SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 17
Downloaden Sie, um offline zu lesen
Conflict of the Burmese Government
  and the Ethnic Minority Groups
สาเหตุ
ประเด็นแรก: ก่อนพม่าจะตกเป็ นอาณานิคมของอังกฤษอย่างสมบูรณ์
ในปี ค.ศ.1886 อังกฤษได้ผนวกพม่าและดินแดนของชนกลุ่มน้อยต่างๆ
เข้าเป็ นมณฑลหนึ่งของอินเดีย ซึ่งอังกฤษเป็ นเจ้าอาณานิคมในขณะนั้น
รัฐบาลอังกฤษซึ่งเข้ามาปกครองพม่าโดยใช้นโยบาย “แบ่งแยกและ
ปกครอง” (divide and rule) เพราะอังกฤษได้แบ่งแยกรัฐของกลุ่มน้อย
ออกจากรัฐของชาวพม่า และใช้ระบบการปกครองที่ต่างกันออกเป็ น 2
ส่ วนคือ “พม่าแท้” (Burma proper) กับ “เขตชายแดน” (Frontier Areas)
- อังกฤษถอนตัว ออกจากพม่าอย่างกะทันหัน พร้ อมกับทิ้ งปั ญหา
ความขัดแย้งของกลุ่มชาติพนธุ์ไว้ให้รัฐบาลกลางของพม่าซึ่ งเข้ามารับ
                            ั
ภาระหน้าที่แทนผูนารัฐบาลพม่าในช่วงที่ได้รับอิสรภาพแล้ว
                  ้
- นับตั้งแต่นายพลออง ซาน อู นุ และนายพลเนวิน ต่างก็มีทศนคติ ั
ต่อการรวมชาติและความเป็ นเอกภาพในบริ บทที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติ
พันธุ์ต่างๆ ในพม่าที่แตกต่างกันออกไป
- สงครามกลางเมืองที่ได้เริ่ มก่อตัวตั้งแต่ปี ค.ศ. 1948 จนถึงช่ วง
วิกฤตในทศวรรษที่ 1960
-    นับแต่น้ นมา พม่าก็ได้กลายเป็ นดินแดนแห่งการสู ้รบระหว่าง
              ั
รัฐบาลกลางกับกองกาลังชนกลุ่มน้อยกลุ่มต่างๆ จนถึงปั จจุบน ั
- ประเด็นต่ อมา จากสภาพภูมิประเทศซึ่งแยกชุมชนของกลุ่มชาติ
พันธุ์ออกจากกัน ด้วยเทือกเขาสูง ป่ าทึบและแม่น้ า
- อีกทั้งยังส่ งเสริ มให้เกิดความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมและภาษา
ของกลุ่มชาติพนธุ์โดยการคงเอกลักษณ์เด่นของตนไว้ ไม่มีการ
             ั
ผสมผสานเพื่อก่อให้เกิดการเรี ยนรู ้และการยอมรับซึ่งกันและกัน
- ปัญหาความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลพม่าและกองกาลังชนกลุ่มน้อย
ได้กลายสภาพเป็ นปัญหาที่บนทอนความมันคงและเอกภาพของรัฐ
                            ั่         ่
      ดังนั้นความจาเป็ นของรัฐบาลพม่าในการที่จะธารงไว้ซ่ ึงความเป็ น
เอกภาพของรัฐด้วยการทาสงครามสยบกองกาลังชนกลุ่มน้อยกลุ่มต่างๆ
เหล่านี้ และได้กลายเป็ นภารกิจความสาคัญอย่างยิงยวดในเชิงนโยบาย
                                              ่
เป็ นสาคัญอันดับแรกของประเทศ
การเมืองภายในระหว่ างรัฐบาลพม่ ากับชนกลุ่มน้ อย
     1.) ประเทศสหภาพพม่าเป็ นประเทศที่มีปัญหาหารเมืองภายใน
โดยเฉพาะปัญหาความขัดแย้งกับกองกาลังชนกลุ่มน้อยกลุ่มต่างๆ ความ
ขัดแย้งนี้เกิดขึ้นมาเป็ นเวลานานนับตั้งแต่สมัยหลังอาณานิคม (ปี 1948)
และดาเนินต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบน ผลพวงของความขัดแย้งคือ
                                  ั
สงครามกลางเมืองที่นาไปสู่ ความอ่อนแอทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง
และสังคม โดยรวมของประเทศพม่า
2.)ปัญหาความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลพม่าและกองกาลังชนกลุ่ม
น้อย ได้กลายสภาพเป็ นปัญหาที่บนทอนความมันคงและเอกภาพของรัฐ
                               ั่           ่
เนื่องจากกองกาลังชนกลุ่มน้อยกลุ่มต่างๆ มีอาณาบริ เวณและมวลชนที่
สนับสนุนตนเอง นอกจากนี้ยงมีทรัพยากรธรรมชาติ และช่องทางในการ
                           ั
แสวงหาผงประโยชน์ในเชิงงบประมาณ มาสนับสนุนกองกาลังและ
มวลชนของตนในอดีตกองกาลังชนกลุ่มต่างๆ เหล่านี้มีอาณาเขต
ปกครองของตนเอง ดังนั้นความปรารถนาที่จะแยกเป็ นรัฐอิสระไม่อยู่
ภายใต้การปกครองของรัฐบาลกลางพม่ายังคงสื บสานมาจนถึงปัจจุบน      ั
เป็ นความจาเป็ นของรัฐบาลพม่าในการที่จะธารงไว้ซ่ ึงความเป็ นเอกภาพ
ของรัฐด้วยการทาสงครามสยบกองกาลังชนกลุ่มน้อยกลุ่มต่างๆ เหล่านี้
และได้กลายเป็ นภารกิจความสาคัญอย่างยิงยวดในเชิงนโยบายเป็ น
                                       ่
สาคัญอันดับแรกของประเทศ
3.)การจัดลาดับความสาคัญของพื้นที่ในการปราบปรามกองกาลัง
ชนกลุ่มน้อยเรี ยงลาดับตามความสาคัญเร่ งด่วนเนื่องจากรัฐบาลพม่ามี
ความขัดแย้งกับกองกาลังชนกลุ่มน้อยหลายกลุ่ม เช่น คะฉิ่น ฉาน(ไทย
ใหญ่) โกกั้ง กะเหรี่ ยง คะยาห์ มอญ และยังมีกลุ่มต่อต้านรัฐบาล เช่น
พรรคคอมมิวนิสต์พม่า และกองกาลังต่างชาติ เช่น ก๊กมินตั้งการจะ
ปราบปรามกองกาลังชนกลุ่มน้อยทุกกลุ่มในเวลาเดียวกันเป็ นสิ่ งที่
เป็ นไปไม่ได้ ดังนั้นรัฐบาลพม่าจึงเลือกลาดับความสาคัญในการ
ปราบปรามเป็ นพื้นที่ไป ในขณะที่ปราบปรามพื้นที่หนึ่ง อีกพื้นที่หนึ่งจึง
มีโอกาสสร้างเสริ มความเข้มแข็งในขณะที่ปลอดภารกิจด้านสงคราม ใน
กรณี น้ ีเกิดขึ้นกับชนกลุ่มน้อยบริ เวณชายแดนไทย ซึ่งปลอดสงคราม กับ
พม่าในช่วงปี 1962-1989 เนื่องจากรัฐบาลพม่าหันไปทุ่มเทกาลังต่อสู ้
ให้กบรัฐฉาน กลุ่มพรรคมอญใหม่ของมอญ และกลุ่มสหภาพแห่งชาติ
     ั
กะเหรี่ ยง จึงสมารถพัฒนากองกาลังของตนเองจนเข้มแข็ง
4.)การเสริ มสร้างความเข้มแข็งของกาลังกลุ่มพรรคมอญใหม่และ
สภาพกะเหรี่ ยง กระทาโดยใช้โอกาสจากสภาพภูมิศาสตร์ที่ใกล้ชิด
พรมแดนไทย และการถมช่องว่างของตลาดมืดของพม่า อันเกิดจาก
สภาวะขาดแคลนสิ นค้าประเภทอุปโภคบริ โภคด้วยขบวนการลักลอบ
ค้าขายกองกาลังชนกลุ่มน้อยสามารถสร้างเครื อข่ายทางด้านการค้ากับ
พ่อค้าไทยในฝั่งไทย และพ่อค้าจากฝั่งพม่าที่ตองผ่านเข้า – ออกอาณา
                                           ้
บริ เวณของตน สามารถสร้างความร่ ารวยให้กองกาลังของตนจาก
ขบวนการค้านอกกฎหมายนี้ เครื อข่ายอันแน่นเหนียวและเต็มไปด้วย
                                      ่
ผลประโยชน์น้ ียากต่อการทาลาย ถึงแม้วารัฐบาลพม่าจะเจรจาสงบศึกกับ
กลุ่มมอญและสยบอิทธิพลของกลุ่มกะเหรี่ ยงได้ในระดับหนึ่ง แต่ไม่
สามารถทาลายล้างเครื อข่ายของธุรกิจนอกกฎหมายนี้ได้ และเครื อข่ายนี้
พร้อมที่จะกลับมามีบทบาทได้หากสถานการณ์อานวย
5.)รัฐบาลพม่าได้พยายามเข้ามาจัดระเบียบชายแดนใหม่ดวยการ      ้
                                                 ่
พัฒนาทางด้านกายภาพของเมืองหน้าด่านที่อยูประชิดชายแดนไทย
พร้อมๆ กับการเปลี่ยนแปลงระเบียบด้านการการค้าชายแดนให้เข้าระบบ
มากขึ้น หลังจากสามารถจัดการปัญหากับชนกลุ่มน้อยได้แล้วในระดับ
หนึ่งแต่ในภาคปฏิบติรัฐบาลพม่าไม่สามารถทาลายอิทธิพลด้านการเมือง
                      ั
ของกองกาลังชนกลุ่มน้อยได้โดยเด็ดขาด เพราะกองกาลังชนกลุ่มน้อย
ได้ทาหน้าที่เป็ นผูคุมครองและจัดสรรผลประโยชน์ให้กบชุมชนใน
                   ้้                                    ั
ท้องถิ่นของตนเป็ นเวลาช้านาน ประกอบกับการที่เห็นเพื่อร่ วมเผ่าพันธุ์
ต้องเผชิญชะตากรรมจากการปราบอันโหดร้อยของทหารพม่า ทาให้เกิด
ความเห็นอกเห็นใจ และความภัคดีในองค์กรและกองกาลังที่คุมครองอยู่ ้
ในบริ เวณนั้นความจริ งข้อนี้เป็ นสิ่ งที่รัฐบาลพม่าไม่อาจปฏิเสธ ประเด็น
สาคัญจึงอยูท่ีรัฐบาลพม่าจะปฏิบติต่อองค์กรกองกาลังชนกลุ่มน้อย
             ่                    ั
อย่างไร เพื่อให้เกิดความสมดุลทางอานาจ แทนการกาจัดให้หมดสิ้ นไป
6.)รัฐบาลพม่าได้ปฏิรูปโครงสร้างและกฎเกณฑ์ทางเศรษฐกิจ โดย
มีการผ่อนคลายกฎระเบียบที่เคร่ งครัดลง และเปิ ดโอกาสให้เอกชนเข้ามา
มีส่วนร่ วมในการค้าการลงทุนมากยิงขึ้น หลังจากที่ปิดโอกาสมากว่า 26
                                   ่
ปี ของระบบสังคมนิยมวิถีพม่า แต่ในขณะเดียวกัน รัฐบาลยังคงรักษา
ระบบการปกครองระบอบเผด็จการทหารอย่างเคร่ งครัดนโยบายที่ผอน      ่
คลายกฎเกณฑ์ทางด้านเศรษฐกิจมิใช่นโยบายหลัก หากเป็ นนโยบายรอง
                    ั
ที่ตองหลีกทางให้กบนโยบายทางการเมือง ซึ่งหมายความว่า หากรัฐบาล
    ้
พม่าเห็นว่าการเปิ ดเสรี ทางการค้าและการลงทุนจะทาให้สูญเสี ยอธิปไตย
ทางการปกครอง หรื อมีนยที่จะบันทอนความมันคงของชาติ รัฐบาลพม่า
                          ั      ่          ่
ย่อมเลือกการรักษาความมันคงของชาติเป็ นสาคัญเสมอ
                            ่
ผลกระทบ
        การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์บริ เวณชายแดนไทย-พม่า ในช่วงปี
1988-1997 จะเห็นได้ชดว่ามีการเปลี่ยนแปลงใน 2 ประเด็นหลัก คือ
                      ั
ประเด็นทางด้านการเมือง และประเด็นทางด้านเศรษฐกิจ
1.ด้ านการเมือง
       กองกาลังชนกลุ่มน้อยบริ เวณชายแดนไทยถูกลดบทบาทลงในกรณี
นี้ ได้แก่กองกาลังของกะเหรี่ ยงในบริ เวณจังหวัดเมียวดี ตรงข้ามอาเภอ
แม่สอดของไทย และกองกาลังของมอญในบริ เวณรัฐมอญตรงข้าม
อาเภอสังขละบุรีถูกแทนที่โดยกองกาลังทหารพม่า
ดังนั้น อานาจในการตัดสิ นใจต่อกรณี เหตุการณ์ต่างๆ ในบริ เวณดังกล่าว
      ่
จึงอยูที่ฝ่ายทหารพม่าซึ่งเป็ นตัวแทนของรัฐบาล เท่ากับเป็ นการคืน
                                    ั
อานาจการปกครองในบริ เวณนี้ให้กบฝ่ ายรัฐ แต่ไม่ได้หมายความว่า
อานาจในท้องถิ่นจะหมดไปโดยสิ้ นเชิง ในทางกลับกัน อาจกล่าวได้วา    ่
อานาจและอิทธิพลของชนกลุ่มน้อยที่มีต่อชุมชนในบริ เวณนั้น ยังคงมี
   ่
อยูอย่างสมบูรณ์

2. มีการปรับเปลี่ยนกลไกอานาจหน้าที่ และบทบาทขององค์กรทาง
เศรษฐกิจและการค้า จากระบบควบคุมการวางแผนจากส่ วนกลาง และ
กระจายอานาจสู่ระดับท้องถิ่นมากขึ้น
เนื่องจากรัฐบาลพม่าเป็ นรัฐบาลรวมศูนย์อานาจ รัฐบาลท้องถิ่น
และนายทหารซึ่งควบคุมดูแลในบริ เวณท้องถิ่นไม่มีอานาจเบ็ดเสร็ จใน
การตัดสิ นใจ โดยทางปฏิบติแล้วเจ้าหน้าที่ระดับท้องถิ่นและภูมิภาค
                          ั
                                         ่ ้
จาเป็ นต้องฟังนโยบายจากรัฐบาลกลางที่ยางกุงเสมอ จึงทาให้เกิดความ
ล่าช้าในการตัดสิ นใจในประเด็นของท้องถิ่น จึงจาเป็ นต้องเสนอเรื่ องต่อ
หน่วยเหนือเพือให้มีการตัดสิ น ทาให้หลายกรณี ที่มีความเกี่ยวข้องกับ
               ่
ไทยในบริ เวณชายแดนต้องเวลานานในการพิจารณา และในหลายกรณี
เป็ นข้ออ้างสาหรับเจ้าหน้าที่ในท้องถิ่นในการพิจารณาตัดสิ น
2.)ด้ านเศรษฐกิจ
       จากการที่รัฐบาลพม่าใช้มาตรการเข้มงวดปิ ดบริ เวณชายแดนด้วย
การส่ งทหารเข้าประจาทุกจุดที่เข้าข่ายเป็ นเส้นทางลาเลียงสิ นค้าจากไทย
สู่พม่า แต่เนื่องจากความต้องสิ นค้าไทยของชาวพม่ามีค่อนข้างสู ง เมื่อ
พ่อค้าพม่าไม่สามารถนาเข้าสิ นค้าไทยได้ตามวิถีการค้าในระบบ ทาให้
สิ นค้าไทยขาดแคลนและมีความต้องการสภาวะเช่นนี้เป็ นแรงจูงใจให้
เกิดขบวนการลักลอบนาเข้าสิ นค้าไทย กอปรกับชายแดนบางด้านเช่น
จังหวัดเมียวดี ยังคงมีอิทธิพลของกองกาลังกะเหรี่ ยงหลงเหลืออยู่
                                                         ั
ขบวนการลักลอบนาเข้าสิ นค้าก็จะต้องไปสานสัมพันธ์กบกองกาลังของ
                            ่
กะเหรี่ ยงเหมือนในอดีตที่ผานมา และหากสถานการณ์ยงคงเป็ นเช่นนี้
                                                       ั
ต่อไปอีกระยะหนึ่ง จนกระทังกองกาลังกะเหรี่ ยงสามารถฟื้ นฟูองค์กร
                              ่
ของตนด้วยรายได้จากขบวนการลักลอบค้า
ก็จะทาให้วฏจักรของการค้าชายแดนหมุนไปสู่ยคปี 1962-1988 อีก
           ั                            ุ
เช่นเดิม สถานการณ์การค้าชายแดนไทย-พม่า โดยเฉพาะในเขตเมียวดี-
แม่สอด ก็ไม่อาจพ้นวังวนของการค้าชายแดนและกองกาลังชนกลุ่ม
น้อย-ไปได้
อ้างอิง
• พรพิมล ตรี โชติ . 2541. ปั ญหาชนกลุ่มน้ อยตามชายแดนไทย-
  พม่ า : ศึกษาผลกระทบที่มีต่อการค้ า
• ระหว่ างประเทศไทยกับสหภาพพม่ า. กรุงเทพ : สถาบันเอเชีย
  ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
• สืบค้ นจาก http://webcache.googleusercontent.com/search?q=.
  ออนไลน์ [2-8-2011]
• สืบค้ นจาก http://www.ryt9.com/s/bmnd/1026282.
  ออนไลน์ [2-8-2011]
• สืบค้ นจาก http://prachatai.com/journal/2008/04/16490.
  ออนไลน์ [2-8-2011]

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

Model-Driven Physical-Design for Future Nanoscale Architectures
Model-Driven Physical-Design for Future Nanoscale ArchitecturesModel-Driven Physical-Design for Future Nanoscale Architectures
Model-Driven Physical-Design for Future Nanoscale ArchitecturesCiprian Teodorov
 
Guía para la gestión del uso de medicamentos
Guía para la gestión del uso de medicamentosGuía para la gestión del uso de medicamentos
Guía para la gestión del uso de medicamentosMANUEL RIVERA
 
M&A Integration Check Lists and Benchmarks From Our Most Successful
M&A Integration Check Lists and Benchmarks From Our Most SuccessfulM&A Integration Check Lists and Benchmarks From Our Most Successful
M&A Integration Check Lists and Benchmarks From Our Most Successfulperegoff
 
TEMA 5A Possessive Adjectives
TEMA 5A Possessive AdjectivesTEMA 5A Possessive Adjectives
TEMA 5A Possessive AdjectivesSenoraAmandaWhite
 
Demanda tutela carrefour
Demanda tutela carrefourDemanda tutela carrefour
Demanda tutela carrefouroscargaliza
 
08.03.2015-Ubuntu Server Guide 14.04
08.03.2015-Ubuntu Server Guide 14.0408.03.2015-Ubuntu Server Guide 14.04
08.03.2015-Ubuntu Server Guide 14.04El Alex Andrade
 
talktojasoncredspresentation
talktojasoncredspresentationtalktojasoncredspresentation
talktojasoncredspresentationJason Kelly
 
Hyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
Hyves Cbw Mitex Harry Van WouterHyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
Hyves Cbw Mitex Harry Van Wouterguest2f17d3
 
Plan igualdad champion
Plan igualdad championPlan igualdad champion
Plan igualdad championoscargaliza
 
Manual de selección de medicamentos Minsal Chile 2010
Manual de selección de medicamentos Minsal Chile 2010Manual de selección de medicamentos Minsal Chile 2010
Manual de selección de medicamentos Minsal Chile 2010MANUEL RIVERA
 
Depression eng
Depression engDepression eng
Depression engJshi
 

Andere mochten auch (20)

Model-Driven Physical-Design for Future Nanoscale Architectures
Model-Driven Physical-Design for Future Nanoscale ArchitecturesModel-Driven Physical-Design for Future Nanoscale Architectures
Model-Driven Physical-Design for Future Nanoscale Architectures
 
Triangle Gives Back 101 Webinar - 2011
Triangle Gives Back 101 Webinar - 2011Triangle Gives Back 101 Webinar - 2011
Triangle Gives Back 101 Webinar - 2011
 
Guía para la gestión del uso de medicamentos
Guía para la gestión del uso de medicamentosGuía para la gestión del uso de medicamentos
Guía para la gestión del uso de medicamentos
 
M&A Integration Check Lists and Benchmarks From Our Most Successful
M&A Integration Check Lists and Benchmarks From Our Most SuccessfulM&A Integration Check Lists and Benchmarks From Our Most Successful
M&A Integration Check Lists and Benchmarks From Our Most Successful
 
Oxycontin®
Oxycontin®Oxycontin®
Oxycontin®
 
TEMA 5A Possessive Adjectives
TEMA 5A Possessive AdjectivesTEMA 5A Possessive Adjectives
TEMA 5A Possessive Adjectives
 
Demanda tutela carrefour
Demanda tutela carrefourDemanda tutela carrefour
Demanda tutela carrefour
 
08.03.2015-Ubuntu Server Guide 14.04
08.03.2015-Ubuntu Server Guide 14.0408.03.2015-Ubuntu Server Guide 14.04
08.03.2015-Ubuntu Server Guide 14.04
 
TEMA 4B IR+A+Infinitive
TEMA 4B IR+A+InfinitiveTEMA 4B IR+A+Infinitive
TEMA 4B IR+A+Infinitive
 
Ftp
FtpFtp
Ftp
 
TEMA 5B Vocabulario
TEMA 5B VocabularioTEMA 5B Vocabulario
TEMA 5B Vocabulario
 
talktojasoncredspresentation
talktojasoncredspresentationtalktojasoncredspresentation
talktojasoncredspresentation
 
Hyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
Hyves Cbw Mitex Harry Van WouterHyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
Hyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
 
Pajaros
PajarosPajaros
Pajaros
 
Evaluation
EvaluationEvaluation
Evaluation
 
Plan igualdad champion
Plan igualdad championPlan igualdad champion
Plan igualdad champion
 
Blackbox
BlackboxBlackbox
Blackbox
 
Manual de selección de medicamentos Minsal Chile 2010
Manual de selección de medicamentos Minsal Chile 2010Manual de selección de medicamentos Minsal Chile 2010
Manual de selección de medicamentos Minsal Chile 2010
 
Dia
DiaDia
Dia
 
Depression eng
Depression engDepression eng
Depression eng
 

Mehr von Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Mehr von Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 

เมียนม่าร์

  • 1. Conflict of the Burmese Government and the Ethnic Minority Groups
  • 2. สาเหตุ ประเด็นแรก: ก่อนพม่าจะตกเป็ นอาณานิคมของอังกฤษอย่างสมบูรณ์ ในปี ค.ศ.1886 อังกฤษได้ผนวกพม่าและดินแดนของชนกลุ่มน้อยต่างๆ เข้าเป็ นมณฑลหนึ่งของอินเดีย ซึ่งอังกฤษเป็ นเจ้าอาณานิคมในขณะนั้น รัฐบาลอังกฤษซึ่งเข้ามาปกครองพม่าโดยใช้นโยบาย “แบ่งแยกและ ปกครอง” (divide and rule) เพราะอังกฤษได้แบ่งแยกรัฐของกลุ่มน้อย ออกจากรัฐของชาวพม่า และใช้ระบบการปกครองที่ต่างกันออกเป็ น 2 ส่ วนคือ “พม่าแท้” (Burma proper) กับ “เขตชายแดน” (Frontier Areas)
  • 3. - อังกฤษถอนตัว ออกจากพม่าอย่างกะทันหัน พร้ อมกับทิ้ งปั ญหา ความขัดแย้งของกลุ่มชาติพนธุ์ไว้ให้รัฐบาลกลางของพม่าซึ่ งเข้ามารับ ั ภาระหน้าที่แทนผูนารัฐบาลพม่าในช่วงที่ได้รับอิสรภาพแล้ว ้ - นับตั้งแต่นายพลออง ซาน อู นุ และนายพลเนวิน ต่างก็มีทศนคติ ั ต่อการรวมชาติและความเป็ นเอกภาพในบริ บทที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติ พันธุ์ต่างๆ ในพม่าที่แตกต่างกันออกไป - สงครามกลางเมืองที่ได้เริ่ มก่อตัวตั้งแต่ปี ค.ศ. 1948 จนถึงช่ วง วิกฤตในทศวรรษที่ 1960 - นับแต่น้ นมา พม่าก็ได้กลายเป็ นดินแดนแห่งการสู ้รบระหว่าง ั รัฐบาลกลางกับกองกาลังชนกลุ่มน้อยกลุ่มต่างๆ จนถึงปั จจุบน ั
  • 4. - ประเด็นต่ อมา จากสภาพภูมิประเทศซึ่งแยกชุมชนของกลุ่มชาติ พันธุ์ออกจากกัน ด้วยเทือกเขาสูง ป่ าทึบและแม่น้ า - อีกทั้งยังส่ งเสริ มให้เกิดความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมและภาษา ของกลุ่มชาติพนธุ์โดยการคงเอกลักษณ์เด่นของตนไว้ ไม่มีการ ั ผสมผสานเพื่อก่อให้เกิดการเรี ยนรู ้และการยอมรับซึ่งกันและกัน
  • 5. - ปัญหาความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลพม่าและกองกาลังชนกลุ่มน้อย ได้กลายสภาพเป็ นปัญหาที่บนทอนความมันคงและเอกภาพของรัฐ ั่ ่ ดังนั้นความจาเป็ นของรัฐบาลพม่าในการที่จะธารงไว้ซ่ ึงความเป็ น เอกภาพของรัฐด้วยการทาสงครามสยบกองกาลังชนกลุ่มน้อยกลุ่มต่างๆ เหล่านี้ และได้กลายเป็ นภารกิจความสาคัญอย่างยิงยวดในเชิงนโยบาย ่ เป็ นสาคัญอันดับแรกของประเทศ
  • 6. การเมืองภายในระหว่ างรัฐบาลพม่ ากับชนกลุ่มน้ อย 1.) ประเทศสหภาพพม่าเป็ นประเทศที่มีปัญหาหารเมืองภายใน โดยเฉพาะปัญหาความขัดแย้งกับกองกาลังชนกลุ่มน้อยกลุ่มต่างๆ ความ ขัดแย้งนี้เกิดขึ้นมาเป็ นเวลานานนับตั้งแต่สมัยหลังอาณานิคม (ปี 1948) และดาเนินต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบน ผลพวงของความขัดแย้งคือ ั สงครามกลางเมืองที่นาไปสู่ ความอ่อนแอทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม โดยรวมของประเทศพม่า
  • 7. 2.)ปัญหาความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลพม่าและกองกาลังชนกลุ่ม น้อย ได้กลายสภาพเป็ นปัญหาที่บนทอนความมันคงและเอกภาพของรัฐ ั่ ่ เนื่องจากกองกาลังชนกลุ่มน้อยกลุ่มต่างๆ มีอาณาบริ เวณและมวลชนที่ สนับสนุนตนเอง นอกจากนี้ยงมีทรัพยากรธรรมชาติ และช่องทางในการ ั แสวงหาผงประโยชน์ในเชิงงบประมาณ มาสนับสนุนกองกาลังและ มวลชนของตนในอดีตกองกาลังชนกลุ่มต่างๆ เหล่านี้มีอาณาเขต ปกครองของตนเอง ดังนั้นความปรารถนาที่จะแยกเป็ นรัฐอิสระไม่อยู่ ภายใต้การปกครองของรัฐบาลกลางพม่ายังคงสื บสานมาจนถึงปัจจุบน ั เป็ นความจาเป็ นของรัฐบาลพม่าในการที่จะธารงไว้ซ่ ึงความเป็ นเอกภาพ ของรัฐด้วยการทาสงครามสยบกองกาลังชนกลุ่มน้อยกลุ่มต่างๆ เหล่านี้ และได้กลายเป็ นภารกิจความสาคัญอย่างยิงยวดในเชิงนโยบายเป็ น ่ สาคัญอันดับแรกของประเทศ
  • 8. 3.)การจัดลาดับความสาคัญของพื้นที่ในการปราบปรามกองกาลัง ชนกลุ่มน้อยเรี ยงลาดับตามความสาคัญเร่ งด่วนเนื่องจากรัฐบาลพม่ามี ความขัดแย้งกับกองกาลังชนกลุ่มน้อยหลายกลุ่ม เช่น คะฉิ่น ฉาน(ไทย ใหญ่) โกกั้ง กะเหรี่ ยง คะยาห์ มอญ และยังมีกลุ่มต่อต้านรัฐบาล เช่น พรรคคอมมิวนิสต์พม่า และกองกาลังต่างชาติ เช่น ก๊กมินตั้งการจะ ปราบปรามกองกาลังชนกลุ่มน้อยทุกกลุ่มในเวลาเดียวกันเป็ นสิ่ งที่ เป็ นไปไม่ได้ ดังนั้นรัฐบาลพม่าจึงเลือกลาดับความสาคัญในการ ปราบปรามเป็ นพื้นที่ไป ในขณะที่ปราบปรามพื้นที่หนึ่ง อีกพื้นที่หนึ่งจึง มีโอกาสสร้างเสริ มความเข้มแข็งในขณะที่ปลอดภารกิจด้านสงคราม ใน กรณี น้ ีเกิดขึ้นกับชนกลุ่มน้อยบริ เวณชายแดนไทย ซึ่งปลอดสงคราม กับ พม่าในช่วงปี 1962-1989 เนื่องจากรัฐบาลพม่าหันไปทุ่มเทกาลังต่อสู ้ ให้กบรัฐฉาน กลุ่มพรรคมอญใหม่ของมอญ และกลุ่มสหภาพแห่งชาติ ั กะเหรี่ ยง จึงสมารถพัฒนากองกาลังของตนเองจนเข้มแข็ง
  • 9. 4.)การเสริ มสร้างความเข้มแข็งของกาลังกลุ่มพรรคมอญใหม่และ สภาพกะเหรี่ ยง กระทาโดยใช้โอกาสจากสภาพภูมิศาสตร์ที่ใกล้ชิด พรมแดนไทย และการถมช่องว่างของตลาดมืดของพม่า อันเกิดจาก สภาวะขาดแคลนสิ นค้าประเภทอุปโภคบริ โภคด้วยขบวนการลักลอบ ค้าขายกองกาลังชนกลุ่มน้อยสามารถสร้างเครื อข่ายทางด้านการค้ากับ พ่อค้าไทยในฝั่งไทย และพ่อค้าจากฝั่งพม่าที่ตองผ่านเข้า – ออกอาณา ้ บริ เวณของตน สามารถสร้างความร่ ารวยให้กองกาลังของตนจาก ขบวนการค้านอกกฎหมายนี้ เครื อข่ายอันแน่นเหนียวและเต็มไปด้วย ่ ผลประโยชน์น้ ียากต่อการทาลาย ถึงแม้วารัฐบาลพม่าจะเจรจาสงบศึกกับ กลุ่มมอญและสยบอิทธิพลของกลุ่มกะเหรี่ ยงได้ในระดับหนึ่ง แต่ไม่ สามารถทาลายล้างเครื อข่ายของธุรกิจนอกกฎหมายนี้ได้ และเครื อข่ายนี้ พร้อมที่จะกลับมามีบทบาทได้หากสถานการณ์อานวย
  • 10. 5.)รัฐบาลพม่าได้พยายามเข้ามาจัดระเบียบชายแดนใหม่ดวยการ ้ ่ พัฒนาทางด้านกายภาพของเมืองหน้าด่านที่อยูประชิดชายแดนไทย พร้อมๆ กับการเปลี่ยนแปลงระเบียบด้านการการค้าชายแดนให้เข้าระบบ มากขึ้น หลังจากสามารถจัดการปัญหากับชนกลุ่มน้อยได้แล้วในระดับ หนึ่งแต่ในภาคปฏิบติรัฐบาลพม่าไม่สามารถทาลายอิทธิพลด้านการเมือง ั ของกองกาลังชนกลุ่มน้อยได้โดยเด็ดขาด เพราะกองกาลังชนกลุ่มน้อย ได้ทาหน้าที่เป็ นผูคุมครองและจัดสรรผลประโยชน์ให้กบชุมชนใน ้้ ั ท้องถิ่นของตนเป็ นเวลาช้านาน ประกอบกับการที่เห็นเพื่อร่ วมเผ่าพันธุ์ ต้องเผชิญชะตากรรมจากการปราบอันโหดร้อยของทหารพม่า ทาให้เกิด ความเห็นอกเห็นใจ และความภัคดีในองค์กรและกองกาลังที่คุมครองอยู่ ้ ในบริ เวณนั้นความจริ งข้อนี้เป็ นสิ่ งที่รัฐบาลพม่าไม่อาจปฏิเสธ ประเด็น สาคัญจึงอยูท่ีรัฐบาลพม่าจะปฏิบติต่อองค์กรกองกาลังชนกลุ่มน้อย ่ ั อย่างไร เพื่อให้เกิดความสมดุลทางอานาจ แทนการกาจัดให้หมดสิ้ นไป
  • 11. 6.)รัฐบาลพม่าได้ปฏิรูปโครงสร้างและกฎเกณฑ์ทางเศรษฐกิจ โดย มีการผ่อนคลายกฎระเบียบที่เคร่ งครัดลง และเปิ ดโอกาสให้เอกชนเข้ามา มีส่วนร่ วมในการค้าการลงทุนมากยิงขึ้น หลังจากที่ปิดโอกาสมากว่า 26 ่ ปี ของระบบสังคมนิยมวิถีพม่า แต่ในขณะเดียวกัน รัฐบาลยังคงรักษา ระบบการปกครองระบอบเผด็จการทหารอย่างเคร่ งครัดนโยบายที่ผอน ่ คลายกฎเกณฑ์ทางด้านเศรษฐกิจมิใช่นโยบายหลัก หากเป็ นนโยบายรอง ั ที่ตองหลีกทางให้กบนโยบายทางการเมือง ซึ่งหมายความว่า หากรัฐบาล ้ พม่าเห็นว่าการเปิ ดเสรี ทางการค้าและการลงทุนจะทาให้สูญเสี ยอธิปไตย ทางการปกครอง หรื อมีนยที่จะบันทอนความมันคงของชาติ รัฐบาลพม่า ั ่ ่ ย่อมเลือกการรักษาความมันคงของชาติเป็ นสาคัญเสมอ ่
  • 12. ผลกระทบ การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์บริ เวณชายแดนไทย-พม่า ในช่วงปี 1988-1997 จะเห็นได้ชดว่ามีการเปลี่ยนแปลงใน 2 ประเด็นหลัก คือ ั ประเด็นทางด้านการเมือง และประเด็นทางด้านเศรษฐกิจ 1.ด้ านการเมือง กองกาลังชนกลุ่มน้อยบริ เวณชายแดนไทยถูกลดบทบาทลงในกรณี นี้ ได้แก่กองกาลังของกะเหรี่ ยงในบริ เวณจังหวัดเมียวดี ตรงข้ามอาเภอ แม่สอดของไทย และกองกาลังของมอญในบริ เวณรัฐมอญตรงข้าม อาเภอสังขละบุรีถูกแทนที่โดยกองกาลังทหารพม่า
  • 13. ดังนั้น อานาจในการตัดสิ นใจต่อกรณี เหตุการณ์ต่างๆ ในบริ เวณดังกล่าว ่ จึงอยูที่ฝ่ายทหารพม่าซึ่งเป็ นตัวแทนของรัฐบาล เท่ากับเป็ นการคืน ั อานาจการปกครองในบริ เวณนี้ให้กบฝ่ ายรัฐ แต่ไม่ได้หมายความว่า อานาจในท้องถิ่นจะหมดไปโดยสิ้ นเชิง ในทางกลับกัน อาจกล่าวได้วา ่ อานาจและอิทธิพลของชนกลุ่มน้อยที่มีต่อชุมชนในบริ เวณนั้น ยังคงมี ่ อยูอย่างสมบูรณ์ 2. มีการปรับเปลี่ยนกลไกอานาจหน้าที่ และบทบาทขององค์กรทาง เศรษฐกิจและการค้า จากระบบควบคุมการวางแผนจากส่ วนกลาง และ กระจายอานาจสู่ระดับท้องถิ่นมากขึ้น
  • 14. เนื่องจากรัฐบาลพม่าเป็ นรัฐบาลรวมศูนย์อานาจ รัฐบาลท้องถิ่น และนายทหารซึ่งควบคุมดูแลในบริ เวณท้องถิ่นไม่มีอานาจเบ็ดเสร็ จใน การตัดสิ นใจ โดยทางปฏิบติแล้วเจ้าหน้าที่ระดับท้องถิ่นและภูมิภาค ั ่ ้ จาเป็ นต้องฟังนโยบายจากรัฐบาลกลางที่ยางกุงเสมอ จึงทาให้เกิดความ ล่าช้าในการตัดสิ นใจในประเด็นของท้องถิ่น จึงจาเป็ นต้องเสนอเรื่ องต่อ หน่วยเหนือเพือให้มีการตัดสิ น ทาให้หลายกรณี ที่มีความเกี่ยวข้องกับ ่ ไทยในบริ เวณชายแดนต้องเวลานานในการพิจารณา และในหลายกรณี เป็ นข้ออ้างสาหรับเจ้าหน้าที่ในท้องถิ่นในการพิจารณาตัดสิ น
  • 15. 2.)ด้ านเศรษฐกิจ จากการที่รัฐบาลพม่าใช้มาตรการเข้มงวดปิ ดบริ เวณชายแดนด้วย การส่ งทหารเข้าประจาทุกจุดที่เข้าข่ายเป็ นเส้นทางลาเลียงสิ นค้าจากไทย สู่พม่า แต่เนื่องจากความต้องสิ นค้าไทยของชาวพม่ามีค่อนข้างสู ง เมื่อ พ่อค้าพม่าไม่สามารถนาเข้าสิ นค้าไทยได้ตามวิถีการค้าในระบบ ทาให้ สิ นค้าไทยขาดแคลนและมีความต้องการสภาวะเช่นนี้เป็ นแรงจูงใจให้ เกิดขบวนการลักลอบนาเข้าสิ นค้าไทย กอปรกับชายแดนบางด้านเช่น จังหวัดเมียวดี ยังคงมีอิทธิพลของกองกาลังกะเหรี่ ยงหลงเหลืออยู่ ั ขบวนการลักลอบนาเข้าสิ นค้าก็จะต้องไปสานสัมพันธ์กบกองกาลังของ ่ กะเหรี่ ยงเหมือนในอดีตที่ผานมา และหากสถานการณ์ยงคงเป็ นเช่นนี้ ั ต่อไปอีกระยะหนึ่ง จนกระทังกองกาลังกะเหรี่ ยงสามารถฟื้ นฟูองค์กร ่ ของตนด้วยรายได้จากขบวนการลักลอบค้า
  • 16. ก็จะทาให้วฏจักรของการค้าชายแดนหมุนไปสู่ยคปี 1962-1988 อีก ั ุ เช่นเดิม สถานการณ์การค้าชายแดนไทย-พม่า โดยเฉพาะในเขตเมียวดี- แม่สอด ก็ไม่อาจพ้นวังวนของการค้าชายแดนและกองกาลังชนกลุ่ม น้อย-ไปได้
  • 17. อ้างอิง • พรพิมล ตรี โชติ . 2541. ปั ญหาชนกลุ่มน้ อยตามชายแดนไทย- พม่ า : ศึกษาผลกระทบที่มีต่อการค้ า • ระหว่ างประเทศไทยกับสหภาพพม่ า. กรุงเทพ : สถาบันเอเชีย ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. • สืบค้ นจาก http://webcache.googleusercontent.com/search?q=. ออนไลน์ [2-8-2011] • สืบค้ นจาก http://www.ryt9.com/s/bmnd/1026282. ออนไลน์ [2-8-2011] • สืบค้ นจาก http://prachatai.com/journal/2008/04/16490. ออนไลน์ [2-8-2011]