SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 16
Downloaden Sie, um offline zu lesen
บทที่ 2
 สถาปตยกรรมฐานขอมูล
(Database Architecture)
วัตถุประสงค
  ทราบถึงแนวคิดและความสําคัญของสถาปตยกรรมฐานขอมูล
  บอกโครงสราง 3 ระดับของสถาปตยกรรมฐานขอมูลได
  เขาใจถึง schema , mapping , instance
  บอกรายละเอียดของความอิสระในขอมูลได
  บอกวัตถุประสงคของการแบงโครงสรางฐานขอมูลได 3 ระดับได
สถาปตยกรรมฐานขอมูล
       สถาปตยกรรมฐานขอมูลเปนแนวคิดที่แสดงถึงโครงสรางของระบบ
 ฐานขอมูล เกิดขึ้นในป ค.ศ. 1971 โดยคณะทํางาน DBTG(Data Base Task Group)
 โดยไดกาหนดไว 2 ระดับคือ
        ํ
 Schema เปนมุมมองของระบบ (system view)
 Subschema เปนมุมมองผูใชงาน (user views)
สถาปตยกรรมฐานขอมูล
          ตอมาในป ค.ศ. 1975 สถาบัน ANSI (Amarican National Standards
 Institute) และ Standards Planning and Requirements Committee (SPARC) หรือ
 เรียกชื่อยอวา ANSI-SPARC ไดกําหนดสถาปตยกรรมฐานขอมูลใหมโดยมี 3
 ระดับ ทีเรียกวา Three-Level Architecture
           ่
 ระดับภายใน (Internal level)
 ระดับแนวคิด (Conceptual level)
 ระดับภายนอก (External level)
Three-Level Architecture
                      User1               User2                               User3
External
Level
             View 1            View 2                        View 3


                                                  จํานวน entity ทั้งหมด
Conceptual
                              Conceptual          กฎขอบังคับในขอมูล (Constraints)
Level
                               Schema             ระบบความปลอดภัยและกฎความพึงพอใจในขอมูล (I


Internal                       Internal
Level                          Schema        • การจัดการพื้นที่เพื่อการจัดเก็บขอมูลและเรียงลําดับดัชนี
                                             • การจัดเก็บรายละเอียดของ record
                                             • การจัดวางตําแหนงของ record
                              Database       • การบีบอัดขอมูลและเทคนิคการเขารหัส
วัตถุประสงคของการแยกมุมมอง 3 ระดับ
 เพื่อใหผูใชแตละคนสามารถเขาถึงขอมูลชุดเดียวกัน แตอาจมีความแตกตางใน
 ขอมูลทีนําเสนอตอผูใชแตละคน ผูใชแตละคนสามารถเขาไปกําหนดมุมมองขอมูล
           ่
 ตนไดตามความตองการจากไฟลขอมูลเดียวกัน และการเปลียนมุมมองของขอมูล
                                                           ่
 แตละคนจะไมสงผลตอขอมูลหลักใด ๆ รวมถึงไมสงผลกระทบตอผูอื่น
                   
 ผูใชไมจาเปนตองปฏิบัติโดยตรงกับฐานขอมูลในระดับภายใน ซึ่งอยูชั้นกายภาพ ไม
             ํ                                                    
 ตองสนใจในรายละเอียดเกียวกับโครงสรางการจัดเก็บขอมูลภายใน ปลอยใหเปน
                             ่
 หนาที่ของ DBMS เปนตัวจัดการแทน
 ผูบริหารฐานขอมูล สามารถเปลี่ยนโครงสรางการจัดเก็บขอมูลในฐานขอมูลโดย
 ปราศจากผลกระทบใด ๆ ตอมุมมองของผูใชงาน
 กรณีมีการเปลี่ยนแปลงอุปกรณในการจัดเก็บขอมูล ไมสงผลกระทบตอฐานขอมูล
 ผูบริหารฐานขอมูลสามารถเขาไปเปลียนแปลงโครงสรางฐานขอมูลในระดับแนวคิด
                                      ่
 ซึ่งไมกระทบตอการการใชงานของผูใชงานใด ๆ
ระดับภายใน (Internal level)
       ระดับภายในเปนระดับที่เกี่ยวของกับ การจัดการขอมูลในระดับ ฟซิคอล
(physical) วามีรูปแบบโครงสรางขอมูลจัดเก็บอยางไร (how) ในฐานขอมูล เชน
โครงสรางขอมูลเปนแบบเรียงลําดับดัชนี(index) บีที (B-tree) หรือพอยนเตอร(Pointer)
ระดับภายในยังเกี่ยวของกับการบีบอัดขอมูล การเขารหัสขอมูล โดยผูใชงานทั่วไปจะไม
สามารถมองเปนรายละเอียดในระดับนี้ได
ระดับแนวคิด (Conceptual level)
        ระดับนี้อาจเรียกอีกชื่อหนึ่งวา โครงสรางขอมูลระดับลอจิคล (logical)
                                                                 ั
 เปนโครงสรางหลักของระบบโดยรวม ในระดับนี้จะมุงเนนความสัมพันธ
                                                      
 (relationship)ระหวางขอมูลเปนสําคัญ หรือเรียกวา แบบจําลองขอมูล (data
 model) เปนระดับที่อธิบายวา ขอมูลอะไร(what) ที่จะจัดเก็บลงในฐานขอมูล
 และมีความสัมพันธกันอยางไร โดยมีความเกี่ยวของกับสิ่งตอไปนี้
   จํานวนเอ็นติตทั้งหมดและความสัมพันธของเอ็นติตี้
                ี้
   กฏเกณฑในขอมูล
   ความปลอดภัยและความคงสภาพในขอมูล
      การกระทําใด ๆ ในโปรแกรมจากผูใชงานจะปฏิบัตบนโครงสรางขอมูล
                                                 ิ
 ในระดับนี้เทานั้น
ระดับภายนอก (External level)
          เปนระดับสูงสุดที่เกียวของกับผูใชงานมากที่สุด โครงสรางขอมูลในระดับ
                               ่
 ภายนอกคือบางสวนของขอมูลในฐานขอมูลระดับแนวคิด ที่ผูใชเลือกที่จะดูเฉพาะ
 บางสวนที่ตองการ หรือเรียกวา วิว(view)
          ผูใชแตละคนมีความตองการดูขอมูลที่แตกตางกัน เชนตองการจะทราบวา
 นักศึกษาคนนี้อยูสาขาใด ก็ไมมีความจําเปนที่จะตองเห็นโครงสรางขอมูลทั้งหมด
 ของนักศึกษา แตตองการเพียงรหัสนักศึกษา ชื่อ – สกุล รหัสสาขาและชื่อสาขา
 เทานั้น
สคีมา (Schema) และอินสแตนซ (Instances)
 Database Schema คือ โครงสรางฐานขอมูลในระบบ
 Database Instances คือ ชวงเวลาที่มีการเพิ่มขอมูลใหม เขาไปในฐานขอมูล
        สคีมาเปรียบเสมือนแบบพิมพเขียวทางเทคนิคของฐานขอมูล โดยจะมีแบบ
 เปน 3 ระดับเชนเดียวกันคือ
 External Schema โครงรางระดับภายนอก
 Conceptual Schema โครงรางระดับแนวคิด
 Internal Schema โครงรางระดับภายใน
การแปลงรูป (Mapping)
        DBMS จะตอบสนองดวยการแปลงรูประหวางสคีมาทั้งสามชนิด โดยจะมี
 การแปลง 2 ประเภทคือ
 การแปลงรูประหวางระดับภายนอกกับระดับแนวคิด(external/conceptual mapping)
 เพื่อแปลงขอมูลจากระดับแนวคิดใหไปสูผูใชในระดับภายนอก
 การแปลงรูประหวางระดับแนวคิดกับระดับภายใน
 (conceptual/internal mapping)
 เพื่อแปลงขอมูลในระดับฟสิคอลใหอยูในรูปแบบของระดับแนวคิด
ความอิสระของขอมูล (Data Independence)
 ความอิสระของขอมูลทางลอจิคล (Logical Data Independence)
                            ั
 การเปลี่ยนแปลงในโครงรางแนวคิด เชน การเพิ่ม การเปลียนแปลงแอตตริบิวต
                                                     ่
 หรือ ความสัมพันธใด ๆ จะไมสงผลกระทบตอโครงรางภายนอกทีผูใชใชงานอยู
                                                            ่
 ความอิสระของขอมูลทางฟสิคอล (Physical Data Independent)
 การเปลี่ยนแปลงโครงรางภายใน เชน การปรับปรุงโครงสรางไฟลใหม หรือการ
 เปลียนแปลงโครงสรางการจัดเก็บขอมูลดวยการใชอุปกรณจัดเก็บขอมูลที่แตกตาง
     ่
 ไปจากเดิม ไมสงผลกระทบตอการเรียกดูขอมูลจากผูใชงาน
               
รูปแสดงความแตกตางของระดับทั้งสาม
External View 1             External View 2    Staff_no    Lname   Bno

Sno          Fname       Lname         Age       Salary

Conceptual Level
Staff_no    Fname      Lname          DOB     Salary   Branch_no


Internal Level

Struc STAFF {
         int Staff_no;
         int Branch_no;
         char Fname [15];
         char Lname[15];
         struct date Date_of_birth;
         float Salary;
         Sturct Staff *next ; }
วัตถุประสงคของการแบงโครงสรางฐานขอมูล 3 ระดับ
1) ผูใชงานไมจําเปนตองสนใจในรายละเอียดเกียวกับโครงสรางการจัดเก็บขอมูล
                                             ่
   ไมวาโครงสรางการจัดเก็บขอมูลจะเปนแบบใด
2) ผูใชงานแตละคนสามารถเขาถึงขอมูลชุดเดียวกัน แตอาจมีความตองการนําเสนอ
   ขอมูลหรือแสดงมุมมองของขอมูลที่แตกตางกัน
3) ความอิสระของขอมูล ไมตองทําการแกไขโปรแกรมทุกครั้งเมื่อมีการ
   เปลียนแปลงโครงสรางของขอมูล
        ่
มีคําถามไหมคะ ?
คําถามทายบทที่ 2 ( ใหทําในหองเรียน 30 นาที )
1.   คําวา “สถาปตยกรรม” ในเชิงคอมพิวเตอรศาสตรหมายถึงอะไร และเกียวของ
                                                                       ่
     กับอะไรเปนสําคัญ
2.   สถาปตยกรรมฐานขอมูล Ansi-SPARC มีกี่ระดับ อะไรบาง และแตละระดับ
     มีความสัมพันธอยางไร
3.   การออกแบบฐานขอมูลเชิงแนวคิด (Conceptual Database Design) คือ
     อะไร
4.   การออกแบบฐานขอมูลเชิงกายภาพ (Physical Database Design) คือ
     อะไร
5.   การแบงโครงสรางฐานขอมูลออกเปน 3 ระดับ มีไวเพื่อวัตถุประสงคใดเปฯ
     สําคัญ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFD
skiats
 
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูลบทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
ครูสม ฟาร์มมะนาว
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
sunisa3112
 
สถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูล
ด.ช. ทีม น่ะจ๊ะ
 
03 data abstraction
03 data abstraction03 data abstraction
03 data abstraction
Opas Kaewtai
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
kruthanyaporn
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
Orapan Chamnan
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
Tophuto Piyapan
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
ABELE Snvip
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
chanoot29
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
Yongyut Nintakan
 

Was ist angesagt? (20)

การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFD
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูล
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูลบทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
 
01 introduction-to-system-analysis-and-design
01 introduction-to-system-analysis-and-design01 introduction-to-system-analysis-and-design
01 introduction-to-system-analysis-and-design
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
สถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์บทที่ 3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
03 data abstraction
03 data abstraction03 data abstraction
03 data abstraction
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
 
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผลStat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
 

Andere mochten auch

สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
ด.ช. ทีม น่ะจ๊ะ
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
skiats
 
Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
skiats
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
skiats
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
guestc3a629f6
 
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
skiats
 
อุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผลอุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผล
skiats
 
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
Saranyu Srisrontong
 
การ Setup disk quota กับ user ทุกคน
การ Setup disk quota กับ user ทุกคนการ Setup disk quota กับ user ทุกคน
การ Setup disk quota กับ user ทุกคน
skiats
 
Lesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptLesson1 programing concept
Lesson1 programing concept
skiats
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chart
bbgunner47
 
Hashing function
Hashing functionHashing function
Hashing function
Meaw Sukee
 
DFD ภาษาอังกฤษ
DFD ภาษาอังกฤษDFD ภาษาอังกฤษ
DFD ภาษาอังกฤษ
skiats
 
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
skiats
 
01 ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
01 ความรู้เกี่ยวกับการ web programming01 ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
01 ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
supatra178
 

Andere mochten auch (20)

สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
6 - functions
6  - functions6  - functions
6 - functions
 
Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Lecture5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
Computer Programming 1
Computer Programming 1Computer Programming 1
Computer Programming 1
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
 
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
 
อุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผลอุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผล
 
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
 
การ Setup disk quota กับ user ทุกคน
การ Setup disk quota กับ user ทุกคนการ Setup disk quota กับ user ทุกคน
การ Setup disk quota กับ user ทุกคน
 
Lesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptLesson1 programing concept
Lesson1 programing concept
 
Linklist
LinklistLinklist
Linklist
 
Search
SearchSearch
Search
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chart
 
Hashing function
Hashing functionHashing function
Hashing function
 
Sorting
SortingSorting
Sorting
 
DFD ภาษาอังกฤษ
DFD ภาษาอังกฤษDFD ภาษาอังกฤษ
DFD ภาษาอังกฤษ
 
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
 
01 ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
01 ความรู้เกี่ยวกับการ web programming01 ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
01 ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
 

Ähnlich wie สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล

สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
kunanya12
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
ด.ช. ทีม น่ะจ๊ะ
 
งานครูทรงศักดิ์1
งานครูทรงศักดิ์1งานครูทรงศักดิ์1
งานครูทรงศักดิ์1
startnaza
 
งานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมงานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอม
kanjana123
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
Isareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
niwat50
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
chanoot29
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
MyunDao
 

Ähnlich wie สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล (20)

สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
สถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรมสถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรม
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
 
งานครูทรงศักดิ์1
งานครูทรงศักดิ์1งานครูทรงศักดิ์1
งานครูทรงศักดิ์1
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
 
งานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมงานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอม
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
mind map
mind map mind map
mind map
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 

Mehr von skiats

อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
skiats
 
รูปแบบโครงการ
รูปแบบโครงการรูปแบบโครงการ
รูปแบบโครงการ
skiats
 
ตัวแปรและค่าคงที่ basic data type
ตัวแปรและค่าคงที่ basic data typeตัวแปรและค่าคงที่ basic data type
ตัวแปรและค่าคงที่ basic data type
skiats
 
4 - statement
4  - statement4  - statement
4 - statement
skiats
 
การใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminการใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadmin
skiats
 
แบบจำลองข้อมูล
แบบจำลองข้อมูลแบบจำลองข้อมูล
แบบจำลองข้อมูล
skiats
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
skiats
 
รวบรวมความต้องการ
รวบรวมความต้องการรวบรวมความต้องการ
รวบรวมความต้องการ
skiats
 
วงจรพัฒนาระบบ SDLC
วงจรพัฒนาระบบ SDLCวงจรพัฒนาระบบ SDLC
วงจรพัฒนาระบบ SDLC
skiats
 
ความหมายการวิเคราะห์ระบบ
ความหมายการวิเคราะห์ระบบความหมายการวิเคราะห์ระบบ
ความหมายการวิเคราะห์ระบบ
skiats
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
skiats
 
การ Normalization
การ Normalizationการ Normalization
การ Normalization
skiats
 

Mehr von skiats (12)

อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
 
รูปแบบโครงการ
รูปแบบโครงการรูปแบบโครงการ
รูปแบบโครงการ
 
ตัวแปรและค่าคงที่ basic data type
ตัวแปรและค่าคงที่ basic data typeตัวแปรและค่าคงที่ basic data type
ตัวแปรและค่าคงที่ basic data type
 
4 - statement
4  - statement4  - statement
4 - statement
 
การใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminการใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadmin
 
แบบจำลองข้อมูล
แบบจำลองข้อมูลแบบจำลองข้อมูล
แบบจำลองข้อมูล
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
 
รวบรวมความต้องการ
รวบรวมความต้องการรวบรวมความต้องการ
รวบรวมความต้องการ
 
วงจรพัฒนาระบบ SDLC
วงจรพัฒนาระบบ SDLCวงจรพัฒนาระบบ SDLC
วงจรพัฒนาระบบ SDLC
 
ความหมายการวิเคราะห์ระบบ
ความหมายการวิเคราะห์ระบบความหมายการวิเคราะห์ระบบ
ความหมายการวิเคราะห์ระบบ
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
การ Normalization
การ Normalizationการ Normalization
การ Normalization
 

สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล

  • 2. วัตถุประสงค ทราบถึงแนวคิดและความสําคัญของสถาปตยกรรมฐานขอมูล บอกโครงสราง 3 ระดับของสถาปตยกรรมฐานขอมูลได เขาใจถึง schema , mapping , instance บอกรายละเอียดของความอิสระในขอมูลได บอกวัตถุประสงคของการแบงโครงสรางฐานขอมูลได 3 ระดับได
  • 3. สถาปตยกรรมฐานขอมูล สถาปตยกรรมฐานขอมูลเปนแนวคิดที่แสดงถึงโครงสรางของระบบ ฐานขอมูล เกิดขึ้นในป ค.ศ. 1971 โดยคณะทํางาน DBTG(Data Base Task Group) โดยไดกาหนดไว 2 ระดับคือ ํ Schema เปนมุมมองของระบบ (system view) Subschema เปนมุมมองผูใชงาน (user views)
  • 4. สถาปตยกรรมฐานขอมูล ตอมาในป ค.ศ. 1975 สถาบัน ANSI (Amarican National Standards Institute) และ Standards Planning and Requirements Committee (SPARC) หรือ เรียกชื่อยอวา ANSI-SPARC ไดกําหนดสถาปตยกรรมฐานขอมูลใหมโดยมี 3 ระดับ ทีเรียกวา Three-Level Architecture ่ ระดับภายใน (Internal level) ระดับแนวคิด (Conceptual level) ระดับภายนอก (External level)
  • 5. Three-Level Architecture User1 User2 User3 External Level View 1 View 2 View 3 จํานวน entity ทั้งหมด Conceptual Conceptual กฎขอบังคับในขอมูล (Constraints) Level Schema ระบบความปลอดภัยและกฎความพึงพอใจในขอมูล (I Internal Internal Level Schema • การจัดการพื้นที่เพื่อการจัดเก็บขอมูลและเรียงลําดับดัชนี • การจัดเก็บรายละเอียดของ record • การจัดวางตําแหนงของ record Database • การบีบอัดขอมูลและเทคนิคการเขารหัส
  • 6. วัตถุประสงคของการแยกมุมมอง 3 ระดับ เพื่อใหผูใชแตละคนสามารถเขาถึงขอมูลชุดเดียวกัน แตอาจมีความแตกตางใน ขอมูลทีนําเสนอตอผูใชแตละคน ผูใชแตละคนสามารถเขาไปกําหนดมุมมองขอมูล ่ ตนไดตามความตองการจากไฟลขอมูลเดียวกัน และการเปลียนมุมมองของขอมูล ่ แตละคนจะไมสงผลตอขอมูลหลักใด ๆ รวมถึงไมสงผลกระทบตอผูอื่น  ผูใชไมจาเปนตองปฏิบัติโดยตรงกับฐานขอมูลในระดับภายใน ซึ่งอยูชั้นกายภาพ ไม ํ  ตองสนใจในรายละเอียดเกียวกับโครงสรางการจัดเก็บขอมูลภายใน ปลอยใหเปน ่ หนาที่ของ DBMS เปนตัวจัดการแทน ผูบริหารฐานขอมูล สามารถเปลี่ยนโครงสรางการจัดเก็บขอมูลในฐานขอมูลโดย ปราศจากผลกระทบใด ๆ ตอมุมมองของผูใชงาน กรณีมีการเปลี่ยนแปลงอุปกรณในการจัดเก็บขอมูล ไมสงผลกระทบตอฐานขอมูล ผูบริหารฐานขอมูลสามารถเขาไปเปลียนแปลงโครงสรางฐานขอมูลในระดับแนวคิด ่ ซึ่งไมกระทบตอการการใชงานของผูใชงานใด ๆ
  • 7. ระดับภายใน (Internal level) ระดับภายในเปนระดับที่เกี่ยวของกับ การจัดการขอมูลในระดับ ฟซิคอล (physical) วามีรูปแบบโครงสรางขอมูลจัดเก็บอยางไร (how) ในฐานขอมูล เชน โครงสรางขอมูลเปนแบบเรียงลําดับดัชนี(index) บีที (B-tree) หรือพอยนเตอร(Pointer) ระดับภายในยังเกี่ยวของกับการบีบอัดขอมูล การเขารหัสขอมูล โดยผูใชงานทั่วไปจะไม สามารถมองเปนรายละเอียดในระดับนี้ได
  • 8. ระดับแนวคิด (Conceptual level) ระดับนี้อาจเรียกอีกชื่อหนึ่งวา โครงสรางขอมูลระดับลอจิคล (logical) ั เปนโครงสรางหลักของระบบโดยรวม ในระดับนี้จะมุงเนนความสัมพันธ  (relationship)ระหวางขอมูลเปนสําคัญ หรือเรียกวา แบบจําลองขอมูล (data model) เปนระดับที่อธิบายวา ขอมูลอะไร(what) ที่จะจัดเก็บลงในฐานขอมูล และมีความสัมพันธกันอยางไร โดยมีความเกี่ยวของกับสิ่งตอไปนี้ จํานวนเอ็นติตทั้งหมดและความสัมพันธของเอ็นติตี้ ี้ กฏเกณฑในขอมูล ความปลอดภัยและความคงสภาพในขอมูล การกระทําใด ๆ ในโปรแกรมจากผูใชงานจะปฏิบัตบนโครงสรางขอมูล ิ ในระดับนี้เทานั้น
  • 9. ระดับภายนอก (External level) เปนระดับสูงสุดที่เกียวของกับผูใชงานมากที่สุด โครงสรางขอมูลในระดับ ่ ภายนอกคือบางสวนของขอมูลในฐานขอมูลระดับแนวคิด ที่ผูใชเลือกที่จะดูเฉพาะ บางสวนที่ตองการ หรือเรียกวา วิว(view) ผูใชแตละคนมีความตองการดูขอมูลที่แตกตางกัน เชนตองการจะทราบวา นักศึกษาคนนี้อยูสาขาใด ก็ไมมีความจําเปนที่จะตองเห็นโครงสรางขอมูลทั้งหมด ของนักศึกษา แตตองการเพียงรหัสนักศึกษา ชื่อ – สกุล รหัสสาขาและชื่อสาขา เทานั้น
  • 10. สคีมา (Schema) และอินสแตนซ (Instances) Database Schema คือ โครงสรางฐานขอมูลในระบบ Database Instances คือ ชวงเวลาที่มีการเพิ่มขอมูลใหม เขาไปในฐานขอมูล สคีมาเปรียบเสมือนแบบพิมพเขียวทางเทคนิคของฐานขอมูล โดยจะมีแบบ เปน 3 ระดับเชนเดียวกันคือ External Schema โครงรางระดับภายนอก Conceptual Schema โครงรางระดับแนวคิด Internal Schema โครงรางระดับภายใน
  • 11. การแปลงรูป (Mapping) DBMS จะตอบสนองดวยการแปลงรูประหวางสคีมาทั้งสามชนิด โดยจะมี การแปลง 2 ประเภทคือ การแปลงรูประหวางระดับภายนอกกับระดับแนวคิด(external/conceptual mapping) เพื่อแปลงขอมูลจากระดับแนวคิดใหไปสูผูใชในระดับภายนอก การแปลงรูประหวางระดับแนวคิดกับระดับภายใน (conceptual/internal mapping) เพื่อแปลงขอมูลในระดับฟสิคอลใหอยูในรูปแบบของระดับแนวคิด
  • 12. ความอิสระของขอมูล (Data Independence) ความอิสระของขอมูลทางลอจิคล (Logical Data Independence) ั การเปลี่ยนแปลงในโครงรางแนวคิด เชน การเพิ่ม การเปลียนแปลงแอตตริบิวต ่ หรือ ความสัมพันธใด ๆ จะไมสงผลกระทบตอโครงรางภายนอกทีผูใชใชงานอยู ่ ความอิสระของขอมูลทางฟสิคอล (Physical Data Independent) การเปลี่ยนแปลงโครงรางภายใน เชน การปรับปรุงโครงสรางไฟลใหม หรือการ เปลียนแปลงโครงสรางการจัดเก็บขอมูลดวยการใชอุปกรณจัดเก็บขอมูลที่แตกตาง ่ ไปจากเดิม ไมสงผลกระทบตอการเรียกดูขอมูลจากผูใชงาน 
  • 13. รูปแสดงความแตกตางของระดับทั้งสาม External View 1 External View 2 Staff_no Lname Bno Sno Fname Lname Age Salary Conceptual Level Staff_no Fname Lname DOB Salary Branch_no Internal Level Struc STAFF { int Staff_no; int Branch_no; char Fname [15]; char Lname[15]; struct date Date_of_birth; float Salary; Sturct Staff *next ; }
  • 14. วัตถุประสงคของการแบงโครงสรางฐานขอมูล 3 ระดับ 1) ผูใชงานไมจําเปนตองสนใจในรายละเอียดเกียวกับโครงสรางการจัดเก็บขอมูล ่ ไมวาโครงสรางการจัดเก็บขอมูลจะเปนแบบใด 2) ผูใชงานแตละคนสามารถเขาถึงขอมูลชุดเดียวกัน แตอาจมีความตองการนําเสนอ ขอมูลหรือแสดงมุมมองของขอมูลที่แตกตางกัน 3) ความอิสระของขอมูล ไมตองทําการแกไขโปรแกรมทุกครั้งเมื่อมีการ เปลียนแปลงโครงสรางของขอมูล ่
  • 16. คําถามทายบทที่ 2 ( ใหทําในหองเรียน 30 นาที ) 1. คําวา “สถาปตยกรรม” ในเชิงคอมพิวเตอรศาสตรหมายถึงอะไร และเกียวของ ่ กับอะไรเปนสําคัญ 2. สถาปตยกรรมฐานขอมูล Ansi-SPARC มีกี่ระดับ อะไรบาง และแตละระดับ มีความสัมพันธอยางไร 3. การออกแบบฐานขอมูลเชิงแนวคิด (Conceptual Database Design) คือ อะไร 4. การออกแบบฐานขอมูลเชิงกายภาพ (Physical Database Design) คือ อะไร 5. การแบงโครงสรางฐานขอมูลออกเปน 3 ระดับ มีไวเพื่อวัตถุประสงคใดเปฯ สําคัญ