SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 5
Downloaden Sie, um offline zu lesen
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
(Science Show)
1. ชื่อเรื่องมหัศจรรย์ไฟกับกลไกน้า
โดย 1. นางสาวบุปผา กองสุข
2. นายกอบกุล สิทธิสอน
3. นางสาวจริญญา วงค์เมือง
2. มูลเหตุจูงใจ (อธิบายถึงที่มาของเรื่องที่น้ามาเสนอ)
จากที่ได้เรียนในเรื่องคุณสมบัติของสารและความดันแรงดันในชั้นเรียน รวมทั้งเหตุการณ์ในปัจจุบันที่
พบเหตุได้ทั่วไป ทั้งในละครที่คนถูกไฟไหม้ ทาให้เราเกิดความสงสัยว่าทาไมไฟถึงไหม้ได้ โดยที่คนไม่เป็นอะไร
จึงทาให้เราคิดจัดกิจกรรมการทดลองที่น่าสนใจและเกี่ยวข้องกับเรื่องนี้ นั่นก็คือ “ผ้าผจญเพลิงนั่นเอง” จากที่
เราพบเห็นขยะต่างๆมากมาย จึงทาให้เราคิดวิธีลดขยะ โดยการนามาดัดแปลงใช้ประโยชน์ เราจึงคิดกิจกรรม
นาเสนอ “การตัดขวดด้วยเชือก” นอกจากนี้เราได้รับทราบข่าวสารจากสื่อโทรทัศน์ ที่เป็นภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติ นั่นก็คือ “น้าท่วม” จึงทาให้เราศึกษาว่าเกิดจากอะไรและคิดกิจกรรมที่สามารถอธิบายเหตุการณ์
ต่างๆในธรรมชาติที่เกี่ยวกับน้าได้ เราจึงคิดกิจกรรม “น้าเปลี่ยนสี” เพื่อแสดงให้เห็นว่าวิทยาศาสตร์อยู่ใกล้เรา
ขนาดไหน
3. เนือหาโดยย่อ
3.1 ผ้าผจญเพลิง
วัสดุอุปกรณ์
1. ผ้า
2. เมทานอล
3. น้าเปล่า
4. เกลือแกง
5. ไฟแช็ค
6. คีมโลหะ
7. ถาดรอง
วิธีทดลอง
นาผ้าชุบลงไปในสารละลายไม่มีสีที่เตรียมไว้จากนั้นใช้คีมโลหะคีบผ้าชิ้นนี้นาไปใกล้
เปลวไฟ ปล่อยให้ไฟลุกติดที่ผ้าแล้วนาไปวางที่แผ่นกันไฟหรือวางกระบะทราย แล้วสังเกตว่าเกิดอะไรขึ้นกับ
ผ้า จะเห็นว่าตอนแรกไฟจะลุกท่วมผ้าผืนนั้น และเปลวไฟจะมีสีเหลือง-ส้ม สวยงาม หลังจากนั้นไฟจะดับ
แต่ผ้าจะเหมือนเดิมทุกประการ
2
หลักการ
ผ้าผจญเพลิงที่ไฟไหม้แล้วดับไปโดยที่ไม่ไหม้ผ้าด้วย เป็นเพราะไฟนั้นจะลุกท่วม
เมทานอล ซึ่งเป็นแอลกอฮอล์ที่มีจุดเดือดต่ากว่าน้า ขณะเดียวกันผ้านั้นมีน้าซึ่งมีจุดเดือดสูงกว่าแอกอฮอล์
พอที่จะป้องกันไฟไหม้ได้ส่วนโซเดียมคลอไรด์ที่เติมลงไปในสารละลายจะทาให้เปลวไฟสว่างสุกใสด้วยแสง
โซเดียม
การน้าไปใช้ประโยชน์
ผ้าผจญเพลิง ที่นามาใช้นี้เป็นเช่นเดียวกับการแสดงละครหรือมายากลแต่เวลาใช้
จริงจะมีชุดป้องกันที่รัดกุมขึ้นด้วย
3.2 เชือกตัดขวด
วัสดุ-อุปกรณ์
1. ขวดแก้ว
2. เชือกไหมพรม
3. น้ามันก๊าด
4. ไฟแช็ค
5. ถาดรอง
6. น้าเปล่า
7. ผ้า
8. สีผสมอาหาร
วิธีการทดลอง
ใส่น้าที่ผสมสีลงไปในขวดแก้วที่เตรียมไว้ประมาณเกือบครึ่งขวด นาไหมพรมที่แช่
น้ามันก๊าดมาพันให้อยู่เสมอกับระดับน้าในขวด จากนั้นจุดไฟเผาไหมพรม รอให้ไฟไหม้ไหมพรมจนหมด แล้ว
เทน้าราดลงไปบริเวณที่พันเชือกไหมพรมไว้โดยรอบขวด จากนั้นสามารถใช้ผ้าจับคอขวดยกออกได้อย่าง
ง่ายดาย
หลักการ
หลักการสาคัญ คือ การขยายตัวของความร้อน ขวดแก้วทั่วไปใช้แก้วธรรมดาซึ่ง
เป็นวัสดุที่เปราะแตกง่ายและนาความร้อนได้ดี เมื่อเราจุดไฟเผาที่ผิวด้านนอกที่ใส่น้าไว้จึงเป็นการให้ความ
ร้อนอย่างรวดเร็ว ทาให้เกิดความแตกต่างของการขยายตัวทั้งด้านนอกกับด้านในของขวด และด้านบนกับ
ด้านล่างของขวดอย่างมาก เมื่อใส่ลงไปในถังก็คือการเปลี่ยนอุณหภูมิอย่างฉับพลัน จึงทาขวดแตกโดยรอบใน
ระดับเดียวกันกับน้าและเชือกที่ผูกไว้นั้นเอง
3
การน้าไปใช้ประโยชน์
สามารถนาไปประดิษฐ์วัสดุเหลือใช้ให้เป็นประโยชน์ เช่น ตัดขวดแก้วเพื่อทาเป็น
แจกัน ฯลฯ
3.3 น้าเปลี่ยนสี
วัสดุ-อุปกรณ์
1. กระป๋องพลาสติก 3 ใบ
2. สายพลาสติกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เซนติเมตร ยาว 12 เซนติเมตร จานวน
3 เส้น
3. ถ้วยแก้วพลาสติกขนาด 180 มิลลิลิตร 3 ใบ
4. บีกเกอร์ขนาด 250 มิลลิลิตร 2 ใบ
5. สีผสมอาหาร 3 สี ได้แก่ สีแดง สีเหลือง สีเขียว
6. น้าเปล่า
วิธีทดลอง
เทน้าเปล่าลงไปในภาชนะใบที่ 1 ให้น้าไหลออกจากสายพลาสติกสู่ภาชนะใบที่ 2, 3
และ 4 ตามลาดับ โดยสังเกตที่สายพลาสติกที่ต่อออกจากภาชนะแต่ละใบรวมทั้งภาชนะรองรับใบสุดท้ายว่า
น้าที่ไหนมีสีอะไร เมื่อเทน้าเปล่าลงไปในภาชนะใบที่ 1 จะมีน้าสีแดงไหลออกมาทางสายพลาสติก ลงไปใน
ภาชนะใบที่ 2 จากนั้นจะมีน้าสีเหลืองไหลลงสู่ภาชนะใบที่ 3 ท้ายที่สุดจะมีน้าสีเขียวไหลลงไปในภาชนะ
รองรับใบที่ 4
หลักการ
ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการแทนที่ของน้า ในภาชนะแต่ละใบจะมีน้าสี
ต่างๆ อยู่ในภาชนะแล้ว และมีภาชนะรองรับน้าอีกชั้นหนึ่งภายในเมื่อน้าไหลลงในภาชนะภายในจะทาให้น้าที่
เติมไว้ไหลออกมาแทน
การน้าไปใช้ประโยชน์
นาไปใช้ในการหาปริมาตรของวัตถุรูปทรงต่างๆ ที่เราต้องการรู้
4. การน้าหลักการทางวิทยาศาสตร์มาใช้
3.1 ผ้าผจญเพลิง
ผ้าผจญเพลิงที่ไฟไหม้แล้วดับไปโดยที่ไม่ไหม้ผ้าด้วย เป็นเพราะไฟนั้นจะลุกท่วมเมทานอล ซึ่ง
เป็นแอลกอฮอล์ ขณะเดียวกันผ้านั้นมีน้าพอที่จะป้องกันไฟไหม้ได้ส่วนโซเดียมคลอไรด์ที่เติมลงไปใน
สารละลายจะทาให้เปลวไฟสว่างสุกใสด้วยแสงโซเดียม
3.2 เชือกตัดขวด
หลักการสาคัญ คือ การขยายตัวของความร้อน ขวดแก้วทั่วไปใช้แก้วธรรมดาซึ่งเป็นวัสดุที่
เปราะแตกง่ายและนาความร้อนได้ดี เมื่อเราจุดไฟเผาที่ผิวด้านนอกที่ใส่น้าไว้จึงเป็นการให้ความร้อนอย่าง
4
รวดเร็ว ทาให้เกิดความแตกต่างของการขยายตัวทั้งด้านนอกกับด้านในของขวด และด้านบนกับด้านล่างของ
ขวดอย่างมาก เมื่อใส่ลงไปในถังก็คือการเปลี่ยนอุณหภูมิอย่างฉับพลัน จึงทาขวดแตกโดยรอบในระดับ
เดียวกันกับน้าและเชือกที่ผูกไว้นั้นเอง
3.3 น้าเปลี่ยนสี
ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการแทนที่ของน้า ในภาชนะแต่ละใบจะมีน้าสี
ต่างๆ อยู่ในภาชนะแล้ว และมีภาชนะรองรับน้าอีกชั้นหนึ่งภายในเมื่อน้าไหลลงในภาชนะภายในจะทาให้น้าที่
เติมไว้ไหลออกมาแทน
5. การน้าไปใช้ประโยชน์
3.1 ผ้าผจญเพลิง
ผ้าผจญเพลิง ที่นามาใช้นี้เป็นเช่นเดียวกับการแสดงละครหรือมายากลแต่เวลาใช้จริงจะมีชุด
ป้องกันที่รัดกุมขึ้นด้วย
3.2 เชือกตัดขวด
สามารถนาไปประดิษฐ์วัสดุเหลือใช้ให้เป็นประโยชน์ เช่น ตัดขวดแก้วเพื่อทาเป็น
แจกัน
3.3 น้าเปลี่ยนสี
นาไปใช้ในการหาปริมาตรของวัตถุรูปทรงต่างๆ ที่เราอยากรู้
5
อ้างอิง
วีรวัฒน์ กนกนุเคราะห์. กลวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, 2552.
สมิธ อลาสแตร์. สนุกสุดท้าทายกับการทดลอง. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์, 2550.
คลิปวีดีโอ. ISCi : episode 38 – น้าเปลี่ยนสี [ออนไลน์]; เข้าถึงได้จาก
http://www.youtube.com/watch?v=vJqRiQsPFP8. สืบค้นวันที่ 14 พฤศจิกายน 2554.

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1Chok Ke
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...Prachoom Rangkasikorn
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศgchom
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 

Was ist angesagt? (20)

โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 

Andere mochten auch

ใบความรู้+อากาศอยู่ที่ไหน+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f10-1page
 ใบความรู้+อากาศอยู่ที่ไหน+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f10-1page ใบความรู้+อากาศอยู่ที่ไหน+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f10-1page
ใบความรู้+อากาศอยู่ที่ไหน+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f10-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งTaweesak Poochai
 
236936.Tanja_magisterij_cijeli1_bib._jed_236936 (1)
236936.Tanja_magisterij_cijeli1_bib._jed_236936 (1)236936.Tanja_magisterij_cijeli1_bib._jed_236936 (1)
236936.Tanja_magisterij_cijeli1_bib._jed_236936 (1)Tanja Likso
 
ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page
 ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page
ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+อากาศมีคุณสมบัติอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f13-1page
ใบความรู้+อากาศมีคุณสมบัติอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f13-1pageใบความรู้+อากาศมีคุณสมบัติอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f13-1page
ใบความรู้+อากาศมีคุณสมบัติอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f13-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3ทศพล พรหมภักดี
 

Andere mochten auch (8)

ใบความรู้+อากาศอยู่ที่ไหน+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f10-1page
 ใบความรู้+อากาศอยู่ที่ไหน+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f10-1page ใบความรู้+อากาศอยู่ที่ไหน+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f10-1page
ใบความรู้+อากาศอยู่ที่ไหน+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f10-1page
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
 
236936.Tanja_magisterij_cijeli1_bib._jed_236936 (1)
236936.Tanja_magisterij_cijeli1_bib._jed_236936 (1)236936.Tanja_magisterij_cijeli1_bib._jed_236936 (1)
236936.Tanja_magisterij_cijeli1_bib._jed_236936 (1)
 
ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page
 ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page
ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
 
ใบความรู้+อากาศมีคุณสมบัติอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f13-1page
ใบความรู้+อากาศมีคุณสมบัติอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f13-1pageใบความรู้+อากาศมีคุณสมบัติอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f13-1page
ใบความรู้+อากาศมีคุณสมบัติอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f13-1page
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
 
ป.5
ป.5ป.5
ป.5
 

แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์

  • 1. แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์ (Science Show) 1. ชื่อเรื่องมหัศจรรย์ไฟกับกลไกน้า โดย 1. นางสาวบุปผา กองสุข 2. นายกอบกุล สิทธิสอน 3. นางสาวจริญญา วงค์เมือง 2. มูลเหตุจูงใจ (อธิบายถึงที่มาของเรื่องที่น้ามาเสนอ) จากที่ได้เรียนในเรื่องคุณสมบัติของสารและความดันแรงดันในชั้นเรียน รวมทั้งเหตุการณ์ในปัจจุบันที่ พบเหตุได้ทั่วไป ทั้งในละครที่คนถูกไฟไหม้ ทาให้เราเกิดความสงสัยว่าทาไมไฟถึงไหม้ได้ โดยที่คนไม่เป็นอะไร จึงทาให้เราคิดจัดกิจกรรมการทดลองที่น่าสนใจและเกี่ยวข้องกับเรื่องนี้ นั่นก็คือ “ผ้าผจญเพลิงนั่นเอง” จากที่ เราพบเห็นขยะต่างๆมากมาย จึงทาให้เราคิดวิธีลดขยะ โดยการนามาดัดแปลงใช้ประโยชน์ เราจึงคิดกิจกรรม นาเสนอ “การตัดขวดด้วยเชือก” นอกจากนี้เราได้รับทราบข่าวสารจากสื่อโทรทัศน์ ที่เป็นภัยพิบัติทาง ธรรมชาติ นั่นก็คือ “น้าท่วม” จึงทาให้เราศึกษาว่าเกิดจากอะไรและคิดกิจกรรมที่สามารถอธิบายเหตุการณ์ ต่างๆในธรรมชาติที่เกี่ยวกับน้าได้ เราจึงคิดกิจกรรม “น้าเปลี่ยนสี” เพื่อแสดงให้เห็นว่าวิทยาศาสตร์อยู่ใกล้เรา ขนาดไหน 3. เนือหาโดยย่อ 3.1 ผ้าผจญเพลิง วัสดุอุปกรณ์ 1. ผ้า 2. เมทานอล 3. น้าเปล่า 4. เกลือแกง 5. ไฟแช็ค 6. คีมโลหะ 7. ถาดรอง วิธีทดลอง นาผ้าชุบลงไปในสารละลายไม่มีสีที่เตรียมไว้จากนั้นใช้คีมโลหะคีบผ้าชิ้นนี้นาไปใกล้ เปลวไฟ ปล่อยให้ไฟลุกติดที่ผ้าแล้วนาไปวางที่แผ่นกันไฟหรือวางกระบะทราย แล้วสังเกตว่าเกิดอะไรขึ้นกับ ผ้า จะเห็นว่าตอนแรกไฟจะลุกท่วมผ้าผืนนั้น และเปลวไฟจะมีสีเหลือง-ส้ม สวยงาม หลังจากนั้นไฟจะดับ แต่ผ้าจะเหมือนเดิมทุกประการ
  • 2. 2 หลักการ ผ้าผจญเพลิงที่ไฟไหม้แล้วดับไปโดยที่ไม่ไหม้ผ้าด้วย เป็นเพราะไฟนั้นจะลุกท่วม เมทานอล ซึ่งเป็นแอลกอฮอล์ที่มีจุดเดือดต่ากว่าน้า ขณะเดียวกันผ้านั้นมีน้าซึ่งมีจุดเดือดสูงกว่าแอกอฮอล์ พอที่จะป้องกันไฟไหม้ได้ส่วนโซเดียมคลอไรด์ที่เติมลงไปในสารละลายจะทาให้เปลวไฟสว่างสุกใสด้วยแสง โซเดียม การน้าไปใช้ประโยชน์ ผ้าผจญเพลิง ที่นามาใช้นี้เป็นเช่นเดียวกับการแสดงละครหรือมายากลแต่เวลาใช้ จริงจะมีชุดป้องกันที่รัดกุมขึ้นด้วย 3.2 เชือกตัดขวด วัสดุ-อุปกรณ์ 1. ขวดแก้ว 2. เชือกไหมพรม 3. น้ามันก๊าด 4. ไฟแช็ค 5. ถาดรอง 6. น้าเปล่า 7. ผ้า 8. สีผสมอาหาร วิธีการทดลอง ใส่น้าที่ผสมสีลงไปในขวดแก้วที่เตรียมไว้ประมาณเกือบครึ่งขวด นาไหมพรมที่แช่ น้ามันก๊าดมาพันให้อยู่เสมอกับระดับน้าในขวด จากนั้นจุดไฟเผาไหมพรม รอให้ไฟไหม้ไหมพรมจนหมด แล้ว เทน้าราดลงไปบริเวณที่พันเชือกไหมพรมไว้โดยรอบขวด จากนั้นสามารถใช้ผ้าจับคอขวดยกออกได้อย่าง ง่ายดาย หลักการ หลักการสาคัญ คือ การขยายตัวของความร้อน ขวดแก้วทั่วไปใช้แก้วธรรมดาซึ่ง เป็นวัสดุที่เปราะแตกง่ายและนาความร้อนได้ดี เมื่อเราจุดไฟเผาที่ผิวด้านนอกที่ใส่น้าไว้จึงเป็นการให้ความ ร้อนอย่างรวดเร็ว ทาให้เกิดความแตกต่างของการขยายตัวทั้งด้านนอกกับด้านในของขวด และด้านบนกับ ด้านล่างของขวดอย่างมาก เมื่อใส่ลงไปในถังก็คือการเปลี่ยนอุณหภูมิอย่างฉับพลัน จึงทาขวดแตกโดยรอบใน ระดับเดียวกันกับน้าและเชือกที่ผูกไว้นั้นเอง
  • 3. 3 การน้าไปใช้ประโยชน์ สามารถนาไปประดิษฐ์วัสดุเหลือใช้ให้เป็นประโยชน์ เช่น ตัดขวดแก้วเพื่อทาเป็น แจกัน ฯลฯ 3.3 น้าเปลี่ยนสี วัสดุ-อุปกรณ์ 1. กระป๋องพลาสติก 3 ใบ 2. สายพลาสติกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เซนติเมตร ยาว 12 เซนติเมตร จานวน 3 เส้น 3. ถ้วยแก้วพลาสติกขนาด 180 มิลลิลิตร 3 ใบ 4. บีกเกอร์ขนาด 250 มิลลิลิตร 2 ใบ 5. สีผสมอาหาร 3 สี ได้แก่ สีแดง สีเหลือง สีเขียว 6. น้าเปล่า วิธีทดลอง เทน้าเปล่าลงไปในภาชนะใบที่ 1 ให้น้าไหลออกจากสายพลาสติกสู่ภาชนะใบที่ 2, 3 และ 4 ตามลาดับ โดยสังเกตที่สายพลาสติกที่ต่อออกจากภาชนะแต่ละใบรวมทั้งภาชนะรองรับใบสุดท้ายว่า น้าที่ไหนมีสีอะไร เมื่อเทน้าเปล่าลงไปในภาชนะใบที่ 1 จะมีน้าสีแดงไหลออกมาทางสายพลาสติก ลงไปใน ภาชนะใบที่ 2 จากนั้นจะมีน้าสีเหลืองไหลลงสู่ภาชนะใบที่ 3 ท้ายที่สุดจะมีน้าสีเขียวไหลลงไปในภาชนะ รองรับใบที่ 4 หลักการ ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการแทนที่ของน้า ในภาชนะแต่ละใบจะมีน้าสี ต่างๆ อยู่ในภาชนะแล้ว และมีภาชนะรองรับน้าอีกชั้นหนึ่งภายในเมื่อน้าไหลลงในภาชนะภายในจะทาให้น้าที่ เติมไว้ไหลออกมาแทน การน้าไปใช้ประโยชน์ นาไปใช้ในการหาปริมาตรของวัตถุรูปทรงต่างๆ ที่เราต้องการรู้ 4. การน้าหลักการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ 3.1 ผ้าผจญเพลิง ผ้าผจญเพลิงที่ไฟไหม้แล้วดับไปโดยที่ไม่ไหม้ผ้าด้วย เป็นเพราะไฟนั้นจะลุกท่วมเมทานอล ซึ่ง เป็นแอลกอฮอล์ ขณะเดียวกันผ้านั้นมีน้าพอที่จะป้องกันไฟไหม้ได้ส่วนโซเดียมคลอไรด์ที่เติมลงไปใน สารละลายจะทาให้เปลวไฟสว่างสุกใสด้วยแสงโซเดียม 3.2 เชือกตัดขวด หลักการสาคัญ คือ การขยายตัวของความร้อน ขวดแก้วทั่วไปใช้แก้วธรรมดาซึ่งเป็นวัสดุที่ เปราะแตกง่ายและนาความร้อนได้ดี เมื่อเราจุดไฟเผาที่ผิวด้านนอกที่ใส่น้าไว้จึงเป็นการให้ความร้อนอย่าง
  • 4. 4 รวดเร็ว ทาให้เกิดความแตกต่างของการขยายตัวทั้งด้านนอกกับด้านในของขวด และด้านบนกับด้านล่างของ ขวดอย่างมาก เมื่อใส่ลงไปในถังก็คือการเปลี่ยนอุณหภูมิอย่างฉับพลัน จึงทาขวดแตกโดยรอบในระดับ เดียวกันกับน้าและเชือกที่ผูกไว้นั้นเอง 3.3 น้าเปลี่ยนสี ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการแทนที่ของน้า ในภาชนะแต่ละใบจะมีน้าสี ต่างๆ อยู่ในภาชนะแล้ว และมีภาชนะรองรับน้าอีกชั้นหนึ่งภายในเมื่อน้าไหลลงในภาชนะภายในจะทาให้น้าที่ เติมไว้ไหลออกมาแทน 5. การน้าไปใช้ประโยชน์ 3.1 ผ้าผจญเพลิง ผ้าผจญเพลิง ที่นามาใช้นี้เป็นเช่นเดียวกับการแสดงละครหรือมายากลแต่เวลาใช้จริงจะมีชุด ป้องกันที่รัดกุมขึ้นด้วย 3.2 เชือกตัดขวด สามารถนาไปประดิษฐ์วัสดุเหลือใช้ให้เป็นประโยชน์ เช่น ตัดขวดแก้วเพื่อทาเป็น แจกัน 3.3 น้าเปลี่ยนสี นาไปใช้ในการหาปริมาตรของวัตถุรูปทรงต่างๆ ที่เราอยากรู้
  • 5. 5 อ้างอิง วีรวัฒน์ กนกนุเคราะห์. กลวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, 2552. สมิธ อลาสแตร์. สนุกสุดท้าทายกับการทดลอง. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์, 2550. คลิปวีดีโอ. ISCi : episode 38 – น้าเปลี่ยนสี [ออนไลน์]; เข้าถึงได้จาก http://www.youtube.com/watch?v=vJqRiQsPFP8. สืบค้นวันที่ 14 พฤศจิกายน 2554.