนดเวลาในการตอบแบบสอบถามและกลับคืนให้ผู้วิจัย
ภายใน 7-15 วัน ทางไปรษณีย์และผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลเอง
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป
SPSS for windows สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลมีดังนี้
1. วิเคราะห์สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยใช้การแจกแจง
ความถี่ และการคานวณค่าร้อยละ
2. วิเคราะห์การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารโรงเรียนของครูตาม
ภารกิจการบริหารโรงเรียน 4 งาน โดยใช้การคานวณค่าเฉลี่ย (Mean) และค่า
ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) เป็นรายข้อ รายด้านและ
โดยรวม
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อมูล
3. วิเคราะห์เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหาร
โรงเรียนของครูในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท จาแนกตามขนาดโรงเรียนโดยการ
วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และเมื่อพบความ
แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ จึงทาการเปรียบเทียบเป็นรายคู่โดย
วิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffé)
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยได้ใช้สถิติในการศึกษา ดังนี้
1. สถิติพื้นฐาน
1.1 ค่าร้อยละ
1.2 ค่าเฉลี่ย
1.3 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
2. สถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
2.1 ค่าความเที่ยงตรงของเนื้อหา โดยคานวณค่าดัชนี
ความสอดคล้อง
2.2 ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับ โดย
คานวณค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบัค
3. สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือ การวิเคราะห์ความ
แปรปรวนทางเดียว และทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการของ
เชฟเฟ่
สรุปผลการวิจัย
ผลการวิจัยพบว่า
สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ
54.37 มีอายุ 31-40ปี จานวน 88 คน คิดเป็นร้อยละ 33.46
มีประสบการณ์ในการทางาน 11-20 ปี จานวน 87 คน คิดเป็นร้อยละ
33.08 และขนาดสถานศึกษาส่วนใหญ่เป็นแบบขนาดกลาง จานวน 107
โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 40.70
ตอนที่ 1
การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2
ผลการวิเคราะห์การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารโรงเรียนของครูใน
โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาชัยนาท โดยการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน เป็ นรายข้อและโดยรวมทุกด้าน
ผลการวิจัยพบว่า
การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารโรงเรียนของครูในโรงเรียนขยายโอกาสทาง
การศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท ในภาพรวม
มีส่วนร่วมในการตัดสินใจอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มี
ส่วนร่วมในการตัดสินใจอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลาดับตามค่าเฉลี่ย คือ ด้าน
บริหารงานบุคคล รองลงมาคือ ด้านการบริหารงานวิชาการ ด้านการบริหารงาน
ทั่วไป และด้านการบริหารงานงบประมาณตามลาดับ
ตอนที่ 3
เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารโรงเรียนของครูในโรงเรียนขยายโอกาส
ทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท จาแนกตามขนาด
สถานศึกษา
ผลการวิจัยพบว่า
การเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารโรงเรียนของครูใน
โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาชัยนาท จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา ในภาพรวม
และรายด้าน พบว่า ไม่มีความแตกต่างกัน
อภิปรายผลการวิจัย
1.การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารโรงเรียนของครูในโรงเรียนขยาย
โอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ชัยนาท ในภาพรวม มีส่วนร่วมในการตัดสินใจอยู่ในระดับมาก
สอดคล้องกับงานวิจัยของ
ภราดร พวงดี (2546, หน้า ง) ได้ศึกษาและเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมใน
การตัดสินใจบริหารงานโรงเรียนของครูประถมศึกษา สังกัดสานักงานการ
ประถมศึกษากิ่งอาเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี พบว่า การมีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจบริหารงานโรงเรียนของครู โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก
ชุมพล ไวทยานนท์ (2549, หน้า 70-80) ได้ศึกษาและเปรียบเทียบการมี
ส่วนร่วมในการตัดสินใจของครูต่อการบริหารงานโรงเรียน กลุ่มโรงเรียนบ่อทอง
3 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 2 พบว่า การมีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจบริหารงานโรงเรียนของครู โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก
อภิปรายผลการวิจัย
ด้านการบริหารงานวิชาการ ในภาพรวมมีส่วนร่วมในการตัดสินใจอยู่
ในระดับมาก
สอดคล้องกับงานวิจัยของ
เอกพัฒน์ เอกวงษา (2552) ศึกษาการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
บริหารงานวิชาการของครูโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา กลุ่มอารยธรรม
บูรพา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแก้วเขต 2 ผลการวิจัยพบว่า
การมีส่วนร่วมด้านการบริหารงานวิชาการ โดยภาพรวมมีการตัดสินใจอยู่ใน
ระดับมาก
อรุณศรี พัชราภรณ์ (2553) ศึกษาการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารงาน
ของหัวหน้างานในโรงเรียนประถมศึกษา อาเภอเมืองชลบุรี สังกัดสานักงานเขต
พื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมด้านการ
บริหารงานวิชาการ โดยภาพรวมมีการตัดสินใจอยู่ในระดับมาก
อภิปรายผลการวิจัย
ด้านการบริหารงานงบประมาณ ในภาพรวมมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
อยู่ในระดับมาก
สอดคล้องกับงานวิจัยของ
สถาพร ไกยชาติ (2546, หน้า 100-113) ได้ศึกษาและเปรียบเทียบการมี
ส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารโรงเรียนของครูในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด
สานักงานการประถมศึกษาจังหวัดนครราชสีมา ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วม
ด้านการบริหารงานงบประมาณ ในภาพรวม มีการตัดสินใจอยู่ในระดับมาก
ณัฐรฏา พวงจันทร์ (2552) ศึกษาการมีส่วนร่วมของครูในการบริหารโรงเรียน
ประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร สานักงานเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร
ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมด้านการบริหารงานงบประมาณ ในภาพรวม มี
การตัดสินใจอยู่ในระดับมาก
อภิปรายผลการวิจัย
ด้านการบริหารงานบุคคล ในภาพรวมมีส่วนร่วมในการตัดสินใจอยู่ในระดับ
มาก
สอดคล้องกับงานวิจัยของ
สถาพร ไกยชาติ (2546, หน้า 100-113) ได้ศึกษาและเปรียบเทียบการ
มีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารโรงเรียนของครูในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด
สานักงานการประถมศึกษาจังหวัดนครราชสีมา ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วน
ร่วมด้านการบริหารงานบุคคล ในภาพรวมมีการตัดสินใจอยู่ในระดับมาก
ณัฐรฏา พวงจันทร์ (2552) ศึกษาการมีส่วนร่วมของครูในการบริหาร
โรงเรียนประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร สานักงานเขตดุสิต
กรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมด้านการบริหารงานบุคคล ใน
ภาพรวมมีการตัดสินใจอยู่ในระดับมาก
อภิปรายผลการวิจัย
ด้านการบริหารงานทั่วไป ในภาพรวมมีส่วนร่วมในการตัดสินใจอยู่ในระดับ
มาก
สอดคล้องกับงานวิจัยของ
ชนศักดิ์ ธนโม้ (2554) ศึกษาเรื่องการมีส่วนร่วมของครูต่อการบริหารงาน
โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ในอาเภอนาแก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1 ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมด้านอ
การบริหารงานทั่วไป โดยภาพรวมมีการตัดสินใจอยู่ในระดับมาก
ทัศนีย์ ทองทวีวัฒน์ (2554) ได้ศึกษาการมีส่วนร่วมของครูในการบริหาร
โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา อาเภอตาพระยา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาสระแก้ว เขต 2 ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมด้านอการบริหารงาน
ทั่วไป โดยภาพรวมมีการตัดสินใจอยู่ในระดับมาก
อภิปรายผลการวิจัย
2.การเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารโรงเรียนของครูในโรงเรียนขยาย
โอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท จาแนกตาม
ขนาดสถานศึกษา ในภาพรวมและรายด้านพบว่า ไม่มีความแตกต่างกัน จึงไม่เป็ นไปตาม
สมมติฐานที่ตั้งไว้
สอดคล้องกับงานวิจัยของ
นฤมล พอดี (2549, หน้า 65-67) ได้ศึกษาและเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของครูใน
การบริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 พบว่า การมีส่วนร่วม
ของครูอยู่ในระดับมาก และเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมจาแนกตามขนาดของโรงเรียนพบว่าไม่
แตกต่างกัน
ชุมพล ไวทยานนท์ (2549, หน้า 70-80) ได้ศึกษาและเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมใน
การตัดสินใจของครูต่อการบริหารงานโรงเรียน กลุ่มโรงเรียนบ่อทอง 3 สังกัดสานักงานเขต
พื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 2 พบว่า เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของครูจาแนกตามขนาดของ
โรงเรียนพบว่ามีส่วนร่วมไม่แตกต่างกัน
อภิปรายผลการวิจัย
2.การเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารโรงเรียนของครูใน
โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาชัยนาท จาแนกตามขนาดสถานศึกษา ในภาพรวมและรายด้าน
พบว่า ไม่มีความแตกต่างกัน จึงไม่เป็ นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ (ต่อ)
สอดคล้องกับงานวิจัยของ
ไกรประสิทธิ์ พันสะอาด (2555) ได้ศึกษาการมีส่วนร่วมของครูผู้สอนในการ
บริหารโรงเรียนในอาเภอขลุง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี
เขต 2 พบว่าการมีส่วนร่วมของครูผู้สอนในการบริหารโรงเรียน จาแนกตาม
ขนาดโรงเรียนโดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
ข้อเสนอแนะในการทาวิจัย
1.ด้านการบริหารงานบุคคล
1.1 ผู้บริหารสถานศึกษาควรส่งเสริมการ
ประเมินให้มีวิทยฐานะที่สูงขึ้นของข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษาเพื่อเป็นเครื่องชี้วัดความสามารถ
และผลงานของครูได้
ข้อเสนอแนะในการทาวิจัย
2.ด้านการบริหารงบประมาณ
2.1 ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีการจัดทาแผน
งบประมาณ คาขอตั้งงบประมาณ และจัดทา
แผนปฏิบัติการการใช้เงินอย่างโปร่งใส
ข้อเสนอแนะในการทาวิจัย
3.ด้านการบริหารงานวิชาการ
3.1 ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีการพัฒนาและ
ส่งเสริมการใช้สื่อ เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อ
การศึกษา
ข้อเสนอแนะในการทาวิจัย
4.ด้านการบริหารทั่วไป
4.1 ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีการพัฒนาดูแล
อาคารสถานที่ สภาพแวดล้อมแหล่งเรียนรู้ และกาหนด
มาตรการรักษาความปลอดภัยในสถานศึกษาอย่าง
เคร่งครัด
1. ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดปัญหาการบริหารงาน
โดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาอื่นๆ
2. ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคในการบริหารงาน
โดยใช้โรงเรียนเป็ นฐานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพงานบริหารของครูใน
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
3. ควรมีการศึกษาการบริหารงานโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานที่ส่งผลต่อ
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตการศึกษา
อื่น ๆ
ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่อไป
ขอบคุณครับ...

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

6กลุ่มกิจการนักเรียน57
6กลุ่มกิจการนักเรียน576กลุ่มกิจการนักเรียน57
6กลุ่มกิจการนักเรียน57
somdetpittayakom school
 
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 25573โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
somdetpittayakom school
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Nang Ka Nangnarak
 
คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554
Nang Ka Nangnarak
 
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองรายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
Chamoi Buarabutthong
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638
soawaphat
 
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรBest practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
somdetpittayakom school
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
Wichai Likitponrak
 

Was ist angesagt? (19)

6กลุ่มกิจการนักเรียน57
6กลุ่มกิจการนักเรียน576กลุ่มกิจการนักเรียน57
6กลุ่มกิจการนักเรียน57
 
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 25573โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
 
ประเมินเศรษฐกิจพอเพียง57
ประเมินเศรษฐกิจพอเพียง57ประเมินเศรษฐกิจพอเพียง57
ประเมินเศรษฐกิจพอเพียง57
 
Stardardanuban54
Stardardanuban54Stardardanuban54
Stardardanuban54
 
รายงานผลการดำเนินงาน ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์
รายงานผลการดำเนินงาน ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์รายงานผลการดำเนินงาน ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์
รายงานผลการดำเนินงาน ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนแม่ลาน้อยดรุณสิกข์
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
1
11
1
 
คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554
 
5กลุ่มวิชาการ57
5กลุ่มวิชาการ575กลุ่มวิชาการ57
5กลุ่มวิชาการ57
 
รวมบท
รวมบทรวมบท
รวมบท
 
Paper tci 2
Paper tci 2Paper tci 2
Paper tci 2
 
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองรายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
 
1.หนึ่งแสนครูดีปู..[1]
1.หนึ่งแสนครูดีปู..[1]1.หนึ่งแสนครูดีปู..[1]
1.หนึ่งแสนครูดีปู..[1]
 
Thaijo2
Thaijo2Thaijo2
Thaijo2
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638
 
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรBest practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
 

Andere mochten auch

การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
maymymay
 
บริหารทรัพยากร3
บริหารทรัพยากร3บริหารทรัพยากร3
บริหารทรัพยากร3
Aom Chay
 
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
Krumai Kjna
 
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทนบทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
Sakda Hwankaew
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
Kittichai Pinlert
 

Andere mochten auch (18)

7
77
7
 
แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54
แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54
แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
บริหารทรัพยากร3
บริหารทรัพยากร3บริหารทรัพยากร3
บริหารทรัพยากร3
 
Chapter 5 การบริหารงานบุคคล
Chapter 5   การบริหารงานบุคคลChapter 5   การบริหารงานบุคคล
Chapter 5 การบริหารงานบุคคล
 
Job Description
Job DescriptionJob Description
Job Description
 
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
 
การสรรหาบุคลากร
การสรรหาบุคลากรการสรรหาบุคลากร
การสรรหาบุคลากร
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
 
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
เป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการ ปี2553
 
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
 
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningการวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
 
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทนบทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
บทที่8 การบริหารค่าตอบแทน
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 1ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 1
 
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
 
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
 

Ähnlich wie การค้นคว้าอิสระเรื่อง การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการบริหารสถานศึกษา ในโรงเรียนขยายโอก

หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
rampasri
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
Montree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
Montree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
Montree Jareeyanuwat
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
krupornpana55
 
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กแนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
Kittisak Amthow
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น
sasiton sangangam
 
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
Nirut Uthatip
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
Aiphie Sonia Haji
 
8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์
krutukSlide
 
รายงานผลการนิเทศแบบคลินิกในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนของครูโรงเรียน...
รายงานผลการนิเทศแบบคลินิกในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนของครูโรงเรียน...รายงานผลการนิเทศแบบคลินิกในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนของครูโรงเรียน...
รายงานผลการนิเทศแบบคลินิกในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนของครูโรงเรียน...
Wallapa Choothong
 

Ähnlich wie การค้นคว้าอิสระเรื่อง การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการบริหารสถานศึกษา ในโรงเรียนขยายโอก (20)

O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
 
แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64 แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64
 
คู่มือสภา
คู่มือสภาคู่มือสภา
คู่มือสภา
 
คู่มือสภา
คู่มือสภาคู่มือสภา
คู่มือสภา
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
Rub 1
Rub 1Rub 1
Rub 1
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
 
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กแนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น
 
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์
 
Document
DocumentDocument
Document
 
รายงานผลการนิเทศแบบคลินิกในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนของครูโรงเรียน...
รายงานผลการนิเทศแบบคลินิกในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนของครูโรงเรียน...รายงานผลการนิเทศแบบคลินิกในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนของครูโรงเรียน...
รายงานผลการนิเทศแบบคลินิกในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนของครูโรงเรียน...
 
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
 

การค้นคว้าอิสระเรื่อง การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการบริหารสถานศึกษา ในโรงเรียนขยายโอก

  • 1. การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการบริหารโรงเรียนของครู ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท PARTICIPATION IN DECISION MAKING OF SCHOOL ADMINISTRATION OF EXPANDED EDUCATIONAL SCHOOL TEACHERS UNDER CHAINAT PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE นายสรวิชญ์ สินสวาท รหัสนักศึกษา 55H61270224 สาขาการบริหารการศึกษา รุ่น 18 ห้อง 2
  • 2. บทที่ 1 บทนา  ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 กาหนดให้ กระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาให้โรงเรียนทั้งในด้าน วิชาการ งบประมาณ การบริหารบุคคล และการบริหารทั่วไป ซึ่งผู้บริหาร โรงเรียนจะมีบทบาทสาคัญในกระบวนการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ สถานศึกษา ครู นักเรียนและผู้ปกครอง ชุมชน ในการตัดสินใจบริหารและ จัดการศึกษา และในการบริหารสถานศึกษาแบบกระจายอานาจนั้น ผู้บริหารต้องให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ เพราะว่าการตัดสินใจแบบมีส่วนร่วมเป็นองค์ประกอบในการบริหาร การศึกษาที่สาคัญประการหนึ่ง
  • 3. บทที่ 1 บทนา  ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา (ต่อ) โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษามีจานวนบุคลากรที่มากกว่า โรงเรียนประถมศึกษาโดยทั่วไปและมีความพร้อมในหลายๆ ด้าน จะทา ให้การบริหารเป็นไปอย่างมีระบบและสามารถกระจายอานาจหน้าที่ไปยัง บุคลากรอย่างทั่วถึง ซึ่งก่อให้เกิดการบริหารงานอย่างมีส่วนร่วมในทุก ภาคส่วนของสถานศึกษา แต่ข้อสาคัญประการหนึ่งที่ควรศึกษาคือ โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาที่มีขนาดไม่เท่ากัน จะทาให้ครูใน โรงเรียนจะมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหารโรงเรียนอยู่ใน ระดับที่เท่าเทียมกันหรือไม่
  • 4. บทที่ 1 บทนา  ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา (ต่อ) ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการ บริหารโรงเรียนของครูในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท โดยจะศึกษาตาม ภารกิจการบริหารโรงเรียนทั้ง 4งานคือ งานวิชาการ งานบุคลากร งาน งบประมาณ และงานบริหารทั่วไป ทั้งนี้เพื่อนาผลการวิจัยไปใช้เป็น ข้อเสนอแนะและแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาการบริหารโรงเรียนขยาย โอกาสทางการศึกษาให้เท่าเทียมกัน อันจะส่งผลโดยตรงต่อการพัฒนา คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนให้ดียิ่งขึ้นต่อไป
  • 5. บทที่ 1 บทนา  วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการบริหารโรงเรียนของ ครูในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาชัยนาท 2. เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการบริหารโรงเรียน ของครูในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท โดยจาแนกตามขนาดโรงเรียน
  • 6. บทที่ 1 บทนา  สมมุติฐานของการวิจัย การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการบริหารโรงเรียนของครูในโรงเรียน ขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ชัยนาท ที่มีขนาดสถานศึกษาต่างกันมีความแตกต่างกัน
  • 7. บทที่ 1 บทนา  กรอบแนวคิดในการวิจัย การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยมุ่งที่จะศึกษาการมีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจการบริหารโรงเรียนของครูในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท ซึ่งผู้วิจัยอาศัยกรอบ แนวคิดของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องขอบข่ายและภารกิจการบริหารและ จัดการสถานศึกษาที่เป็ นนิติบุคคล ได้แบ่งขอบข่ายและภารกิจของ สถานศึกษาเป็น 4 งานหลักคือ 1. งานบริหารงานวิชาการ 2. งานบริหารงานงบประมาณ 3. งานบริหารงานบุคคล 4. งานบริหารทั่วไป
  • 8. บทที่ 1 บทนา  ขอบเขตของการวิจัย 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา การวิจัยเรื่อง การมีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจการบริหารโรงเรียนของครูในโรงเรียนขยายโอกาสทาง การศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท โดยมีแนวคิดกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องขอบข่ายและภารกิจการ บริหารและจัดการสถานศึกษาที่เป็นนิติบุคคล
  • 9. บทที่ 1 บทนา  ขอบเขตของการวิจัย 2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย 2.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ ครูที่ปฏิบัติงาน ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาชัยนาท ปีการศึกษา 2555 จานวน 56โรงเรียน รวม 834 คน 2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูที่ ปฏิบัติงานในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ปีการศึกษา 2555 โดยใช้ ตารางเครจซี่และมอร์แกน ได้จานวน 263 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling) ตามขนาดของโรงเรียน
  • 10. บทที่ 1 บทนา  ขอบเขตของการวิจัย 3. ตัวแปรที่ศึกษา ประกอบด้วย 3.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ ขนาดของโรงเรียน แบ่งเป็น ขนาดเล็ก ขนาดกลางและ ขนาดใหญ่ 3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการบริหารโรงเรียนของ ครู ตามภารกิจการบริหารโรงเรียน 4 งาน คือ 3.2.1 งานบริหารวิชาการ 3.2.2 งานบริหารงบประมาณ 3.2.3 งานบริหารบุคคล 3.2.4 งานบริหารทั่วไป
  • 11. บทที่ 1 บทนา  ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย ผู้วิจัยมุ่งหวังประโยชน์ที่จะได้รับจากการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ดังนี้ 1. เป็นข้อมูลสารสนเทศในการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการ บริหารโรงเรียนของครูในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท 2. ผลที่ได้จากการศึกษานาไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุง การบริหารโรงเรียน และพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารแบบมีส่วนร่วม ในการตัดสินใจของครูในการบริหารโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท 3. เป็นข้อมูลสารสนเทศในการวางแผนการพัฒนาคุณภาพการ บริหารของโรงเรียนให้มีมาตรฐานการศึกษา เพื่อรองรับการประเมิน ภายในและภายนอกองค์กรต่อไป
  • 12. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การวิจัยเรื่องการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการบริหารโรงเรียน ของครูในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง โดยมีสาระสาคัญเสนอดังนี้ 1. การบริหารสถานศึกษา 1.1 ความหมายของการบริหารสถานศึกษา 1.2 ความสาคัญของการบริหารสถานศึกษา 1.3 ขอบข่ายการบริหารสถานศึกษา 1.3.1 การบริหารงานวิชาการ 1.3.2 การบริหารงานงบประมาณ 1.3.3 การบริหารงานบุคคล 1.3.4 การบริหารทั่วไป
  • 13. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2. การมีส่วนร่วมในการบริหาร 2.1 ความหมายของการมีส่วนร่วม 2.2 ความสาคัญของการมีส่วนร่วม 2.3 แนวคิดทฤษฎีการมีส่วนร่วม 2.4 รูปแบบการมีส่วนร่วม 3. การตัดสินใจ 3.1 ความหมายของการตัดสินใจ 3.2 ความสาคัญของการตัดสินใจ 3.3 กระบวนการตัดสินใจ 3.4 แนวคิดทฤษฎีการตัดสินใจ
  • 14. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4. บริบทของสถานศึกษาในสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท 4.1 สภาพทั่วไป โครงสร้างและภารกิจ 4.2 จานวนครูแยกตามขนาดโรงเรียน 4.3 โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา 5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5.1 งานวิจัยในประเทศ 5.2 งานวิจัยต่างประเทศ 6. สรุปกรอบแนวคิดในการวิจัย
  • 15. บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย  ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ครูที่ปฏิบัติงานใน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท ปีการศึกษา 2555 รวม 56 โรงเรียน จานวน 834 คน 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ครูที่ปฏิบัติงานใน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาชัยนาท ปีการศึกษา 2555 จานวน 263 คน จาก ประชากรข้างต้น ซึ่งการกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง เครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับค่าความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ได้กลุ่มตัวอย่าง 263 คน
  • 16. บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย ขนาดสถานศึกษา จานวน จานวนกลุ่ม สถานศึกษาขนาดเล็ก 159 50 สถานศึกษาขนาดกลาง 562 177 สถานศึกษาขนาดใหญ่ 113 36 รวมทั้งสิ้น 834 263 ตารางที่ 3.1 แสดงจานวนประชากรและกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามขนาดโรงเรียน
  • 17. บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้เป็นแบบสอบถาม โดยแบ่งออกเป็น 2 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 เป็ นแบบสอบถามแบบตรวจสอบรายการ (checklist) เกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามแบบเลือกตอบ จานวน 4 ข้อ ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (rating scale) ชนิด 5 ระดับ จานวน 45 ข้อ เกี่ยวกับสภาพการมีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจบริหารโรงเรียนประถมศึกษาซึ่งมี 4 ด้าน ดังนี้ ด้านที่ 1 งานวิชาการ จานวน 11 ข้อ ด้านที่ 2 งานบริหารงบประมาณ จานวน 10 ข้อ ด้านที่ 3 งานบริหารบุคคล จานวน 11 ข้อ ด้านที่ 4 งานบริหารทั่วไป จานวน 13 ข้อ
  • 18. บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย  การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ผู้วิจัยได้ดาเนินการสร้างเครื่องมือตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. ศึกษาเอกสาร ตารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย 2. วิเคราะห์ข้อมูลในการสร้างเครื่องมือเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจการบริหารโรงเรียน มี 4 ด้าน คือ ด้านการบริหารวิชาการ ด้านการ บริหารงบประมาณ ด้านการบริหารบุคคล และด้านการบริหารทั่วไป 3. นาข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามาสร้างเครื่องมือ ตามคานิยาม ของกระทรวงศึกษาธิการและวัตถุประสงค์เป็นหลัก จานวน 1 ชุด ประกอบด้วย 2 ตอน 4. นาเครื่องมือที่สร้างขึ้นเสนออาจารย์ที่ปรึกษาภาคนิพนธ์เพื่อ ตรวจสอบ ความชัดเจนของคาถาม เพื่อให้ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขใน ข้อบกพร่อง
  • 19. บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย  การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 5. นาเครื่องมือที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วให้ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 3 ท่าน ตรวจสอบความเที่ยงตรง (validity) เพื่อหาความสอดคล้องในด้านโครงสร้าง ความเที่ยงตรงในด้านเนื้อหา ความเหมาะสม ความชัดเจนและความถูกต้อง ของการใช้ภาษาแล้วนามาหาค่าดัชนีความสอดคล้องของเครื่องมือ (index of item objective congruence: IOC) โดยพิจารณาความเที่ยงตรงจากดัชนี ความสอดคล้อง คือ เกณฑ์ค่าดัชนีความสอดคล้องมีค่าเท่ากับหรือมากกว่า 0.50 ขึ้นไป จึงถือว่าข้อคาถามนั้นมีความเที่ยงตรงตามเนื้อหา พบว่าได้ค่า ดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 1 จานวน 43 ข้อ และค่าดัชนีความสอดคล้องกับ เท่ากับ 0.67 จานวน 2 ข้อ
  • 20. บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย  การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 6. นาเครื่องมือที่ได้ปรับปรุงจากคาแนะนาของผู้ทรงคุณวุฒิและ อาจารย์ที่ปรึกษา แล้วไปทดลองใช้ (tryout) กับครูที่ปฏิบัติงานในโรงเรียน ขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 3 ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จานวน 30 คน แล้วนาข้อมูลมา วิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม (reliability) วิเคราะห์หาค่า สัมประสิทธิ์แอลฟา (α- coefficient) ของครอนบัค (Cronbach) ได้ค่าความ เชื่อมั่นที่ระดับ 0.98 7. นาผลที่ได้มาพิจารณาปรับปรุง ขอคาแนะนาจากอาจารย์ที่ปรึกษาภาค นิพนธ์และจัดทาแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์
  • 21. บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย  การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยดาเนินการรวบรวมข้อมูลตามลาดับดังนี้ 1. นาหนังสือขอความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากสานักงาน บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรีถึงสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาชัยนาทเพื่อให้ผู้วิจัยได้เก็บข้อมูล 2. ผู้วิจัยดาเนินการส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์และประสานงานทาง โทรศัพท์ในการติดตามเก็บแบบสอบถามจากโรงเรียนโดยตนเอง โดยผู้วิจัยส่ง แบบสอบถามไปยังโรงเรียนเพื่อแจกให้กับครูที่ปฏิบัติการสอนในโรงเรียนที่เป็นกลุ่ม ตัวอย่าง จานวน 263 ชุด โดยกาหนดเวลาในการตอบแบบสอบถามและกลับคืนให้ผู้วิจัย ภายใน 7-15 วัน ทางไปรษณีย์และผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลเอง
  • 22. บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป SPSS for windows สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลมีดังนี้ 1. วิเคราะห์สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยใช้การแจกแจง ความถี่ และการคานวณค่าร้อยละ 2. วิเคราะห์การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารโรงเรียนของครูตาม ภารกิจการบริหารโรงเรียน 4 งาน โดยใช้การคานวณค่าเฉลี่ย (Mean) และค่า ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) เป็นรายข้อ รายด้านและ โดยรวม
  • 23. บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล 3. วิเคราะห์เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหาร โรงเรียนของครูในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท จาแนกตามขนาดโรงเรียนโดยการ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และเมื่อพบความ แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ จึงทาการเปรียบเทียบเป็นรายคู่โดย วิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffé)
  • 25. บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 2. สถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 2.1 ค่าความเที่ยงตรงของเนื้อหา โดยคานวณค่าดัชนี ความสอดคล้อง 2.2 ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับ โดย คานวณค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบัค 3. สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือ การวิเคราะห์ความ แปรปรวนทางเดียว และทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการของ เชฟเฟ่
  • 26. สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 54.37 มีอายุ 31-40ปี จานวน 88 คน คิดเป็นร้อยละ 33.46 มีประสบการณ์ในการทางาน 11-20 ปี จานวน 87 คน คิดเป็นร้อยละ 33.08 และขนาดสถานศึกษาส่วนใหญ่เป็นแบบขนาดกลาง จานวน 107 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 40.70 ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
  • 27. ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารโรงเรียนของครูใน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาชัยนาท โดยการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน เป็ นรายข้อและโดยรวมทุกด้าน ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารโรงเรียนของครูในโรงเรียนขยายโอกาสทาง การศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท ในภาพรวม มีส่วนร่วมในการตัดสินใจอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มี ส่วนร่วมในการตัดสินใจอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลาดับตามค่าเฉลี่ย คือ ด้าน บริหารงานบุคคล รองลงมาคือ ด้านการบริหารงานวิชาการ ด้านการบริหารงาน ทั่วไป และด้านการบริหารงานงบประมาณตามลาดับ
  • 28. ตอนที่ 3 เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารโรงเรียนของครูในโรงเรียนขยายโอกาส ทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท จาแนกตามขนาด สถานศึกษา ผลการวิจัยพบว่า การเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารโรงเรียนของครูใน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาชัยนาท จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา ในภาพรวม และรายด้าน พบว่า ไม่มีความแตกต่างกัน
  • 29. อภิปรายผลการวิจัย 1.การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารโรงเรียนของครูในโรงเรียนขยาย โอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ชัยนาท ในภาพรวม มีส่วนร่วมในการตัดสินใจอยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับงานวิจัยของ ภราดร พวงดี (2546, หน้า ง) ได้ศึกษาและเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมใน การตัดสินใจบริหารงานโรงเรียนของครูประถมศึกษา สังกัดสานักงานการ ประถมศึกษากิ่งอาเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี พบว่า การมีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจบริหารงานโรงเรียนของครู โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก ชุมพล ไวทยานนท์ (2549, หน้า 70-80) ได้ศึกษาและเปรียบเทียบการมี ส่วนร่วมในการตัดสินใจของครูต่อการบริหารงานโรงเรียน กลุ่มโรงเรียนบ่อทอง 3 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 2 พบว่า การมีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจบริหารงานโรงเรียนของครู โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก
  • 30. อภิปรายผลการวิจัย ด้านการบริหารงานวิชาการ ในภาพรวมมีส่วนร่วมในการตัดสินใจอยู่ ในระดับมาก สอดคล้องกับงานวิจัยของ เอกพัฒน์ เอกวงษา (2552) ศึกษาการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ บริหารงานวิชาการของครูโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา กลุ่มอารยธรรม บูรพา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแก้วเขต 2 ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมด้านการบริหารงานวิชาการ โดยภาพรวมมีการตัดสินใจอยู่ใน ระดับมาก อรุณศรี พัชราภรณ์ (2553) ศึกษาการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารงาน ของหัวหน้างานในโรงเรียนประถมศึกษา อาเภอเมืองชลบุรี สังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมด้านการ บริหารงานวิชาการ โดยภาพรวมมีการตัดสินใจอยู่ในระดับมาก
  • 31. อภิปรายผลการวิจัย ด้านการบริหารงานงบประมาณ ในภาพรวมมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ อยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับงานวิจัยของ สถาพร ไกยชาติ (2546, หน้า 100-113) ได้ศึกษาและเปรียบเทียบการมี ส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารโรงเรียนของครูในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด สานักงานการประถมศึกษาจังหวัดนครราชสีมา ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วม ด้านการบริหารงานงบประมาณ ในภาพรวม มีการตัดสินใจอยู่ในระดับมาก ณัฐรฏา พวงจันทร์ (2552) ศึกษาการมีส่วนร่วมของครูในการบริหารโรงเรียน ประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร สานักงานเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมด้านการบริหารงานงบประมาณ ในภาพรวม มี การตัดสินใจอยู่ในระดับมาก
  • 32. อภิปรายผลการวิจัย ด้านการบริหารงานบุคคล ในภาพรวมมีส่วนร่วมในการตัดสินใจอยู่ในระดับ มาก สอดคล้องกับงานวิจัยของ สถาพร ไกยชาติ (2546, หน้า 100-113) ได้ศึกษาและเปรียบเทียบการ มีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารโรงเรียนของครูในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด สานักงานการประถมศึกษาจังหวัดนครราชสีมา ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วน ร่วมด้านการบริหารงานบุคคล ในภาพรวมมีการตัดสินใจอยู่ในระดับมาก ณัฐรฏา พวงจันทร์ (2552) ศึกษาการมีส่วนร่วมของครูในการบริหาร โรงเรียนประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร สานักงานเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมด้านการบริหารงานบุคคล ใน ภาพรวมมีการตัดสินใจอยู่ในระดับมาก
  • 33. อภิปรายผลการวิจัย ด้านการบริหารงานทั่วไป ในภาพรวมมีส่วนร่วมในการตัดสินใจอยู่ในระดับ มาก สอดคล้องกับงานวิจัยของ ชนศักดิ์ ธนโม้ (2554) ศึกษาเรื่องการมีส่วนร่วมของครูต่อการบริหารงาน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ในอาเภอนาแก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1 ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมด้านอ การบริหารงานทั่วไป โดยภาพรวมมีการตัดสินใจอยู่ในระดับมาก ทัศนีย์ ทองทวีวัฒน์ (2554) ได้ศึกษาการมีส่วนร่วมของครูในการบริหาร โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา อาเภอตาพระยา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาสระแก้ว เขต 2 ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมด้านอการบริหารงาน ทั่วไป โดยภาพรวมมีการตัดสินใจอยู่ในระดับมาก
  • 34. อภิปรายผลการวิจัย 2.การเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารโรงเรียนของครูในโรงเรียนขยาย โอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยนาท จาแนกตาม ขนาดสถานศึกษา ในภาพรวมและรายด้านพบว่า ไม่มีความแตกต่างกัน จึงไม่เป็ นไปตาม สมมติฐานที่ตั้งไว้ สอดคล้องกับงานวิจัยของ นฤมล พอดี (2549, หน้า 65-67) ได้ศึกษาและเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของครูใน การบริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 พบว่า การมีส่วนร่วม ของครูอยู่ในระดับมาก และเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมจาแนกตามขนาดของโรงเรียนพบว่าไม่ แตกต่างกัน ชุมพล ไวทยานนท์ (2549, หน้า 70-80) ได้ศึกษาและเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมใน การตัดสินใจของครูต่อการบริหารงานโรงเรียน กลุ่มโรงเรียนบ่อทอง 3 สังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 2 พบว่า เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของครูจาแนกตามขนาดของ โรงเรียนพบว่ามีส่วนร่วมไม่แตกต่างกัน
  • 35. อภิปรายผลการวิจัย 2.การเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารโรงเรียนของครูใน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาชัยนาท จาแนกตามขนาดสถานศึกษา ในภาพรวมและรายด้าน พบว่า ไม่มีความแตกต่างกัน จึงไม่เป็ นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ (ต่อ) สอดคล้องกับงานวิจัยของ ไกรประสิทธิ์ พันสะอาด (2555) ได้ศึกษาการมีส่วนร่วมของครูผู้สอนในการ บริหารโรงเรียนในอาเภอขลุง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 พบว่าการมีส่วนร่วมของครูผู้สอนในการบริหารโรงเรียน จาแนกตาม ขนาดโรงเรียนโดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
  • 40. 1. ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดปัญหาการบริหารงาน โดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาอื่นๆ 2. ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคในการบริหารงาน โดยใช้โรงเรียนเป็ นฐานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพงานบริหารของครูใน สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. ควรมีการศึกษาการบริหารงานโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานที่ส่งผลต่อ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตการศึกษา อื่น ๆ ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่อไป