SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 12
รายงานการวิจัย

 การพัฒนาดัชนีการเกษียณอายุ
ของข้าราชการและพนักงานของรัฐ

         โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์
   ภาควิชาปรัชญาและศูนย์จริยธรรม
      วิทยาศาสตร์และเทคโลยี
          คณะอักษรศาสตร์
      จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เวทีวิชาการมโนทัศน์ใหม่ผู้สงอายุ
                             ู

“เกษียณอายุราชการ ๖๕ ปี:
   ถึงเวลาแล้วหรือยัง?”
  วันจันทร์ที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๕
     โรงแรมรามา การ์เดนส์ กทม.
หัวข้อนำาเสนอ

    เบืองหลังและที่มาที่ไปของงานวิจัย
       ้

    ข้อเสนอแนะหลัก

    เหตุใดจึงควรขยายอายุเกษียณไปเป็น ๖๕ (หรือ
    มากกว่า)

    ต่างประเทศมีการยกเลิกการบังคับเกษียณอายุไป
    แล้ว ประเทศไทยควรตามอย่างหรือไม่?
เหตุใดจึงมาเป็นงานวิจัยชิ้นนี้?
วิธีการศึกษาและผลที่ได้รับ
เหตุใดจึงควรเกษียณที่ ๖๕?

    ปัจจุบันเราเห็นคนอายุ ๖๐ ถึง ๖๕ ทำางานกัน
    อย่างขยันขันแข็งมีประสิทธิภาพเป็นจำานวนมาก

    ธรรมชาติของการทำางานของข้าราชการกับ
    พนักงานของรัฐส่วนใหญ่ไม่ใช่การใช้แรงงาน
    ทางกาย แต่เป็นการใช้ความรู้ความคิด
เหตุใดจึงควรเกษียณที่ ๖๕?

    ข้าราชการที่ใช้ความรู้ในระดับสูงมาก เช่น
    อาจารย์มหาวิทยาลัย ผูพิพากษา ผู้ทำางานใน
                           ้
    ระดับนโยบาย ควรเกษียณที่อายุ ๗๐

    วิชาชีพที่ไม่มีการเกษียณอายุ - พระภิกษุ
    ข้าราชการในพระองค์ องคมนตรี ข้าราชการ
    การเมือง (แล้วทำาไมต้องบังคับข้าราชการ
    ธรรมดาให้เกษียณที่ ๖๐?)
เหตุใดจึงควรเกษียณที่ ๖๕?

    สถานะทางการเงินของรัฐ – ถ้าคนอายุ ๖๐ – ๖๕
    ยังทำางานได้ดี แล้วต้องเกษียณอายุไป ก็
    หมายความว่ารัฐต้องจ่ายบำานาญให้คนกลุ่มนี้ไป
    ฟรีๆโดยคนกลุ่มนี้ไม่ต้องทำางานให้เป็นประโยชน์
    แก่ราชการอีกต่อไป

    ในสังคมที่คนวัยทำางานปกติมีน้อยลงแต่คนสูงวัย
    มีมากขึ้น ภาษีที่รัฐจะได้รับจากคนกลุ่มแรกจะลด
    น้อยลง แต่ภาระใช้จ่ายจะเพิ่มมากขึ้น
ข้อโต้แย้ง

    ถ้าให้เกษียณอายุมากๆแล้วคนข้างล่างก็ไม่ได้ขึ้น
    ตำาแหน่งซักที
        −   ก็รอกันไปเป็นทอดๆ
        −   กำาหนดว่าตำาแหน่งบริหารมีวาระชั่วคราว
        −   ต้องพิจารณาความสามารถของคนให้เหมาะ
            กันงาน ไม่ใช่ทกคนทีจะเหมาะแก่ตำาแหน่ง
                           ุ   ่
            บริหารระดับสูง
การยกเลิกการบังคับเกษียณ

    หลายๆประเทศก็เหมือนกับประเทศไทย คือมีการบังคับอายุ
    เกษียณ (mandatory retirement age) แต่หลายประเทศ
    กำาหนดอายุมากกว่าไทย

    การยกเลิกการบังคับเกษียณก็คือไม่บังคับว่าพอถึงอายุ
    เท่านั้นเท่านี้ ก็จะทำางานไม่ได้อีกต่อไป (เกษียณอายุ)

    หลายคนเชื่อว่าการบังคับเช่นนี้เป็นการเลือกปฏิบัติโดย
    เกณฑ์อายุ (age discrimination)

    ถ้าใครยังทำางานตามเงื่อนไขได้ดี ก็ไม่มีเหตุผลจะให้เขาออก
    เพียงเพราะอายุเขาเป็นเท่านั้นเท่านี้
การยกเลิกการบังคับเกษียณ

    เหตุใดข้าราชการบางประเภท (การเมืองและอื่น) จึงไม่มี
    เกษียณอายุ ทังๆที่ความรับผิดชอบสูงมาก?
                 ้

    ก็แสดงว่ามีคนจำานวนหนึ่งที่มความสามารถทำางานไปได้
                                ี
    อย่างดี แม้อายุจะมากขึ้น

    ถ้าไม่มการบังคับเกษียณ คนทีทำางานก็จะทำางานไปจน
             ี                  ่
    รู้สึกว่าตนเองพอแล้ว หรืออยากจะเกษียณตัวเองแล้ว ก็
    หยุดทำางานแล้วรับบำานาญตั้งแต่ตอนนัน
                                       ้

    ในต่างประเทศอาจารย์ที่สอนนักศึกษาจนอายุมากกว่า
    ๗๐ มีเป็นจำานวนมาก
แต่อย่างไรก็ตาม ในช่วงเริ่มแรกนี้ รัฐบาล
ควรเริ่มขยายอายุเกษียณไปที่ ๖๕ ก่อน แล้ว
ค่อยพิจารณายกเลิกการเกษียณอายุสำาหรับ
ข้าราชการและพนักงานบางประเภทไปก่อน
   โดยเฉพาะตำาแหน่งงานที่อาศัยความรู้
          ความสามารถสูงมากๆ

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von Soraj Hongladarom

Ethical issues in e-learning
Ethical issues in e-learningEthical issues in e-learning
Ethical issues in e-learning
Soraj Hongladarom
 
Introducing the Center for Ethics of Science and Technology
Introducing the Center for Ethics of Science and TechnologyIntroducing the Center for Ethics of Science and Technology
Introducing the Center for Ethics of Science and Technology
Soraj Hongladarom
 

Mehr von Soraj Hongladarom (20)

ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้นชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
 
New law on surrogacy in thailand
New law on surrogacy in thailandNew law on surrogacy in thailand
New law on surrogacy in thailand
 
Big data and the sharing economy
Big data and the sharing economyBig data and the sharing economy
Big data and the sharing economy
 
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care Robots
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care RobotsEthical and Legal Dimensions of Elderly Care Robots
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care Robots
 
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัยธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
 
ปรัชญาภาษา
ปรัชญาภาษาปรัชญาภาษา
ปรัชญาภาษา
 
Human dignity
Human dignityHuman dignity
Human dignity
 
ประชาธิปไตยในโรงเรียน
ประชาธิปไตยในโรงเรียนประชาธิปไตยในโรงเรียน
ประชาธิปไตยในโรงเรียน
 
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์
 
Ethics of Gestational Surrogacy
Ethics of Gestational SurrogacyEthics of Gestational Surrogacy
Ethics of Gestational Surrogacy
 
ความดีในแบบเรียน
ความดีในแบบเรียนความดีในแบบเรียน
ความดีในแบบเรียน
 
Thai science bitec
Thai science   bitecThai science   bitec
Thai science bitec
 
เขียนงานวิชาการ
เขียนงานวิชาการเขียนงานวิชาการ
เขียนงานวิชาการ
 
Ethical issues in e-learning
Ethical issues in e-learningEthical issues in e-learning
Ethical issues in e-learning
 
Two concepts liberty
Two concepts libertyTwo concepts liberty
Two concepts liberty
 
Disenhancement Problem
Disenhancement ProblemDisenhancement Problem
Disenhancement Problem
 
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่าสื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
 
Introducing the Center for Ethics of Science and Technology
Introducing the Center for Ethics of Science and TechnologyIntroducing the Center for Ethics of Science and Technology
Introducing the Center for Ethics of Science and Technology
 
Law dem-habermas
Law dem-habermasLaw dem-habermas
Law dem-habermas
 
Facebook and thai politics
Facebook and thai politicsFacebook and thai politics
Facebook and thai politics
 

พัฒนาดัชนีเกษียณ

  • 1. รายงานการวิจัย การพัฒนาดัชนีการเกษียณอายุ ของข้าราชการและพนักงานของรัฐ โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์ ภาควิชาปรัชญาและศูนย์จริยธรรม วิทยาศาสตร์และเทคโลยี คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 2. เวทีวิชาการมโนทัศน์ใหม่ผู้สงอายุ ู “เกษียณอายุราชการ ๖๕ ปี: ถึงเวลาแล้วหรือยัง?” วันจันทร์ที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ โรงแรมรามา การ์เดนส์ กทม.
  • 3. หัวข้อนำาเสนอ  เบืองหลังและที่มาที่ไปของงานวิจัย ้  ข้อเสนอแนะหลัก  เหตุใดจึงควรขยายอายุเกษียณไปเป็น ๖๕ (หรือ มากกว่า)  ต่างประเทศมีการยกเลิกการบังคับเกษียณอายุไป แล้ว ประเทศไทยควรตามอย่างหรือไม่?
  • 6. เหตุใดจึงควรเกษียณที่ ๖๕?  ปัจจุบันเราเห็นคนอายุ ๖๐ ถึง ๖๕ ทำางานกัน อย่างขยันขันแข็งมีประสิทธิภาพเป็นจำานวนมาก  ธรรมชาติของการทำางานของข้าราชการกับ พนักงานของรัฐส่วนใหญ่ไม่ใช่การใช้แรงงาน ทางกาย แต่เป็นการใช้ความรู้ความคิด
  • 7. เหตุใดจึงควรเกษียณที่ ๖๕?  ข้าราชการที่ใช้ความรู้ในระดับสูงมาก เช่น อาจารย์มหาวิทยาลัย ผูพิพากษา ผู้ทำางานใน ้ ระดับนโยบาย ควรเกษียณที่อายุ ๗๐  วิชาชีพที่ไม่มีการเกษียณอายุ - พระภิกษุ ข้าราชการในพระองค์ องคมนตรี ข้าราชการ การเมือง (แล้วทำาไมต้องบังคับข้าราชการ ธรรมดาให้เกษียณที่ ๖๐?)
  • 8. เหตุใดจึงควรเกษียณที่ ๖๕?  สถานะทางการเงินของรัฐ – ถ้าคนอายุ ๖๐ – ๖๕ ยังทำางานได้ดี แล้วต้องเกษียณอายุไป ก็ หมายความว่ารัฐต้องจ่ายบำานาญให้คนกลุ่มนี้ไป ฟรีๆโดยคนกลุ่มนี้ไม่ต้องทำางานให้เป็นประโยชน์ แก่ราชการอีกต่อไป  ในสังคมที่คนวัยทำางานปกติมีน้อยลงแต่คนสูงวัย มีมากขึ้น ภาษีที่รัฐจะได้รับจากคนกลุ่มแรกจะลด น้อยลง แต่ภาระใช้จ่ายจะเพิ่มมากขึ้น
  • 9. ข้อโต้แย้ง  ถ้าให้เกษียณอายุมากๆแล้วคนข้างล่างก็ไม่ได้ขึ้น ตำาแหน่งซักที − ก็รอกันไปเป็นทอดๆ − กำาหนดว่าตำาแหน่งบริหารมีวาระชั่วคราว − ต้องพิจารณาความสามารถของคนให้เหมาะ กันงาน ไม่ใช่ทกคนทีจะเหมาะแก่ตำาแหน่ง ุ ่ บริหารระดับสูง
  • 10. การยกเลิกการบังคับเกษียณ  หลายๆประเทศก็เหมือนกับประเทศไทย คือมีการบังคับอายุ เกษียณ (mandatory retirement age) แต่หลายประเทศ กำาหนดอายุมากกว่าไทย  การยกเลิกการบังคับเกษียณก็คือไม่บังคับว่าพอถึงอายุ เท่านั้นเท่านี้ ก็จะทำางานไม่ได้อีกต่อไป (เกษียณอายุ)  หลายคนเชื่อว่าการบังคับเช่นนี้เป็นการเลือกปฏิบัติโดย เกณฑ์อายุ (age discrimination)  ถ้าใครยังทำางานตามเงื่อนไขได้ดี ก็ไม่มีเหตุผลจะให้เขาออก เพียงเพราะอายุเขาเป็นเท่านั้นเท่านี้
  • 11. การยกเลิกการบังคับเกษียณ  เหตุใดข้าราชการบางประเภท (การเมืองและอื่น) จึงไม่มี เกษียณอายุ ทังๆที่ความรับผิดชอบสูงมาก? ้  ก็แสดงว่ามีคนจำานวนหนึ่งที่มความสามารถทำางานไปได้ ี อย่างดี แม้อายุจะมากขึ้น  ถ้าไม่มการบังคับเกษียณ คนทีทำางานก็จะทำางานไปจน ี ่ รู้สึกว่าตนเองพอแล้ว หรืออยากจะเกษียณตัวเองแล้ว ก็ หยุดทำางานแล้วรับบำานาญตั้งแต่ตอนนัน ้  ในต่างประเทศอาจารย์ที่สอนนักศึกษาจนอายุมากกว่า ๗๐ มีเป็นจำานวนมาก
  • 12. แต่อย่างไรก็ตาม ในช่วงเริ่มแรกนี้ รัฐบาล ควรเริ่มขยายอายุเกษียณไปที่ ๖๕ ก่อน แล้ว ค่อยพิจารณายกเลิกการเกษียณอายุสำาหรับ ข้าราชการและพนักงานบางประเภทไปก่อน โดยเฉพาะตำาแหน่งงานที่อาศัยความรู้ ความสามารถสูงมากๆ