SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 44
รายงาน
     เรื่อง การแก้ไขปัญหา
ทรัพยากรป่าไม้เพื่อความยังยืน
                          ่
          ด้วยหลักเศรษฐกิจพอ
   เพียง
เสนอ
 อาจารย์ จุไรรัตน์ คุรุโคตร
วิชา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอ
           เพียง
    กับการพัฒนาที่ยงยืน
                   ั่
สมาชิก
1.น.ส. กันยกานต์   เนียมจันทร์     53011712076

2. น.ส. ปรียาภรณ์ กานานนนท์         53011712081
3. น.ส. ไพจิตร ไชยงค์              53011712084
4. น.ส. มัจฉรีพร อดทน             53011712085
5.นาย รชานนท์ เดชสุภา              53011712086
6. น.ส. ศิวิมล กุลเกลี้ยง         53011712090
7. น.ส. สุดารัตน์ เจียงคำา        53011712092
8. น.ส. สุดารัตน์ หมั่นบำารุง     53011712093
9. น.ส. อรอุมา อินผิว            53011712098
10. น.ส. ดลญา สุชาบุญ            53011722001
11. น.ส. สุกานดา ปองไป            53011722002
ทรัพยากรป่าไม้
       ป่าไม้เป็นส่วนที่มีความสำาคัญ
ต่อระบบนิเวศเป็นอย่างยิ่ง เป็นต้น
นำำา เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า
มากมาย ช่วยป้องกันการชะล้างหน้า
ดิน เป็นส่วนสำาคัญที่ทำาให้เกิดการ
หมุนเวียนของสารต่างๆ ในธรรมชาติ
ฯลฯ
ป่าเป็นสิ่ง
จำาเป็นต่อโลก
แนวทางในการอนุรกษ์ป่าไม้
               ั
- การทำาความเข้าใจถึงความสำาคัญของป่าต่อการดำารงชีวิต
ของมนุษย์ สัตว์ และสิ่งต่างๆ ที่อยู่ในโลก
- การสร้างจิตสำานึกร่วมกันในการดูแลรักษาป่าไม้ในชุมชน
ซึงแนวทางหนึ่งคือการเปิดโอกาสโดยภาครัฐในการออก
   ่
พระราชบัญญัตป่าชุมชน
               ิ
- การออกกฎหมายเพื่อคุมครองพืนที่ป่า และการออกกฎ
                         ้         ำ
เพื่อป้องกันการตัดไม้ทำาลายป่า
- ช่วยกันปลูกป่าในพืำนที่ป่าเสื่อมโทรม โดยอาจจะเป็นการ
ร่วมมือกับสมาชิกในชุมชนเพื่อปลูกป่าในโอกาสต่างๆ
- ติดตามข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมเป็นประจำา เพื่อจะได้
ทราบความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับการร่วมอนุรักษ์ป่าไม้รวมถึง
สิ่งแวดล้อมในด้านอื่นด้วย
ป่าไม้
(Forest)
       หมายถึง บริเวณที่มีต้นไม้หลายชนิด
ขนาดต่างๆ ขึำนอยู่อย่างหนาแน่นและกว้าง
ใหญ่พอที่จะมีอิทธิพลต่อสิงแวดล้อมใน
                             ่
บริเวณนัำน เช่น ความเปลี่ยนแปลงของลมฟ้า
อากาศ ความอุดมสมบูรณ์ของดินและนำำา มี
สัตว์ป่าและสิ่งมีชีวตอื่นซึงมีความสัมพันธ์ซง
                    ิ      ่               ึ่
กันและกัน
ในประเทศไทยเราสามารถแบ่งประเภท
ของป่าออกได้เป็น 2 ประเภทด้วยกันได้แก่
     ป่าไม่ผลัดใบ (Evergreen Forest) ป่า
ประเภทนีำมีประมาณ 30% ของเนืำอที่ป่าทัำง
ประเทศ สามารถแบ่งย่อยออกไปได้อีก 4
ชนิด ดังนีำ
        1 ป่าดิบเมืองร้อน (Tropical
Evergreen Forest)
     2 ป่าสน (Coniferous Forest)
     3 ป่าพรุ (Swamp Forest)
     4 ป่าชายหาด (Beach Forest)
ป่าผลัดใบ (Deciduous Forest) แบ่งได้ 3
ชนิด คือ
     1ป่าเบญจพรรณ (Mixed Deciduous
Forest)
    2ป่าแพะ ป่าแดง ป่าโคก หรือป่าเต็งรัง
(Deciduous Dipterocarp Forest)
    3ป่าหญ้า (Savanna Forest)
ป่าไม่ผลัดใบ
          ลักษณะของป่าดงดิบทัวไป มักเป็นป่าทึบ ประกอบด้วย
                                ่
พันธุไม้มากมายหลายร้อยชนิด ต้นไม้ชัำนบนซึ่งส่วนใหญ่เป็นไม้
     ์
ตระกูลยาง (Dipterocarpaceae) มักมีลำาต้นสูงตัำงแต่ 30 ถึง 50 เมตร
และมีขนาดใหญ่มาก ถัดลงมาก็เป็นต้นไม้ขนาดเล็กและขนาด
กลาง ซึ่งสามารถขึำนอยู่ใต้ร่มเงาของต้นไม้ใหญ่ได้ รวมทังต้นไม้ใน
                                                        ำ
ตระกูลปาล์ม (Palmaceae) ชนิดต่างๆ พืำนป่ามักรกทึบ และประกอบ
ด้วยไม้พุ่ม ไม้ล้มลุก ระกำา หวาย ไม้ไผ่ต่างๆ บนลำาต้นมีพันธุ์ไม้
จำาพวก epiphytes เช่น พวกเฟิร์น และมอส ขึำนอยู่ทั่วไป เถาวัลย์ใน
ป่าชนิดนีำมากกว่าในป่าชนิดอืนๆ ไม้พืำนล่าง (undergrowth) ทีมีใน
                             ่                                ่
ป่าชนิดนีำมี ไม้ไผ่ (bamboo) หลายชนิด เช่น ไม้ฮก
(Dendrocalamus brandisii Kurz.) ไม้เฮีำย (Cephalostachyum
virgatum Kurz.) ไม้ไร่เครือ ไม้ไผ่คลาน (Dinochloa macllelandi
Labill.) เป็นต้น นอกจากนัำนก็มีไม้ในตระกูลปาล์มต่างๆ เช่น ต๋าว
หรือลูกชิด (Arenga pinnata Merr.) เต่าร้าง (Caryota urens Linn.)
และค้อ (Livistona speciosa Kurz.) เป็นต้น รวมทัำงเฟินหรือกูด เฟิน
ต้นและหวาย (Calamus spp.)
ป่าดิบ
เมืองร้อน
               เป็นป่าไม่ผลัดใบ เป็นป่าที่อยู่ใน
เขตที่มีมรสุมพัดผ่านอยู่เกือบตลอดทัำงปี มีปริมาณ
นำำาฝนมาก ดินมีความชืนอยู่ตลอดเวลา ขึำนอยู่ทัำง
                       ำ
ในที่ราบและที่เป็นภูเขาสูง มีกระจายอยู่ทั่วไป
ตัำงแต่ภาคเหนือไปถึงภาคใต้ ป่าดิบเมืองร้อนจะ
เกิดขึำนได้ต้องมีสภาพภูมิอากาศ ค่อนข้างชืนและ
                                           ำ
ฝนตกชุก ได้รับอิทธิพลของลมมรสุมอย่างมาก
แบ่งย่อยตามสภาพความชุ่มชืนและความสูงตำ่า
                              ำ
ของภูมิประเทศ ได้ดังนีำ
ป่าดิบชื้น
ชื้น
           ป่าดิบชืำน (Tropical Rain Forest) มี
อยู่ทั่วไปในทุกภาคของประเทศ และมาก
ที่สุดแถบชายฝั่งภาคตะวันออก เช่น ระยอง
จันทบุรี และที่ภาคใต้ กระจัดกระจาย ตาม
ความสูงตัำงแต่ 0 - 100 เมตรจากระดับนำำา
ทะเลซึงมีปริมาณนำำาฝนตกมากกว่าภาคอื่น ๆ
         ่
ลักษณะทั่วไปมักเป็นป่ารกทึบ ประกอบด้วย
พันธุ์ไม้มากมายหลายร้อยชนิด ต้นไม้สวน    ่
ใหญ่เป็นวงศ์ยาง ไม้ตะเคียน กะบาก อบเชย
จำาปาป่า ส่วนที่เป็นพืชชันล่างจะเป็นพวก
                          ำ
ปาล์ม ไผ่ ระกำา หวาย บุกขอน เฟิร์น มอส
ป่าดิบ
แล้ง
           ป่าดิบแล้ง (Dry Evergreen
Forest) มีอยู่ทั่วไปตามภาคต่าง ๆ ของ
ประเทศ ตามที่ราบเรียบหรือตามหุบเขา มี
ความสูงจากระดับนำำาทะเลประมาณ 500
เมตร และมีปริมาณนำำาฝนระหว่าง
1,000-1,500 ม.ม. พันธุ์ไม้ที่สำาคัญ เช่น
ยางแดง มะค่าโมง เป็นต้น พืำนทีป่าชัำนล่าง
                                  ่
จะไม่หนาแน่นและค่อนข้างโล่งเตียน
เขา
             ป่าดิบเขา (Hill Evergreen
Forest) เป็นป่าที่อยู่สงจากระดับนำำาทะเล
                       ู
ตัำงแต่ 1,000 เมตรขึำนไป ส่วนใหญ่อยู่บน
เทือกเขาสูงทางภาคเหนือ และบางแห่งใน
ภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น
ที่ อช.ทุ่งแสลงหลวง และ อช.นำำาหนาว
เป็นต้น มีปริมาณนำำาฝนระหว่าง 1,000
ถึง2,000 ม. พืชที่สำาคัญได้แก่ไม้วงศ์ก่อ เช่น
ก่อสีเสียด ก่อตาหมูน้อย อบเชย
มีป่าเบจพรรณด้วย เป็นต้น บางทีก็มสนเขา
                                     ี
ขึำนปะปนอยู่ด้วย ส่วนไม้พนล่างเป็นพวก
                           ืำ
เฟิร์น กล้วยไม้ดิน มอสต่าง ๆ ป่าชนิดนีำมัก
เป็นสังคมป่าที่อยู่ถัดจากบริเวณสังคมป่าชาย
เลน โดยอาจจะเป็นพืำนที่ลมที่มีการทับถมของซากพืช
                            ุ่
และอินทรียวัตถุที่ไม่สลายตัว และมีนำาท่วมขังหรือชืน ำ
แฉะตลอดปี จากรายงานของกองสำารวจดิน กรม
พัฒนาที่ดิน (2525) พืำนที่ที่เป็นพรุพบในจังหวัดต่าง ๆ
ดังนีำ นราธิวาส 283,350 ไร่ นครศรีธรรมราช 76,875 ไร่
ชุมพร 16,900 ไร่ สงขลา 5,545 ไร่ พัทลุง 2,786 ไร่
ปัตตานี 1,127 ไร่ และตราด 11,980 ไร่ ส่วนจังหวัดที่พบ
เล็กน้อย ได้แก่ สุราษฎร์ธานี ตรังกระบี่ สตูล ระยอง
จันทบุรี เชียงใหม่ (อ.พร้าว) และจังหวัดชายทะเลอื่น ๆ
รวมเป็นพืำนที่ 400,000 ไร่ อย่างไรก็ตาม พืำนที่ส่วนใหญ่
ถูกบุกรุกทำาลายระบายนำำาออกเปลียนแปลงสภาพเป็นสวน
                                    ่
มะพร้าว นาข้าว และบ่อเลีำยงกุ้งเลีำยงปลา คงเหลือเป็น
พืำนที่กว้างใหญ่ในจังหวัดนราธิวาสเท่านัำน คือ พรุโต๊ะแดง
ซึงยังคงเป็นป่าพรุสมบูรณ์ และพรุบาเจาะ ซึงเป็นพรุ
  ่                                          ่
เสื่อมสภาพแล้ว (ธวัชชัย และชวลิต, 2528) แบ่งเป็นย่อย
บึงนำ้าจืด
             ป่าพรุหรือป่าบึงนำำาจืด (Fresh Water
Swamp Forest) ป่าประเภทนีำอยู่ถัดจากชายฝั่ง
ทะเลเข้ามา จะมีนำาท่วมหรือชืนแฉะตลอดปี ดิน
                             ำ
มักเป็นทรายหรือโคลนตมพันธุ์ไม้ที่ขึำนอยู่ เช่น
สำาโรง กะเบานำำา กันเกรา เป็นต้น ป่าชายเลน
(Mangrove Swamp Forest) ป่าชนิดนีำจะขึำนอยู่ตาม
ชายฝั่งทะเลที่มดินโคลนและนำำาทะเลท่วมถึง เช่น
                ี
ตามชายฝั่งตะวันตก ตัำงแต่ระนองถึงสตูลแถบอ่าว
ไทยตังแต่สมุทรสงครามถึงตราด และจาก
      ำ
ประจวบคีรีขันธ์ลงไปถึงนราธิวาส ไม้ที่สำาคัญเช่น
ไม้โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ แสมลำาพู
โพทะเล เป็นต้น อยู่ในประเทศอีสาน เกิดในภาค
อีสานพบได้ทั่วไป มีหลายชนิดที่เรียกว่าป่าพรุปา ่
ป่า
ชายเลน
         ป่าชายเลน (Mangrove Swamp
Forest) ป่าชนิดนีำจะขึำนอยู่ตามชายฝั่งทะเลที่
มีดินโคลนและนำำาทะเลท่วมถึง เช่น ตาม
ชายฝั่งตะวันตก ตัำงแต่ระนองถึงสตูลแถบ
อ่าวไทยตัำงแต่สมุทรสงครามถึงตราด และ
จากประจวบคีรีขันธ์ลงไปถึงนราธิวาส ไม้ที่
สำาคัญเช่น ไม้โกงกางใบเล็ก โกงกางใบ
ใหญ่ แสมลำาพู โพทะเล เป็นต้น
ป่า
ชายหาด
             ป่าชายหาด (Beach Forest) เป็น
ป่าที่มีอยู่ตามชายฝั่งทะเลที่เป็นดินกรวด
ทรายและโขดหินพันธุ์ไม้จะต่างจากที่ที่นำา
ท่วมถึง ถ้าชายฝั่งเป็นดินทรายก็มีสนทะเล
พืชชัำนล่างก็จะมีพวกตีนนก และพันธ์ไม้
เลืำอยอื่น ๆ อีกบางชนิด ถ้าเป็นกรวดหรือหิน
พันธุ์ไม้ที่ขึำนส่วนใหญ่ก็เป็นพวกกระทิง
หูกวาง เป็นต้น
ป่าชายเลน
                สัตว์ที่อาศัยอยู่ตามพืำนป่าโดยอาศัยคืบ
คลานหรือเกาะหรือขุดรูอยู่ตามพืำนดินรวมทัำงพวกที่อยู่ใน
นำำาจะต้องมีการปรับตัวอย่างมากเพื่อการอยู่รอด เนื่องจาก
ต้องประสบกับสภาวะต่างๆที่เปลียนแปลงอยู่เป็นประจำา
                                   ่
หรือต้องอยู่ในสภาพที่ไม่เหมาะสมต่อการดำารงชีวิตโดย
ทั่วไป เช่น สภาวะที่ทำาให้มีการสูญเสียนำำาออกจากลำาตัว
และสภาพอุณหภูมิสูงสภาพที่มีปริมาณออกซิเจนค่อน
ข้างตำ่าของดินเลน และการเปลี่ยนแปลงความเค็มของนำำา
สภาพแวดล้อมทางทะเล ป่าชายเลนเป็นแหล่งที่อดมไป      ุ
ด้วยสัตว์นำาและสัตว์บกนานาชนิด นับตังแต่สัตว์ ไม่มี
กระดูกสันหลังชันตำ่า ตัำงแต่ ฟองนำำา ซีเลนเตอเรท หนอน
                  ำ
ตัวแบน หนอนปล้องหอยหมึก กุ้ง กัง ปูตลอดจนสัตว์มี
                                       ำ
กระดูกสัน หลังจำาพวก ปลา สัตว์เลืำอยคลาน นก และ
สัตว์เลีำยงลูกด้วยนม สัตว์ต่างๆเหล่านีำ ส่วนใหญ่มีความ
สำาคัญ ทางเศรษฐกิจและมีความสำาคัญต่อ ระบบนิเวศ
ปัจจัยทีก่อให้เกิดป่าไม้
        ่
           การที่ป่าไม้ในแต่ละพืำนที่มความแตก
                                      ี
ต่างกันนัำนมีอิทธิพลมาจากปัจจัยต่างๆ ได้แก่
1 แสงสว่าง (Light)
2 อุณหภูมิ (Temperature)
3 สภาพภูมิอากาศ (Climate)
4 ความชืำนในบรรยากาศ (Atmospheric Moisture)
5 ปริมาณนำำาฝน (Rain)
6 สภาพภูมิประเทศ (Site)
7 สภาพของดิน (Soil)
8 สิงมีชวิต (Creature)
    ่   ี
ความสำาคัญและ
ประโยชน์ของป่าไม้
1 เป็นส่วนที่สำาคัญมากส่วนหนึงของ
                               ่
วัฏจักร
2 ป่าช่วยในการอนุรกษ์ดินและนำำา
                    ั
3 ช่วยปรับสภาพบรรยากาศ
4 ป่าไม้เป็นแหล่งต้นนำำาลำาธาร
5 ป่าไม้เป็นแหล่งปัจจัยสี่ ป่าไม้เป็น
แหล่งผลิต/ผูผลิต
              ้
6 เป็นทีอยู่อาศัยของสัตว์ป่า
        ่
7 เป็นแนวป้องกันลมพายุ
สูญเสียพืำนที่ป่าหรือพืำนที่ป่าไม้เสื่อมโทรมลง สามารถสรุปได้ดงนีำ
                                                               ั
            การทำาไม้ ความต้องการไม้เพื่อกิจการต่างๆ ขาดระบบ
การควบคุมที่ดี ผูที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมุ่งแต่ตัวเลขปริมาตรที่จะทำา
                   ้
ออก โดยไม่ระวังดูแลพืำนทีป่า ไม่ตดตามผลการปลูกป่าทดแทน
                              ่        ิ
            การเพิ่มจำานวนประชากรของประเทศ ทำาให้ความ
ต้องการจากภาคเกษตรกรรมมากขึำน ความจำาเป็นทีต้องการขยาย
                                                    ่
พืำนทีเพาะปลูกเพิ่มขึำน พืำนทีป่าไม้ในเขตภูเขาจึงเป็นเป้าหมายของ
      ่                           ่
การขยายพืำนทีเพื่อการเพาะปลูก
                 ่
         การส่งเสริมการปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจเพื่อ
การส่งออก ทำาให้มีการขยายพืำนทีเพาะปลูกด้วยการบุกรุกป่าเพิ่ม
                                         ่
มากขึำน
           การกำาหนดแนวเขตพื้นที่ป่า กระทำาไม่ชัดเจนหรือไม่
กระทำาเลยในหลายๆ ป่า การบุกรุกพืำนที่ป่าก็ดำาเนินไปเรื่อยๆ กว่า
จะรู้แพ้รู้ชนะป่าก็หมดสภาพไปแล้ว
           การจัดสร้างสาธารณูปโภคของรัฐ อาทิ เขื่อน อ่างเก็บ
นำำา เส้นทางคมนาคม การสร้างเขื่อนขวางลำานำำาจะทำาให้สูญเสียพืำน
ป่า บริเวณที่เก็บนำำาเหนือเขื่อน
            การทำาเหมืองแร่ แหล่งแร่ที่พบในบริเวณทีมีป่าไม้
                                                       ่
ปกคลุมอยู่ มีความจำาเป็นทีจะต้องเปิดหน้าดินก่อน จึงทำาให้ป่าไม้ที่
•
                                ่
ทำาลายป่าไม้
 ทรัพยากรดิน
       การชะล้างพังทลายของดิน ปกติ
พืชพรรณต่างๆ มีบทบาทในการช่วยสกัดกัำน
ไม่ให้ฝนตกถึงดินโดยตรง ความต้านทาน
การไหลบ่าของนำำา ช่วยลดความเร็วของนำำาที่
จะพัดพาหน้า ดินไป มีสวนของรากช่วยยึด
                         ่
เหนี่ยวดินไว้ ทำาให้เกิดความคงทนต่อการ
พังทลายมากยิ่งขึำน แต่หากพืนที่วางเปล่า
                              ำ  ่
อัตราการ พังทลายของดินจะเกิดรุนแรง การ
สูญเสียดินจะเพิมขึำน
                 ่
        ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ บริเวณ
พืนดินที่ไม่มีวัชพืชหรือป่าไม้ปกคลุม การพัด
  ำ
ไม่ติดต่อกันเป็นผืนใหญ่ ทำาให้เกิดการระเหยของ
นำำาจากผิวดินสูง แต่การซึมนำำาผ่านผิวดินตำ่า ดินดูด
ซับและเก็บนำำาภายในดินน้อยลง ทำาให้นำาหล่อ
เลีำยงลำาธารมีน้อยหรือไม่มี
        คุณภาพนำ้าเสื่อมลง คุณภาพนำำาทัำงทาง
กายภาพ เคมี และชีวภาพล้วนด้อยลง ถ้ามีการ
เปลี่ยนแปลง หรือทำาลายพืำนที่ป่า การปนเปือน  ้
ของดินตะกอนที่นำาพัดพาด้วยการไหลบ่าผ่านผิว
หน้าดินหรือในรูปแบบอื่น ๆ นอกจากนีำ การปราบ
วัชพืชหรืออินทรีย์ตางๆ ที่อยู่ในแนวทางเดินของ
                     ่
นำำา ก่อให้เกิดการปนเปือนและสร้างความสกปรก
                         ้
ต่อนำำาได้ ไม่มากก็นอย ้
        นำ้าเสีย การปลดปล่อยของเสียหรือนำำาเสีย
ลงสู่ลำานำำาสาธารณะ จึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะทำาให้
อากาศเสีย การหายใจของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดจะปลดปล่อย
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา หากมีตนไม้จำานวนมากหรือพืำนที่
                                          ้
ป่ามากพอ ต้นไม้เหล่านีจะดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไว้ใน
                        ำ
ตอนกลางวันเพื่อการสังเคราะห์ด้วยแสง หรือก๊าซทีเกิดจากการเผา
                                                    ่
ไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ เช่น คาร์บอนมอนอกไซด์จะดูดซับไว้โดย
พืชชัำนสูงเหล่านีำ อากาศเสียก็จะไม่เกิดขึำน
      โลกร้อน หรือเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก (Green house
Effect) ก๊าซเหล่านีำยอมให้ความร้อนจากดวงอาทิตย์ผานลงมายัง ่
พืำนโลกได้ ทำาให้สามารถเก็บความร้อนจากการดูดซับรังสีไว้มาก
ขึำนโลกจึงมีอุณหภูมิสูงขึำน กลุมก๊าซที่รวมตัวกันเป็นเกราะกำาบัง
                               ่
ได้แก่ ก๊าซมีเทน ไนตรัสออกไซด์ คลอโรฟลูออโรคาร์บอน
คาร์บอนเตตระคลอไรด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ และทีสำาคัญคือ   ่
คาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งมีมากทีสุด   ่
      ทัำงหมดทีกล่าวมานีนักวิทยาศาสตร์ในประเทศไทยนัำนได้
                ่          ำ
กล่าวว่า"การที่โลกมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เยอะนันไม่ได้มีแต่จะ
                                                        ำ
ทำาให้โลกร้อนอย่างเดียวแต่ยังมีประโยชน์ ถ้าเราปลูกต้นไม้ให้มัน
เยอะๆก็ดีแต่ตนไม้มันก็ต้องมีใบที่เหี่ยวแห้งร่วงหล่น ซึ่งเมื่อใบไม้ที่
              ้
เหี่ยวปห้งร่วงหล่นมาสู่พืำนดินแล้วทับถมกันไปเรื่อยๆก็จะทำาให้เกิด
ก๊าซมีเทนซึ่งจะส่งผลเสียแต่อย่างเดียว เพราะก๊าซ
การอนุรักษ์ปาไม้เป็นแนวทางการ
                     ่
แก้ไขปัญหาดังกล่าวกระทำาได้ดังนีำ
         ป่าเพื่อการอนุรกษ์ กำาหนดไว้เพือ
                         ั                ่
อนุรกษ์สงแวดล้อม ดิน นำำา พันธุ์พช พันธุ์
    ั      ิ่                    ื
สัตว์ที่หายาก และป้องกันภัยธรรมชาติอัน
เกิดจากนำำาท่วมและการพังทลายของดิน
ตลอดทัำงเพื่อประโยชน์ในการศึกษา การวิจัย
และนันทนาการของประชาชนในอัตราร้อย
ละ 15 ของพืำนที่ประเทศ หรือประมาณ 48
ล้านไร่
         ป่าเพื่อเศรษฐกิจ กำาหนดไว้เพือการ
                                      ่
ผลิตไม้และของป่า เพือประโยชน์ในทาง
                       ่
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่
            ยังยืน
              ่
1 ความหมายของการใช้ทรัพยากรเพื่อการ
  พัฒนาที่ยั่งยืน
  1.1การพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นคำาที่มีรากฐานมา
  จากหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง
  การพัฒนาคนให้มีคุณภาพ การเพิ่มผลผลิต
  และการใช้หรือจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
  สิงแวดล้อมอย่างฉลาด รู้จักถนอมในการใช้
     ่
  เพือให้มีไว้ใช้ เพื่อใช้มีอย่างยาวนานจนถึงคน
       ่
  รุ่นหลัง
  1.2 การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
   หมายถึง การนำาทรัพยากรธรรมชาติและสิง     ่
  แวดล้อมมาใช้พฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์
                   ั
พัฒนาที่ยั่งยืน คือ การใช้ที่ดินให้เกิดประโยชน์
สูงสุด ทัำงในด้านการเพาะปลูกเลีำยงสัตว์ การสร้าง
บ้านเรือนทื่อยู่อาศัย และกิจการท่องเที่ยว เป็นต้น
มีดังนีำ
2.1 ปลูกพืชคลุมดิน เช่น หญ้าแผก เพือช่วย ่
บรรเทาการกัดเซาะของกระแสลงและฝน
2.2 บำารุงรักษาคุณภาพของดิน โดยใส่ปยและ    ุ๋
เพิ่มแร่ธาตุอาหารในดิน
2.3 ใช้ประโยชน์จากที่ดินให้เหมาะสมกับ
สภาพของดิน โดยกำาหนดโซนหรือเขตพืำนที่ทำา
กิจกรรมทางเศรษฐกิจประเภทต่างๆ เช่น พืนที่ที่มีำ
ดินอุดมสมบูรณ์กำาหนดให้เป็นเขตเพาะปลูก
เป็นต้น
2.4 ควบคุมและป้องกันการพังทลายของดิน
ที่ยั่งยืน
มีหลักการสำาคัญดังนีำ
       3.1 กำาหนดนโยบายป่าไม้แห่งชาติ เพื่อ
เป็นแนวทางการจัดการและพัฒนาทรัพยากรป่าไม้
ของประเทศในระยะยาว เช่น กำาหนดจำานวนพืำนที่
ปลูกป่าในแต่ละปี โดยความร่วมมือระหว่างภาครัฐ
และภาคเอกชนหรือกำาหนดเป้าหมายพืำนที่ปาไม้   ่
ของประเทศอย่างน้อยให้มีร้อยละ 25 ของพืำนที่
ประเทศ เป็นต้น
      3.2 ดำาเนินการอนุรักษ์พื้นที่ป่าไม้ของ
ประเทศ โดยสนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ
ประสานความร่วมมือกับประชาชนในพืำนที่ ให้
ราษฎรมีสวนร่วมรักษาผืนป่าในท้องถิ่นของตน ทัำง
            ่
การปลูกป่าเพิ่มเติม การบำารุงรักษาและการ
การอนุรักษ์ทรัพยากรแร่ธาตุ
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
     แร่ธาตุมีความสำาคัญต่อการ
พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเป็น
อย่างมาก มีการนำามาใช้เป็นวัตถุดิบ
ในอุตสาหกรรมและกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจอื่นๆ แนวทางการอนุรักษ์
แร่ธาตุควรดำาเนินการ ดังนีำ
(1) จัดทำาแผนแม่บทเกียวกับการใช้
                       ่
ทรัพยากรแร่ธาตุของประเทศ เพื่อให้นำา
มาใช้อย่างมีประสิทธิภาพและประโยชน์
อย่างคุ้มค่า
(2) ส่งเสริมการสำารวจพืำนที่หาแหล่งแร่
ธาตุใหม่ ๆ เพิ่มเติม
(3) ส่งเสริมการศึกษาวิจัย เพื่อนนำาแร่
ธาตุชนิดต่างๆ มาใช้ให้เกิดประโยชน์
ทางเศรษฐกิจอย่างคุ้มค่าโดยเน้นในรูป
ของผลิตภัณฑ์หรือสินค้าอุตสาหกรรม
เพื่อเพิ่มมูลค้าของสินค้า
ชาติฯกับการใช้ทรัพยากรเพื่อการ
พัฒนาทียั่งยืน
          ่
      แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2549) ได้
อัญเชิญปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตาม
แนวพระราชดำารัสของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยูหัว มาเป็นหลักในการ
            ่
วางแผนพัฒนาประเทศเฉพาะในส่วนที่
เกี่ยงข้องกับการอนุรกษ์
                    ั
ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม มี
                         ่
สาระสำาคัญ ดังนีำ
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ได้แก่
       (1) การจัดการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรนำำา
แบบบูรณาการในระดับพืำนที่ลุ่มนำำาและฟื้นฟู
คุณภาพของชายฝั่งและทะเล
       (2) อนุรักษ์พืำนที่ปา และจัดการแก้ไขปัญหา
                           ่
ทรัพยากรดินที่เสือมโทรม
                   ่
2 เน้นการอนุรักษ์และฟื้นฟู
ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศให้มีความ
อุดมสมบูรณ์
3 เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารและจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้เอืำอ
ประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
4 รักษาคุณภาพของสิ่งแวดล้อม โดยลดปัญหา
มลพิษ เพื่อให้เมืองและชุมชนน่าอยู่ ประชาชนมี
การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
       ปัญหาด้านป่าไม้
• สัดส่วนของพืนที่ป่าไม้ที่เหมาะสมต่อการ
                 ำ
  รักษาดุลย์ธรรมชาติในความเห็นของนัก
  วิชาการ ควรจะมีเนืำอที่ประมาณร้อยละ ๕๐
  ของพืำนที่ทัำงหมดทั่วประเทศ ส่วนในกรณี
  ของประเทศไทย ซึงมีจำานวนประชากรเพิ่ม
                        ่
  ขึำนมากเช่นนีำ พืำนที่ป่าไม้อาจจะลดลงได้
  บ้าง รัฐบาลได้มีนโยบายกำาหนดพืำนที่ป่า
  ไม้ให้เหลือไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๔๐ ของ
  พืนที่ทัำงประเทศ โดยมีหลักเกณฑ์ในการ
     ำ
• ป่าเพื่อเศรษฐกิจ กำาหนดไว้เพื่อการผลิตไม้
  และของป่าเพื่อประโยชน์ในทางเศรษฐกิจใน
  อัตราร้อยละ ๒๕ ของพืำนที่ทัำงประเทศ
แวดล้อม ดิน นำำา พันธุ์พืช พันธุ์สตว์ปาที่หายาก
                                  ั   ่
และป้องกันภัยธรรมชาติอันจะเกิดจากนำำาท่วม และ
การพังทลายของดิน ตลอดจนเพื่อประโยชน์ใน
การศึกษา วิจัย และนันทนาการของประชาชน ใน
อัตราร้อยละ ๑๕ ของพืำนที่ทัำงประเทศ
     แต่สภาพข้อเท็จจริงจากการสำารวจพืำนที่ปาไม้
                                              ่
ของประเทศไทย โดยภาพถ่ายทางอากาศ ปี พ.ศ.
๒๕๐๔ เปรียบเทียบกับการสำารวจโดยใช้ภาพจาก
ดาวเทียม LANDSAT ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ปรากฎว่า
เนือที่ป่าไม้ได้ลดลงอย่างรวดเร็ว และในปัจจุบัน
   ำ
ลดลงอยู่ในสัดส่วนที่ตำ่ากว่าร้อยละ ๓๐ ของพืำนที่
ทัำงประเทศ ซึ่งเป็นสัดส่วนที่ไม่เหมาะสมต่อการ
รักษาดุลย์ธรรมชาตินก โดยลดลงจาก ๑๗๑ ล้าน
                      ั
ไร่ หรือคิดเป็นเพียงร้อยละ ๓๐ ของเนือที่ทัำง
                                        ำ
ลงโดยเฉลีย ๓.๕ ล้านไร่ต่อปี และในระหว่างปี พ.ศ.
            ่
๒๕๒๕ - พ.ศ. ๒๕๒๘ มีการบุกรุกทำาลายป่า ๔.๗ ล้านไร่
อัตราเฉลี่ย ๑.๕ ล้านไร่ตอปี โดยพืำนที่ป่าไม้ที่ถกทำาลาย
                         ่                      ู
ส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ ภาค
กลางตอนลน และภาคตะวันออกของประเทศ พืำนที่ที่ถูก
บุกรุกซึงส่วนใหญ่จะเกิดจากการจับจองไว้เพื่อการทำาไร่
        ่
เลื่อนลอย การทำาไร่ถาวร
       เพราะการทำาไร่นัำนเป็นการตัดไม้ทุกขนาดในพืำนที่
ลงจนหมดสิำน แล้วทำาการเก็บริบสุมเผาให้เป็นเถ้าถ่าน
เมื่อฝนตกนำำาฝนจะไหลบ่าชะหน้าดิน ซึงอุดมสมบูรณ์ลง
                                       ่
มายังที่ราบลุ่มเป็นเหตุให้แม่นำาลำาธารตืำนเขิน และนำาไปสู่
การกัดเซาะดินเป็นการทำาลายความสมดุลทางนิเวศน์
วิทยา ทัำงยังทำาให้ชาวไร่ตองเพิมอัตราการใช้ปุ๋ย เพราะ
                           ้    ่
หน้าดินถูกชะล้าง จนขาดความอุดมสมบูรณ์ ตะกอนซึง        ่
เกิดจากการกัดเซาะทำาให้อายุการใช้งานของเขื่อนต่าง ๆ
ลดน้อยลงกว่าเดิม สิ่งเหล่านีำเป็นการสูญเสียทาง
ความรู้เท่าไม่ถึงการของราษฎรและ
ความต้องการที่ดินเพื่อปลูกพืช
ทางการเกษตร ในขณะที่การบุกรุก
ทำาลายป่าไม้มีอัตราสูง แต่การส่ง
เสริมการปลูกป่าทดแทนป่าที่ถูก
ทำาลายไปนัำน ดำาเนินการได้ใน
สัดส่วนที่ตำ่ากว่ามากกล่าวคือ ตัำงแต่
เริ่มดำาเนินการจนถึงปี พ.ศ.๒๕๒๙
ปลูกป่าได้เพียง ๓.๕๔ ล้านต้น
พระราชดำาริได้ดังต่อไปนีำ
แนวพระราชดำาริในด้านการปลูกป่า
          ทดแทน
๒. ปลูกป่าเนืองจากพืำนที่ตามบริเวณอ่างเก็บ
                   ่
นำำาหรือเหนืออ่างเก็บนำำาไม่มีความชุ่มชืนยาวนาน
                                        ำ
พอ
      ๓. ปลูกป่าบนเขาสูง เนื่องจากสภาพป่าบนที่
เขาสูงทรุดโทรม ซึ่งจะมีผลกระทบต่อลุ่มนำำาตอน
ล่าง
     ๔. ปลูกป่าเพื่อพัฒนาลุ่มนำำาและแหล่งนำำาให้มี
นำำาสะอาดบริโภค
     ๕. ปลูกป่าเพื่อให้ราษฎรมีรายได้เพิมขึำน โดย
                                          ่
ใช้ราษฎรในท้องที่นัำน ๆ และเป็นการสร้างความ
เข้าใจให้ราษฎรเห็นความสำาคัญของการปลูกป่า
๖. ปลูกป่าเสริมธรรมชาติ เป็นการเพิมที่อยู่อาศัย
                                      ่
แก่สัตว์ป่า
    ๖. ปลูกป่าเสริมธรรมชาติ เป็นการเพิ่มทีอยู่อาศัย
                                          ่
อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้

           (สัตว์ป่าและวนอุทยาน)
๑. ให้มีการสงวนพันธ์สัตว์ป่าและ
เพาะเลียงสัตว์ป่าบางชนิดที่หายาก
        ำ
และกำาลังจะสูญพันธุ์
๒. จัดให้ดำาเนินการเกียวกับสวนสัตว์
                       ่
เปิด เพื่อให้เป็นที่ประชาชนได้
เข้าไปเที่ยวชม พร้อมทัำงส่งเสริมให้
ราษฎรทำาการเพาะเลีำยงสัตว์ป่าเป็น
การขยายพืนที่ทำากิน หรือจัดที่ดนทำากินให้ราษฎรทัำงชาว
             ำ                   ิ
ไทยภูเขา และชาวไทยพืำนราบ
     ๒. จัดที่ทำากินให้ราษฎรแล้ว ยังต้องคำานึงถึงภาวะ
เศรษฐกิจและสังคม พร้อมทัำงสิ่งแวดล้อม บริเวณใกล้
เคียง เช่น มีการฟืนฟูสภาพป่าเสื่อมโทรม และการจัดนำำา
                    ้
บริโภค เป็นต้น
     ๓. ฝึกอาชีพให้ราษฎรสามารถช่วยตัวเองได้และทำา
กินให้เป็นหลักแหล่ง เลิกตัดไม้ทำาลายป่าเพื่อทำาไร่
เลื่อนลอยและปลูกฝิ่น
     ๔. จัดระเบียบหมู่บ้านในรูปสหกรณ์ พร้อมทัำงทำาการ
พัฒนาหมู่บ้านในลักษณะโครงการพัฒนาเพื่อความมั่นคง
เพื่อให้สามารถควบคุมราษฎร ไม่ให้บุกรุกทำาลายป่าและ
ล่าสัตว์ป่า
     ๕. จำาแนกสมรรถนะของที่ดินให้เหมาะสม ที่ดินที่
สามารถทำาประโยชน์ทางด้านเกษตรกรรมได้ก็ให้ใช้ทำา
เกษตรกรรม และพืำนที่ใดที่ไม่สามารถทำาเกษตรกรรมได้
พัฒนาวิจัยด้านป่าไม้
      ๑. ดำาเนินการศึกษาวิจัยด้านป่าไม้ ใน
รูปแบบที่แตกต่างกันตามสภาพท้องถิน    ่
      ๒. ทำาการศึกษาพัฒนาและวิจัยความ
สัมพันธ์ของป่าไม้กับสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ เช่น
ป่าไม้/ประมง ในพืนที่ป่าชายเลน การพัฒนา
                   ำ
ด้านชลประทานเกี่ยวกับป่าไม้ โดยการจ่าย
นำำาตามแหล่งนำำาในช่วงฤดูรอน (แล้ง) เพือให้
                          ้             ่
มีความชุ่มชืน และทำาให้ป่าต้นนำำาลำาธารมี
             ำ
ความชุ่มชืนสมบูรณ์ตลอดทัำงปี และปลูกไม้
           ำ
พืนล้างเสริมเพื่อช่วยลดความรุนแรงของ
   ำ
กระแสนำำาในฤดูฝน
สวัสดี

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1nananattie
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนtawinee
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1mingpimon
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนMaiiTy
 
Biome ชีวะนิเวศน์
Biome ชีวะนิเวศน์Biome ชีวะนิเวศน์
Biome ชีวะนิเวศน์phrontip intarasakun
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)rdschool
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)rdschool
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
410 Bio001 1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมไบโอมระบบนิเวศใช้สอน
410 Bio001 1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมไบโอมระบบนิเวศใช้สอน410 Bio001 1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมไบโอมระบบนิเวศใช้สอน
410 Bio001 1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมไบโอมระบบนิเวศใช้สอนgifted10
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลนChapa Paha
 
โครงการในพระราชดำริ ป่าสงวนขุนแม่กวง
โครงการในพระราชดำริ ป่าสงวนขุนแม่กวงโครงการในพระราชดำริ ป่าสงวนขุนแม่กวง
โครงการในพระราชดำริ ป่าสงวนขุนแม่กวง0857099227
 

Was ist angesagt? (18)

ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลน
 
Biohmes55
Biohmes55Biohmes55
Biohmes55
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลน
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลน
 
1 ecosystem 1
1 ecosystem 11 ecosystem 1
1 ecosystem 1
 
Biome ชีวะนิเวศน์
Biome ชีวะนิเวศน์Biome ชีวะนิเวศน์
Biome ชีวะนิเวศน์
 
Forest
ForestForest
Forest
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
 
410 Bio001 1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมไบโอมระบบนิเวศใช้สอน
410 Bio001 1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมไบโอมระบบนิเวศใช้สอน410 Bio001 1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมไบโอมระบบนิเวศใช้สอน
410 Bio001 1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมไบโอมระบบนิเวศใช้สอน
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลน
 
For
ForFor
For
 
2ถิ่นกำเนิด
2ถิ่นกำเนิด2ถิ่นกำเนิด
2ถิ่นกำเนิด
 
โครงการในพระราชดำริ ป่าสงวนขุนแม่กวง
โครงการในพระราชดำริ ป่าสงวนขุนแม่กวงโครงการในพระราชดำริ ป่าสงวนขุนแม่กวง
โครงการในพระราชดำริ ป่าสงวนขุนแม่กวง
 

Andere mochten auch

ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือพัน พัน
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมคน ขี้เล่า
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยKero On Sweet
 
Deforestation: Causes, Effects and Solutions
Deforestation: Causes, Effects and SolutionsDeforestation: Causes, Effects and Solutions
Deforestation: Causes, Effects and SolutionsKenneth Ho
 

Andere mochten auch (6)

สุขะ56
สุขะ56สุขะ56
สุขะ56
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัย
 
Deforestation: Causes, Effects and Solutions
Deforestation: Causes, Effects and SolutionsDeforestation: Causes, Effects and Solutions
Deforestation: Causes, Effects and Solutions
 

Ähnlich wie การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้

สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)rdschool
 
โครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจโครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจsisirada
 
ทวีปเอเชีย
ทวีปเอเชียทวีปเอเชีย
ทวีปเอเชียjantara
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้Phetmanee Fah
 
งานคอม ทวีปอเมริกาใต้
งานคอม ทวีปอเมริกาใต้งานคอม ทวีปอเมริกาใต้
งานคอม ทวีปอเมริกาใต้Phetmanee Fah
 
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรป่าไม้
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรป่าไม้วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรป่าไม้
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมPinutchaya Nakchumroon
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมkasarin rodsi
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาThanyamon Chat.
 

Ähnlich wie การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้ (20)

สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
 
ป่าไม้ (Forest)
ป่าไม้ (Forest)ป่าไม้ (Forest)
ป่าไม้ (Forest)
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
โครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจโครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจ
 
ทวีปเอเชีย
ทวีปเอเชียทวีปเอเชีย
ทวีปเอเชีย
 
Ecosys 1 62_new
Ecosys 1 62_newEcosys 1 62_new
Ecosys 1 62_new
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 
งานคอม ทวีปอเมริกาใต้
งานคอม ทวีปอเมริกาใต้งานคอม ทวีปอเมริกาใต้
งานคอม ทวีปอเมริกาใต้
 
Ecosystem part 2
Ecosystem part 2Ecosystem part 2
Ecosystem part 2
 
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรป่าไม้
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรป่าไม้วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรป่าไม้
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรป่าไม้
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางระบบนิเวศความหลากหลายทางระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
 
ลักษณะทางกายภาพ 2.3
ลักษณะทางกายภาพ 2.3ลักษณะทางกายภาพ 2.3
ลักษณะทางกายภาพ 2.3
 
ต้นกก
ต้นกกต้นกก
ต้นกก
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 

การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้

  • 1. รายงาน เรื่อง การแก้ไขปัญหา ทรัพยากรป่าไม้เพื่อความยังยืน ่ ด้วยหลักเศรษฐกิจพอ เพียง
  • 2. เสนอ อาจารย์ จุไรรัตน์ คุรุโคตร วิชา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียง กับการพัฒนาที่ยงยืน ั่
  • 3. สมาชิก 1.น.ส. กันยกานต์ เนียมจันทร์ 53011712076 2. น.ส. ปรียาภรณ์ กานานนนท์ 53011712081 3. น.ส. ไพจิตร ไชยงค์ 53011712084 4. น.ส. มัจฉรีพร อดทน 53011712085 5.นาย รชานนท์ เดชสุภา 53011712086 6. น.ส. ศิวิมล กุลเกลี้ยง 53011712090 7. น.ส. สุดารัตน์ เจียงคำา 53011712092 8. น.ส. สุดารัตน์ หมั่นบำารุง 53011712093 9. น.ส. อรอุมา อินผิว 53011712098 10. น.ส. ดลญา สุชาบุญ 53011722001 11. น.ส. สุกานดา ปองไป 53011722002
  • 4. ทรัพยากรป่าไม้ ป่าไม้เป็นส่วนที่มีความสำาคัญ ต่อระบบนิเวศเป็นอย่างยิ่ง เป็นต้น นำำา เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า มากมาย ช่วยป้องกันการชะล้างหน้า ดิน เป็นส่วนสำาคัญที่ทำาให้เกิดการ หมุนเวียนของสารต่างๆ ในธรรมชาติ ฯลฯ
  • 5. ป่าเป็นสิ่ง จำาเป็นต่อโลก แนวทางในการอนุรกษ์ป่าไม้ ั - การทำาความเข้าใจถึงความสำาคัญของป่าต่อการดำารงชีวิต ของมนุษย์ สัตว์ และสิ่งต่างๆ ที่อยู่ในโลก - การสร้างจิตสำานึกร่วมกันในการดูแลรักษาป่าไม้ในชุมชน ซึงแนวทางหนึ่งคือการเปิดโอกาสโดยภาครัฐในการออก ่ พระราชบัญญัตป่าชุมชน ิ - การออกกฎหมายเพื่อคุมครองพืนที่ป่า และการออกกฎ ้ ำ เพื่อป้องกันการตัดไม้ทำาลายป่า - ช่วยกันปลูกป่าในพืำนที่ป่าเสื่อมโทรม โดยอาจจะเป็นการ ร่วมมือกับสมาชิกในชุมชนเพื่อปลูกป่าในโอกาสต่างๆ - ติดตามข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมเป็นประจำา เพื่อจะได้ ทราบความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับการร่วมอนุรักษ์ป่าไม้รวมถึง สิ่งแวดล้อมในด้านอื่นด้วย
  • 6. ป่าไม้ (Forest) หมายถึง บริเวณที่มีต้นไม้หลายชนิด ขนาดต่างๆ ขึำนอยู่อย่างหนาแน่นและกว้าง ใหญ่พอที่จะมีอิทธิพลต่อสิงแวดล้อมใน ่ บริเวณนัำน เช่น ความเปลี่ยนแปลงของลมฟ้า อากาศ ความอุดมสมบูรณ์ของดินและนำำา มี สัตว์ป่าและสิ่งมีชีวตอื่นซึงมีความสัมพันธ์ซง ิ ่ ึ่ กันและกัน
  • 7. ในประเทศไทยเราสามารถแบ่งประเภท ของป่าออกได้เป็น 2 ประเภทด้วยกันได้แก่ ป่าไม่ผลัดใบ (Evergreen Forest) ป่า ประเภทนีำมีประมาณ 30% ของเนืำอที่ป่าทัำง ประเทศ สามารถแบ่งย่อยออกไปได้อีก 4 ชนิด ดังนีำ 1 ป่าดิบเมืองร้อน (Tropical Evergreen Forest) 2 ป่าสน (Coniferous Forest) 3 ป่าพรุ (Swamp Forest) 4 ป่าชายหาด (Beach Forest)
  • 8. ป่าผลัดใบ (Deciduous Forest) แบ่งได้ 3 ชนิด คือ 1ป่าเบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest) 2ป่าแพะ ป่าแดง ป่าโคก หรือป่าเต็งรัง (Deciduous Dipterocarp Forest) 3ป่าหญ้า (Savanna Forest)
  • 9. ป่าไม่ผลัดใบ ลักษณะของป่าดงดิบทัวไป มักเป็นป่าทึบ ประกอบด้วย ่ พันธุไม้มากมายหลายร้อยชนิด ต้นไม้ชัำนบนซึ่งส่วนใหญ่เป็นไม้ ์ ตระกูลยาง (Dipterocarpaceae) มักมีลำาต้นสูงตัำงแต่ 30 ถึง 50 เมตร และมีขนาดใหญ่มาก ถัดลงมาก็เป็นต้นไม้ขนาดเล็กและขนาด กลาง ซึ่งสามารถขึำนอยู่ใต้ร่มเงาของต้นไม้ใหญ่ได้ รวมทังต้นไม้ใน ำ ตระกูลปาล์ม (Palmaceae) ชนิดต่างๆ พืำนป่ามักรกทึบ และประกอบ ด้วยไม้พุ่ม ไม้ล้มลุก ระกำา หวาย ไม้ไผ่ต่างๆ บนลำาต้นมีพันธุ์ไม้ จำาพวก epiphytes เช่น พวกเฟิร์น และมอส ขึำนอยู่ทั่วไป เถาวัลย์ใน ป่าชนิดนีำมากกว่าในป่าชนิดอืนๆ ไม้พืำนล่าง (undergrowth) ทีมีใน ่ ่ ป่าชนิดนีำมี ไม้ไผ่ (bamboo) หลายชนิด เช่น ไม้ฮก (Dendrocalamus brandisii Kurz.) ไม้เฮีำย (Cephalostachyum virgatum Kurz.) ไม้ไร่เครือ ไม้ไผ่คลาน (Dinochloa macllelandi Labill.) เป็นต้น นอกจากนัำนก็มีไม้ในตระกูลปาล์มต่างๆ เช่น ต๋าว หรือลูกชิด (Arenga pinnata Merr.) เต่าร้าง (Caryota urens Linn.) และค้อ (Livistona speciosa Kurz.) เป็นต้น รวมทัำงเฟินหรือกูด เฟิน ต้นและหวาย (Calamus spp.)
  • 10. ป่าดิบ เมืองร้อน เป็นป่าไม่ผลัดใบ เป็นป่าที่อยู่ใน เขตที่มีมรสุมพัดผ่านอยู่เกือบตลอดทัำงปี มีปริมาณ นำำาฝนมาก ดินมีความชืนอยู่ตลอดเวลา ขึำนอยู่ทัำง ำ ในที่ราบและที่เป็นภูเขาสูง มีกระจายอยู่ทั่วไป ตัำงแต่ภาคเหนือไปถึงภาคใต้ ป่าดิบเมืองร้อนจะ เกิดขึำนได้ต้องมีสภาพภูมิอากาศ ค่อนข้างชืนและ ำ ฝนตกชุก ได้รับอิทธิพลของลมมรสุมอย่างมาก แบ่งย่อยตามสภาพความชุ่มชืนและความสูงตำ่า ำ ของภูมิประเทศ ได้ดังนีำ
  • 12. ชื้น ป่าดิบชืำน (Tropical Rain Forest) มี อยู่ทั่วไปในทุกภาคของประเทศ และมาก ที่สุดแถบชายฝั่งภาคตะวันออก เช่น ระยอง จันทบุรี และที่ภาคใต้ กระจัดกระจาย ตาม ความสูงตัำงแต่ 0 - 100 เมตรจากระดับนำำา ทะเลซึงมีปริมาณนำำาฝนตกมากกว่าภาคอื่น ๆ ่ ลักษณะทั่วไปมักเป็นป่ารกทึบ ประกอบด้วย พันธุ์ไม้มากมายหลายร้อยชนิด ต้นไม้สวน ่ ใหญ่เป็นวงศ์ยาง ไม้ตะเคียน กะบาก อบเชย จำาปาป่า ส่วนที่เป็นพืชชันล่างจะเป็นพวก ำ ปาล์ม ไผ่ ระกำา หวาย บุกขอน เฟิร์น มอส
  • 13. ป่าดิบ แล้ง ป่าดิบแล้ง (Dry Evergreen Forest) มีอยู่ทั่วไปตามภาคต่าง ๆ ของ ประเทศ ตามที่ราบเรียบหรือตามหุบเขา มี ความสูงจากระดับนำำาทะเลประมาณ 500 เมตร และมีปริมาณนำำาฝนระหว่าง 1,000-1,500 ม.ม. พันธุ์ไม้ที่สำาคัญ เช่น ยางแดง มะค่าโมง เป็นต้น พืำนทีป่าชัำนล่าง ่ จะไม่หนาแน่นและค่อนข้างโล่งเตียน
  • 14. เขา ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest) เป็นป่าที่อยู่สงจากระดับนำำาทะเล ู ตัำงแต่ 1,000 เมตรขึำนไป ส่วนใหญ่อยู่บน เทือกเขาสูงทางภาคเหนือ และบางแห่งใน ภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น ที่ อช.ทุ่งแสลงหลวง และ อช.นำำาหนาว เป็นต้น มีปริมาณนำำาฝนระหว่าง 1,000 ถึง2,000 ม. พืชที่สำาคัญได้แก่ไม้วงศ์ก่อ เช่น ก่อสีเสียด ก่อตาหมูน้อย อบเชย มีป่าเบจพรรณด้วย เป็นต้น บางทีก็มสนเขา ี ขึำนปะปนอยู่ด้วย ส่วนไม้พนล่างเป็นพวก ืำ เฟิร์น กล้วยไม้ดิน มอสต่าง ๆ ป่าชนิดนีำมัก
  • 15. เป็นสังคมป่าที่อยู่ถัดจากบริเวณสังคมป่าชาย เลน โดยอาจจะเป็นพืำนที่ลมที่มีการทับถมของซากพืช ุ่ และอินทรียวัตถุที่ไม่สลายตัว และมีนำาท่วมขังหรือชืน ำ แฉะตลอดปี จากรายงานของกองสำารวจดิน กรม พัฒนาที่ดิน (2525) พืำนที่ที่เป็นพรุพบในจังหวัดต่าง ๆ ดังนีำ นราธิวาส 283,350 ไร่ นครศรีธรรมราช 76,875 ไร่ ชุมพร 16,900 ไร่ สงขลา 5,545 ไร่ พัทลุง 2,786 ไร่ ปัตตานี 1,127 ไร่ และตราด 11,980 ไร่ ส่วนจังหวัดที่พบ เล็กน้อย ได้แก่ สุราษฎร์ธานี ตรังกระบี่ สตูล ระยอง จันทบุรี เชียงใหม่ (อ.พร้าว) และจังหวัดชายทะเลอื่น ๆ รวมเป็นพืำนที่ 400,000 ไร่ อย่างไรก็ตาม พืำนที่ส่วนใหญ่ ถูกบุกรุกทำาลายระบายนำำาออกเปลียนแปลงสภาพเป็นสวน ่ มะพร้าว นาข้าว และบ่อเลีำยงกุ้งเลีำยงปลา คงเหลือเป็น พืำนที่กว้างใหญ่ในจังหวัดนราธิวาสเท่านัำน คือ พรุโต๊ะแดง ซึงยังคงเป็นป่าพรุสมบูรณ์ และพรุบาเจาะ ซึงเป็นพรุ ่ ่ เสื่อมสภาพแล้ว (ธวัชชัย และชวลิต, 2528) แบ่งเป็นย่อย
  • 16. บึงนำ้าจืด ป่าพรุหรือป่าบึงนำำาจืด (Fresh Water Swamp Forest) ป่าประเภทนีำอยู่ถัดจากชายฝั่ง ทะเลเข้ามา จะมีนำาท่วมหรือชืนแฉะตลอดปี ดิน ำ มักเป็นทรายหรือโคลนตมพันธุ์ไม้ที่ขึำนอยู่ เช่น สำาโรง กะเบานำำา กันเกรา เป็นต้น ป่าชายเลน (Mangrove Swamp Forest) ป่าชนิดนีำจะขึำนอยู่ตาม ชายฝั่งทะเลที่มดินโคลนและนำำาทะเลท่วมถึง เช่น ี ตามชายฝั่งตะวันตก ตัำงแต่ระนองถึงสตูลแถบอ่าว ไทยตังแต่สมุทรสงครามถึงตราด และจาก ำ ประจวบคีรีขันธ์ลงไปถึงนราธิวาส ไม้ที่สำาคัญเช่น ไม้โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ แสมลำาพู โพทะเล เป็นต้น อยู่ในประเทศอีสาน เกิดในภาค อีสานพบได้ทั่วไป มีหลายชนิดที่เรียกว่าป่าพรุปา ่
  • 17. ป่า ชายเลน ป่าชายเลน (Mangrove Swamp Forest) ป่าชนิดนีำจะขึำนอยู่ตามชายฝั่งทะเลที่ มีดินโคลนและนำำาทะเลท่วมถึง เช่น ตาม ชายฝั่งตะวันตก ตัำงแต่ระนองถึงสตูลแถบ อ่าวไทยตัำงแต่สมุทรสงครามถึงตราด และ จากประจวบคีรีขันธ์ลงไปถึงนราธิวาส ไม้ที่ สำาคัญเช่น ไม้โกงกางใบเล็ก โกงกางใบ ใหญ่ แสมลำาพู โพทะเล เป็นต้น
  • 18. ป่า ชายหาด ป่าชายหาด (Beach Forest) เป็น ป่าที่มีอยู่ตามชายฝั่งทะเลที่เป็นดินกรวด ทรายและโขดหินพันธุ์ไม้จะต่างจากที่ที่นำา ท่วมถึง ถ้าชายฝั่งเป็นดินทรายก็มีสนทะเล พืชชัำนล่างก็จะมีพวกตีนนก และพันธ์ไม้ เลืำอยอื่น ๆ อีกบางชนิด ถ้าเป็นกรวดหรือหิน พันธุ์ไม้ที่ขึำนส่วนใหญ่ก็เป็นพวกกระทิง หูกวาง เป็นต้น
  • 19. ป่าชายเลน สัตว์ที่อาศัยอยู่ตามพืำนป่าโดยอาศัยคืบ คลานหรือเกาะหรือขุดรูอยู่ตามพืำนดินรวมทัำงพวกที่อยู่ใน นำำาจะต้องมีการปรับตัวอย่างมากเพื่อการอยู่รอด เนื่องจาก ต้องประสบกับสภาวะต่างๆที่เปลียนแปลงอยู่เป็นประจำา ่ หรือต้องอยู่ในสภาพที่ไม่เหมาะสมต่อการดำารงชีวิตโดย ทั่วไป เช่น สภาวะที่ทำาให้มีการสูญเสียนำำาออกจากลำาตัว และสภาพอุณหภูมิสูงสภาพที่มีปริมาณออกซิเจนค่อน ข้างตำ่าของดินเลน และการเปลี่ยนแปลงความเค็มของนำำา สภาพแวดล้อมทางทะเล ป่าชายเลนเป็นแหล่งที่อดมไป ุ ด้วยสัตว์นำาและสัตว์บกนานาชนิด นับตังแต่สัตว์ ไม่มี กระดูกสันหลังชันตำ่า ตัำงแต่ ฟองนำำา ซีเลนเตอเรท หนอน ำ ตัวแบน หนอนปล้องหอยหมึก กุ้ง กัง ปูตลอดจนสัตว์มี ำ กระดูกสัน หลังจำาพวก ปลา สัตว์เลืำอยคลาน นก และ สัตว์เลีำยงลูกด้วยนม สัตว์ต่างๆเหล่านีำ ส่วนใหญ่มีความ สำาคัญ ทางเศรษฐกิจและมีความสำาคัญต่อ ระบบนิเวศ
  • 20. ปัจจัยทีก่อให้เกิดป่าไม้ ่ การที่ป่าไม้ในแต่ละพืำนที่มความแตก ี ต่างกันนัำนมีอิทธิพลมาจากปัจจัยต่างๆ ได้แก่ 1 แสงสว่าง (Light) 2 อุณหภูมิ (Temperature) 3 สภาพภูมิอากาศ (Climate) 4 ความชืำนในบรรยากาศ (Atmospheric Moisture) 5 ปริมาณนำำาฝน (Rain) 6 สภาพภูมิประเทศ (Site) 7 สภาพของดิน (Soil) 8 สิงมีชวิต (Creature) ่ ี
  • 21. ความสำาคัญและ ประโยชน์ของป่าไม้ 1 เป็นส่วนที่สำาคัญมากส่วนหนึงของ ่ วัฏจักร 2 ป่าช่วยในการอนุรกษ์ดินและนำำา ั 3 ช่วยปรับสภาพบรรยากาศ 4 ป่าไม้เป็นแหล่งต้นนำำาลำาธาร 5 ป่าไม้เป็นแหล่งปัจจัยสี่ ป่าไม้เป็น แหล่งผลิต/ผูผลิต ้ 6 เป็นทีอยู่อาศัยของสัตว์ป่า ่ 7 เป็นแนวป้องกันลมพายุ
  • 22. สูญเสียพืำนที่ป่าหรือพืำนที่ป่าไม้เสื่อมโทรมลง สามารถสรุปได้ดงนีำ ั การทำาไม้ ความต้องการไม้เพื่อกิจการต่างๆ ขาดระบบ การควบคุมที่ดี ผูที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมุ่งแต่ตัวเลขปริมาตรที่จะทำา ้ ออก โดยไม่ระวังดูแลพืำนทีป่า ไม่ตดตามผลการปลูกป่าทดแทน ่ ิ การเพิ่มจำานวนประชากรของประเทศ ทำาให้ความ ต้องการจากภาคเกษตรกรรมมากขึำน ความจำาเป็นทีต้องการขยาย ่ พืำนทีเพาะปลูกเพิ่มขึำน พืำนทีป่าไม้ในเขตภูเขาจึงเป็นเป้าหมายของ ่ ่ การขยายพืำนทีเพื่อการเพาะปลูก ่ การส่งเสริมการปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจเพื่อ การส่งออก ทำาให้มีการขยายพืำนทีเพาะปลูกด้วยการบุกรุกป่าเพิ่ม ่ มากขึำน การกำาหนดแนวเขตพื้นที่ป่า กระทำาไม่ชัดเจนหรือไม่ กระทำาเลยในหลายๆ ป่า การบุกรุกพืำนที่ป่าก็ดำาเนินไปเรื่อยๆ กว่า จะรู้แพ้รู้ชนะป่าก็หมดสภาพไปแล้ว การจัดสร้างสาธารณูปโภคของรัฐ อาทิ เขื่อน อ่างเก็บ นำำา เส้นทางคมนาคม การสร้างเขื่อนขวางลำานำำาจะทำาให้สูญเสียพืำน ป่า บริเวณที่เก็บนำำาเหนือเขื่อน การทำาเหมืองแร่ แหล่งแร่ที่พบในบริเวณทีมีป่าไม้ ่ ปกคลุมอยู่ มีความจำาเป็นทีจะต้องเปิดหน้าดินก่อน จึงทำาให้ป่าไม้ที่ • ่
  • 23. ทำาลายป่าไม้ ทรัพยากรดิน การชะล้างพังทลายของดิน ปกติ พืชพรรณต่างๆ มีบทบาทในการช่วยสกัดกัำน ไม่ให้ฝนตกถึงดินโดยตรง ความต้านทาน การไหลบ่าของนำำา ช่วยลดความเร็วของนำำาที่ จะพัดพาหน้า ดินไป มีสวนของรากช่วยยึด ่ เหนี่ยวดินไว้ ทำาให้เกิดความคงทนต่อการ พังทลายมากยิ่งขึำน แต่หากพืนที่วางเปล่า ำ ่ อัตราการ พังทลายของดินจะเกิดรุนแรง การ สูญเสียดินจะเพิมขึำน ่ ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ บริเวณ พืนดินที่ไม่มีวัชพืชหรือป่าไม้ปกคลุม การพัด ำ
  • 24. ไม่ติดต่อกันเป็นผืนใหญ่ ทำาให้เกิดการระเหยของ นำำาจากผิวดินสูง แต่การซึมนำำาผ่านผิวดินตำ่า ดินดูด ซับและเก็บนำำาภายในดินน้อยลง ทำาให้นำาหล่อ เลีำยงลำาธารมีน้อยหรือไม่มี คุณภาพนำ้าเสื่อมลง คุณภาพนำำาทัำงทาง กายภาพ เคมี และชีวภาพล้วนด้อยลง ถ้ามีการ เปลี่ยนแปลง หรือทำาลายพืำนที่ป่า การปนเปือน ้ ของดินตะกอนที่นำาพัดพาด้วยการไหลบ่าผ่านผิว หน้าดินหรือในรูปแบบอื่น ๆ นอกจากนีำ การปราบ วัชพืชหรืออินทรีย์ตางๆ ที่อยู่ในแนวทางเดินของ ่ นำำา ก่อให้เกิดการปนเปือนและสร้างความสกปรก ้ ต่อนำำาได้ ไม่มากก็นอย ้ นำ้าเสีย การปลดปล่อยของเสียหรือนำำาเสีย ลงสู่ลำานำำาสาธารณะ จึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะทำาให้
  • 25. อากาศเสีย การหายใจของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดจะปลดปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา หากมีตนไม้จำานวนมากหรือพืำนที่ ้ ป่ามากพอ ต้นไม้เหล่านีจะดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไว้ใน ำ ตอนกลางวันเพื่อการสังเคราะห์ด้วยแสง หรือก๊าซทีเกิดจากการเผา ่ ไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ เช่น คาร์บอนมอนอกไซด์จะดูดซับไว้โดย พืชชัำนสูงเหล่านีำ อากาศเสียก็จะไม่เกิดขึำน โลกร้อน หรือเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก (Green house Effect) ก๊าซเหล่านีำยอมให้ความร้อนจากดวงอาทิตย์ผานลงมายัง ่ พืำนโลกได้ ทำาให้สามารถเก็บความร้อนจากการดูดซับรังสีไว้มาก ขึำนโลกจึงมีอุณหภูมิสูงขึำน กลุมก๊าซที่รวมตัวกันเป็นเกราะกำาบัง ่ ได้แก่ ก๊าซมีเทน ไนตรัสออกไซด์ คลอโรฟลูออโรคาร์บอน คาร์บอนเตตระคลอไรด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ และทีสำาคัญคือ ่ คาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งมีมากทีสุด ่ ทัำงหมดทีกล่าวมานีนักวิทยาศาสตร์ในประเทศไทยนัำนได้ ่ ำ กล่าวว่า"การที่โลกมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เยอะนันไม่ได้มีแต่จะ ำ ทำาให้โลกร้อนอย่างเดียวแต่ยังมีประโยชน์ ถ้าเราปลูกต้นไม้ให้มัน เยอะๆก็ดีแต่ตนไม้มันก็ต้องมีใบที่เหี่ยวแห้งร่วงหล่น ซึ่งเมื่อใบไม้ที่ ้ เหี่ยวปห้งร่วงหล่นมาสู่พืำนดินแล้วทับถมกันไปเรื่อยๆก็จะทำาให้เกิด ก๊าซมีเทนซึ่งจะส่งผลเสียแต่อย่างเดียว เพราะก๊าซ
  • 26. การอนุรักษ์ปาไม้เป็นแนวทางการ ่ แก้ไขปัญหาดังกล่าวกระทำาได้ดังนีำ ป่าเพื่อการอนุรกษ์ กำาหนดไว้เพือ ั ่ อนุรกษ์สงแวดล้อม ดิน นำำา พันธุ์พช พันธุ์ ั ิ่ ื สัตว์ที่หายาก และป้องกันภัยธรรมชาติอัน เกิดจากนำำาท่วมและการพังทลายของดิน ตลอดทัำงเพื่อประโยชน์ในการศึกษา การวิจัย และนันทนาการของประชาชนในอัตราร้อย ละ 15 ของพืำนที่ประเทศ หรือประมาณ 48 ล้านไร่ ป่าเพื่อเศรษฐกิจ กำาหนดไว้เพือการ ่ ผลิตไม้และของป่า เพือประโยชน์ในทาง ่
  • 27. การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ ยังยืน ่ 1 ความหมายของการใช้ทรัพยากรเพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืน 1.1การพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นคำาที่มีรากฐานมา จากหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง การพัฒนาคนให้มีคุณภาพ การเพิ่มผลผลิต และการใช้หรือจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิงแวดล้อมอย่างฉลาด รู้จักถนอมในการใช้ ่ เพือให้มีไว้ใช้ เพื่อใช้มีอย่างยาวนานจนถึงคน ่ รุ่นหลัง 1.2 การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน หมายถึง การนำาทรัพยากรธรรมชาติและสิง ่ แวดล้อมมาใช้พฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์ ั
  • 28. พัฒนาที่ยั่งยืน คือ การใช้ที่ดินให้เกิดประโยชน์ สูงสุด ทัำงในด้านการเพาะปลูกเลีำยงสัตว์ การสร้าง บ้านเรือนทื่อยู่อาศัย และกิจการท่องเที่ยว เป็นต้น มีดังนีำ 2.1 ปลูกพืชคลุมดิน เช่น หญ้าแผก เพือช่วย ่ บรรเทาการกัดเซาะของกระแสลงและฝน 2.2 บำารุงรักษาคุณภาพของดิน โดยใส่ปยและ ุ๋ เพิ่มแร่ธาตุอาหารในดิน 2.3 ใช้ประโยชน์จากที่ดินให้เหมาะสมกับ สภาพของดิน โดยกำาหนดโซนหรือเขตพืำนที่ทำา กิจกรรมทางเศรษฐกิจประเภทต่างๆ เช่น พืนที่ที่มีำ ดินอุดมสมบูรณ์กำาหนดให้เป็นเขตเพาะปลูก เป็นต้น 2.4 ควบคุมและป้องกันการพังทลายของดิน
  • 29. ที่ยั่งยืน มีหลักการสำาคัญดังนีำ 3.1 กำาหนดนโยบายป่าไม้แห่งชาติ เพื่อ เป็นแนวทางการจัดการและพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ ของประเทศในระยะยาว เช่น กำาหนดจำานวนพืำนที่ ปลูกป่าในแต่ละปี โดยความร่วมมือระหว่างภาครัฐ และภาคเอกชนหรือกำาหนดเป้าหมายพืำนที่ปาไม้ ่ ของประเทศอย่างน้อยให้มีร้อยละ 25 ของพืำนที่ ประเทศ เป็นต้น 3.2 ดำาเนินการอนุรักษ์พื้นที่ป่าไม้ของ ประเทศ โดยสนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ ประสานความร่วมมือกับประชาชนในพืำนที่ ให้ ราษฎรมีสวนร่วมรักษาผืนป่าในท้องถิ่นของตน ทัำง ่ การปลูกป่าเพิ่มเติม การบำารุงรักษาและการ
  • 30. การอนุรักษ์ทรัพยากรแร่ธาตุ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน แร่ธาตุมีความสำาคัญต่อการ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเป็น อย่างมาก มีการนำามาใช้เป็นวัตถุดิบ ในอุตสาหกรรมและกิจกรรมทาง เศรษฐกิจอื่นๆ แนวทางการอนุรักษ์ แร่ธาตุควรดำาเนินการ ดังนีำ
  • 31. (1) จัดทำาแผนแม่บทเกียวกับการใช้ ่ ทรัพยากรแร่ธาตุของประเทศ เพื่อให้นำา มาใช้อย่างมีประสิทธิภาพและประโยชน์ อย่างคุ้มค่า (2) ส่งเสริมการสำารวจพืำนที่หาแหล่งแร่ ธาตุใหม่ ๆ เพิ่มเติม (3) ส่งเสริมการศึกษาวิจัย เพื่อนนำาแร่ ธาตุชนิดต่างๆ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ ทางเศรษฐกิจอย่างคุ้มค่าโดยเน้นในรูป ของผลิตภัณฑ์หรือสินค้าอุตสาหกรรม เพื่อเพิ่มมูลค้าของสินค้า
  • 32. ชาติฯกับการใช้ทรัพยากรเพื่อการ พัฒนาทียั่งยืน ่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2549) ได้ อัญเชิญปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตาม แนวพระราชดำารัสของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูหัว มาเป็นหลักในการ ่ วางแผนพัฒนาประเทศเฉพาะในส่วนที่ เกี่ยงข้องกับการอนุรกษ์ ั ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม มี ่ สาระสำาคัญ ดังนีำ
  • 33. ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ได้แก่ (1) การจัดการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรนำำา แบบบูรณาการในระดับพืำนที่ลุ่มนำำาและฟื้นฟู คุณภาพของชายฝั่งและทะเล (2) อนุรักษ์พืำนที่ปา และจัดการแก้ไขปัญหา ่ ทรัพยากรดินที่เสือมโทรม ่ 2 เน้นการอนุรักษ์และฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศให้มีความ อุดมสมบูรณ์ 3 เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารและจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้เอืำอ ประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ 4 รักษาคุณภาพของสิ่งแวดล้อม โดยลดปัญหา มลพิษ เพื่อให้เมืองและชุมชนน่าอยู่ ประชาชนมี
  • 34. การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ปัญหาด้านป่าไม้ • สัดส่วนของพืนที่ป่าไม้ที่เหมาะสมต่อการ ำ รักษาดุลย์ธรรมชาติในความเห็นของนัก วิชาการ ควรจะมีเนืำอที่ประมาณร้อยละ ๕๐ ของพืำนที่ทัำงหมดทั่วประเทศ ส่วนในกรณี ของประเทศไทย ซึงมีจำานวนประชากรเพิ่ม ่ ขึำนมากเช่นนีำ พืำนที่ป่าไม้อาจจะลดลงได้ บ้าง รัฐบาลได้มีนโยบายกำาหนดพืำนที่ป่า ไม้ให้เหลือไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๔๐ ของ พืนที่ทัำงประเทศ โดยมีหลักเกณฑ์ในการ ำ
  • 35. • ป่าเพื่อเศรษฐกิจ กำาหนดไว้เพื่อการผลิตไม้ และของป่าเพื่อประโยชน์ในทางเศรษฐกิจใน อัตราร้อยละ ๒๕ ของพืำนที่ทัำงประเทศ
  • 36. แวดล้อม ดิน นำำา พันธุ์พืช พันธุ์สตว์ปาที่หายาก ั ่ และป้องกันภัยธรรมชาติอันจะเกิดจากนำำาท่วม และ การพังทลายของดิน ตลอดจนเพื่อประโยชน์ใน การศึกษา วิจัย และนันทนาการของประชาชน ใน อัตราร้อยละ ๑๕ ของพืำนที่ทัำงประเทศ แต่สภาพข้อเท็จจริงจากการสำารวจพืำนที่ปาไม้ ่ ของประเทศไทย โดยภาพถ่ายทางอากาศ ปี พ.ศ. ๒๕๐๔ เปรียบเทียบกับการสำารวจโดยใช้ภาพจาก ดาวเทียม LANDSAT ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ปรากฎว่า เนือที่ป่าไม้ได้ลดลงอย่างรวดเร็ว และในปัจจุบัน ำ ลดลงอยู่ในสัดส่วนที่ตำ่ากว่าร้อยละ ๓๐ ของพืำนที่ ทัำงประเทศ ซึ่งเป็นสัดส่วนที่ไม่เหมาะสมต่อการ รักษาดุลย์ธรรมชาตินก โดยลดลงจาก ๑๗๑ ล้าน ั ไร่ หรือคิดเป็นเพียงร้อยละ ๓๐ ของเนือที่ทัำง ำ
  • 37. ลงโดยเฉลีย ๓.๕ ล้านไร่ต่อปี และในระหว่างปี พ.ศ. ่ ๒๕๒๕ - พ.ศ. ๒๕๒๘ มีการบุกรุกทำาลายป่า ๔.๗ ล้านไร่ อัตราเฉลี่ย ๑.๕ ล้านไร่ตอปี โดยพืำนที่ป่าไม้ที่ถกทำาลาย ่ ู ส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ ภาค กลางตอนลน และภาคตะวันออกของประเทศ พืำนที่ที่ถูก บุกรุกซึงส่วนใหญ่จะเกิดจากการจับจองไว้เพื่อการทำาไร่ ่ เลื่อนลอย การทำาไร่ถาวร เพราะการทำาไร่นัำนเป็นการตัดไม้ทุกขนาดในพืำนที่ ลงจนหมดสิำน แล้วทำาการเก็บริบสุมเผาให้เป็นเถ้าถ่าน เมื่อฝนตกนำำาฝนจะไหลบ่าชะหน้าดิน ซึงอุดมสมบูรณ์ลง ่ มายังที่ราบลุ่มเป็นเหตุให้แม่นำาลำาธารตืำนเขิน และนำาไปสู่ การกัดเซาะดินเป็นการทำาลายความสมดุลทางนิเวศน์ วิทยา ทัำงยังทำาให้ชาวไร่ตองเพิมอัตราการใช้ปุ๋ย เพราะ ้ ่ หน้าดินถูกชะล้าง จนขาดความอุดมสมบูรณ์ ตะกอนซึง ่ เกิดจากการกัดเซาะทำาให้อายุการใช้งานของเขื่อนต่าง ๆ ลดน้อยลงกว่าเดิม สิ่งเหล่านีำเป็นการสูญเสียทาง
  • 38. ความรู้เท่าไม่ถึงการของราษฎรและ ความต้องการที่ดินเพื่อปลูกพืช ทางการเกษตร ในขณะที่การบุกรุก ทำาลายป่าไม้มีอัตราสูง แต่การส่ง เสริมการปลูกป่าทดแทนป่าที่ถูก ทำาลายไปนัำน ดำาเนินการได้ใน สัดส่วนที่ตำ่ากว่ามากกล่าวคือ ตัำงแต่ เริ่มดำาเนินการจนถึงปี พ.ศ.๒๕๒๙ ปลูกป่าได้เพียง ๓.๕๔ ล้านต้น
  • 40. ๒. ปลูกป่าเนืองจากพืำนที่ตามบริเวณอ่างเก็บ ่ นำำาหรือเหนืออ่างเก็บนำำาไม่มีความชุ่มชืนยาวนาน ำ พอ ๓. ปลูกป่าบนเขาสูง เนื่องจากสภาพป่าบนที่ เขาสูงทรุดโทรม ซึ่งจะมีผลกระทบต่อลุ่มนำำาตอน ล่าง ๔. ปลูกป่าเพื่อพัฒนาลุ่มนำำาและแหล่งนำำาให้มี นำำาสะอาดบริโภค ๕. ปลูกป่าเพื่อให้ราษฎรมีรายได้เพิมขึำน โดย ่ ใช้ราษฎรในท้องที่นัำน ๆ และเป็นการสร้างความ เข้าใจให้ราษฎรเห็นความสำาคัญของการปลูกป่า ๖. ปลูกป่าเสริมธรรมชาติ เป็นการเพิมที่อยู่อาศัย ่ แก่สัตว์ป่า ๖. ปลูกป่าเสริมธรรมชาติ เป็นการเพิ่มทีอยู่อาศัย ่
  • 41. อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ (สัตว์ป่าและวนอุทยาน) ๑. ให้มีการสงวนพันธ์สัตว์ป่าและ เพาะเลียงสัตว์ป่าบางชนิดที่หายาก ำ และกำาลังจะสูญพันธุ์ ๒. จัดให้ดำาเนินการเกียวกับสวนสัตว์ ่ เปิด เพื่อให้เป็นที่ประชาชนได้ เข้าไปเที่ยวชม พร้อมทัำงส่งเสริมให้ ราษฎรทำาการเพาะเลีำยงสัตว์ป่าเป็น
  • 42. การขยายพืนที่ทำากิน หรือจัดที่ดนทำากินให้ราษฎรทัำงชาว ำ ิ ไทยภูเขา และชาวไทยพืำนราบ ๒. จัดที่ทำากินให้ราษฎรแล้ว ยังต้องคำานึงถึงภาวะ เศรษฐกิจและสังคม พร้อมทัำงสิ่งแวดล้อม บริเวณใกล้ เคียง เช่น มีการฟืนฟูสภาพป่าเสื่อมโทรม และการจัดนำำา ้ บริโภค เป็นต้น ๓. ฝึกอาชีพให้ราษฎรสามารถช่วยตัวเองได้และทำา กินให้เป็นหลักแหล่ง เลิกตัดไม้ทำาลายป่าเพื่อทำาไร่ เลื่อนลอยและปลูกฝิ่น ๔. จัดระเบียบหมู่บ้านในรูปสหกรณ์ พร้อมทัำงทำาการ พัฒนาหมู่บ้านในลักษณะโครงการพัฒนาเพื่อความมั่นคง เพื่อให้สามารถควบคุมราษฎร ไม่ให้บุกรุกทำาลายป่าและ ล่าสัตว์ป่า ๕. จำาแนกสมรรถนะของที่ดินให้เหมาะสม ที่ดินที่ สามารถทำาประโยชน์ทางด้านเกษตรกรรมได้ก็ให้ใช้ทำา เกษตรกรรม และพืำนที่ใดที่ไม่สามารถทำาเกษตรกรรมได้
  • 43. พัฒนาวิจัยด้านป่าไม้ ๑. ดำาเนินการศึกษาวิจัยด้านป่าไม้ ใน รูปแบบที่แตกต่างกันตามสภาพท้องถิน ่ ๒. ทำาการศึกษาพัฒนาและวิจัยความ สัมพันธ์ของป่าไม้กับสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ เช่น ป่าไม้/ประมง ในพืนที่ป่าชายเลน การพัฒนา ำ ด้านชลประทานเกี่ยวกับป่าไม้ โดยการจ่าย นำำาตามแหล่งนำำาในช่วงฤดูรอน (แล้ง) เพือให้ ้ ่ มีความชุ่มชืน และทำาให้ป่าต้นนำำาลำาธารมี ำ ความชุ่มชืนสมบูรณ์ตลอดทัำงปี และปลูกไม้ ำ พืนล้างเสริมเพื่อช่วยลดความรุนแรงของ ำ กระแสนำำาในฤดูฝน