SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 38
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
อ. ศิรินุช จันทรางกูล
วัตถุประสงค์
นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
ในผู้สูงอายุที่มีต่อ เภสัชจลนศาสตร์ได้
อย่างถูกต้อง
2. ประยุกต์กระบวนการพยาบาลมาใช้ใน
การให้ยาแก่ผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง
เนื้อหา
• การเปลี่ยนแปลงด้านเภสัชจลนศาสตร์ในผู้
สูงอายุ
• การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้ยาแก่ผู้
สูงอายุ
• คำาแนะนำาในการใช้ยาของผู้สูงอายุ
• ตัวอย่างยาที่อาจทำาให้เกิดปัญหาในผู้สูง
อายุ
โรคประจำา
ตัวหลายโรค
ายุเป็นผู้ที่มีโอกาสใช้ยามากกว่าวัยอื่น
ได้รับอันตรายจากการใช้ยา
ได้มากกว่าบุคคลในวัยอื่น
ได้รับอันตรายจากการใช้ยา
ได้มากกว่าบุคคลในวัยอื่น
เมื่อให้ยาแก่ผู้ป่วย ร่างกายมีกระบวนการต่างๆ
ซึ่งจะจัดการกับยา
กระบวนการนี้จะกำาหนดความเร็ว และปริมาณ
ยาที่ไปสู่ตำาแหน่งออกฤทธิ์ และกำาหนดระยะ
เวลาการออกฤทธิ์ของยาด้วย
กระบวนการที่ร่างกายจัดการกับยานี้ เรียกว่า
เภสัชจลนศาสตร์ ( Pharmacokinetics)
เภสัชจลนศาสตร์
เภสัชจลนศาสตร์
การดูดซึมยา ABSORPTION
การกระจายยา DISTRIBUTION
การเปลี่ยนแปลงยา BIOTRANSFORMATION
การขับถ่ายยา EXCRETION
TabletDisintegration
Free drug
(active)
Drug-Protein complex
(inactive)
Blood vessel
DISTRIBUTIONDISTRIBUTION
Other sitesOther sites
Target site of actionTarget site of action
(Adequate concentration)
Adverse effects
Drug action
Dissolution
ABSORPTIONABSORPTION
BIOTRANSFORMATIONBIOTRANSFORMATION
EXCRETIONEXCRETION
Metabolites
Pharmcokinetic
ABSORPTION+ BIOTRANSFORMATION
DISTRIBUTION
EXCRETION
การเปลี่ยนแปลงด้านเภสัช
จลนศาสตร์ในผู้สูงอายุ
1.การดูดซึมยา ABSORPTION
ลำาไส้เคลื่อนไหวช้าลง
กระเพาะเป็นด่างสูงขึ้น
การหลั่งกรดในกระเพาะอาหารลดลง
ลดกระบวนการดูดซึมของสารต่างๆ
เช่นกลูโคส และวิตามินบี 12 และสารที่ดูดซึม
โดย active transport
ยาส่วนใหญ่ถูกดูดซึมในลำาไส้เล็ก
และ passive diffusion
***การดูดซึมยา
อาจไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก
ในผู้สูงอายุ ***
#
2.การกระจายยา DISTRIBUTION
การเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยาในผู้
สูงอายุ
ปริมาณไขมันในร่างกายเพิ่มไขมันในร่างกายเพิ่ม
ขึ้นขึ้น
มีการลดปริมาณนำ้าในร่างกายลดปริมาณนำ้าในร่างกาย
มีการลดปริมาณโปรตีนในลดปริมาณโปรตีนใน
เลือดเลือด
#
2.การกระจายยา DISTRIBUTION
ยาที่มีความสามารถในการละลายยาที่มีความสามารถในการละลาย
ในไขมันได้ดีในไขมันได้ดี
การสะสมของยาในเนื้อเยื้อไขมันเพิ่มขึ้น
จะมีค่าปริมาตรการกระจายตัวสูงขึ้น
ทำาให้ระดับยาในเลือดตำ่ากว่าปกติ
เช่น diazepam และ lidocaine
ยาละลายนำ้าได้ดียาละลายนำ้าได้ดี
ปริมาณนำ้าในร่างกายลดลง
จะมีปริมาตรการกระจายตัวลดลง
ทำาให้ระดับยาในเลือดสูงกว่าปกติ
ADRADR
#
2.การกระจายยา DISTRIBUTION
ยาที่มีความสามารถในการจับ
กับโปรตีนในเลือดได้สูง
โปรตีนในเลือดลดลง
จะมียาในรูปอิสระมากขึ้น
ทำาให้ยาออกฤทธิ์มากขึ้น
ต้องปรับขนาดยาลดลงให้เหมาะ
สม
อันตราย
4.การขับถ่ายยา EXCRETION
ประสิทธิภาพการทำางานของไตลดลง
อัตราการขับถ่ายยาออกจากร่างกาย
ทางปัสสาวะจะลดลง
การใช้ยาที่มีพิษต่อไตสูง
noglycosides และDigoxin ต้องปรับขนาดของยา
นสัดส่วนกับประสิทธิภาพในการทำางานของไต
4.การขับถ่ายยา EXCRETION
นอกจากนี้ยังมีรายงานว่า
การกำาจัดยาบางชนิดออกทางเดิน
หายใจ อาจเกิดช้ากว่าปกติทำาให้มี
โอกาสที่ยาจะสะสมในร่างกายสูงขึ้น
จนเกิดเกิดอาการพิษได้
การรับประทานยาจำานวน
มากในเวลาเดียวกัน
ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยากับ
อาหาร
ความผิดพลาดจากตัวผู้ใช้
ยา (Human error)
ปัจจัยที่เพิ่มความเสี่ยง
อันตรายของการใช้ยา
การเปลี่ยนแปลงทางเภสัช
พลศาสตร์ในผู้สูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงที่ receptors
การเปลี่ยนแปลงทาง
homeostatic
การเปลี่ยนแปลงของระบบ
ประสาทส่วนกลางในผู้สูง
อายุ
การใช้กระบวนการพยาบาล
ในการให้ยาแก่ผู้สูงอายุ
1. การประเมินสุขภาพ
การซักประวัติ:
ประวัติการใช้ยาทั้งหมด
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้ยา
ซักถามเกี่ยวกับอาการข้างเคียง
ต่างๆ
การตรวจร่างกาย:
สังเกตอาการข้างเคียงต่างๆ
ประสิทธิภาพของยาต่ออาการหรือ
2. การวินิจฉัยการพยาบาล
ตัวอย่างข้อวินิจฉัยที่เกี่ยวข้องกับการ
ใช้ยา
เสี่ยงต่อภาวะเลือดออกง่าย
เนื่องจากได้ยาต้านการแข็งตัวของ
เลือด
มีโอกาสเกิดแผลในกระเพาะ
อาหารเนื่องจากได้รับยารักษาโรค
เก๊าต์ และพร่องความรู้ เกี่ยวกับ
การรับประทานยา
3. การวางแผนการพยาบาล
4. การปฏิบัติการพยาบาล
ประเมินผู้สูงอายุเป็นรายๆ
รู้จัก Pharmacology ของยาที่
จะให้
ให้ยาโดยคำานึงถึงหลัก 6 Right
ยาที่ขับถ่ายที่ไตให้สังเกต
ปัสสาวะ ติดตามการทำางานของ
ไต
4. การปฏิบัติการพยาบาล
ติดตามผลการรักษา และสังเกต
อาการข้างเคียงของยาที่อาจจะเกิด
ขึ้นได้
ยาที่มี low therapeutic ratio ให้
ติดตามดูระดับยาในกระแสเลือด
ด้วย
พยายามจัดยาให้กินง่ายๆ เพื่อเพิ่ม
ความร่วมมือ ของผู้ป่วย
ให้ความรู้เกี่ยวกับยาที่ผู้ป่วยรับ
ประทานแก่ผู้ป่วยและผู้ดูแลอย่าง
ละเอียด
5. การประเมินผล
ประเมินความถูกต้องของการ
ปฏิบัติตัวผู้ป่วยในการรับประทาน
ยา
ประเมินประสิทธิภาพของยาใน
การรักษา
ประเมินผลข้างเคียงของยาที่เกิด
ขึ้น
คำาแนะนำาในการใช้ยาของผู้
สูงอายุ
ควรมีญาติมิตรหรือผู้ที่ดูแลติดตามไป
ด้วย เมื่อต้องไปพบแพทย์แต่ละครั้ง
แจ้งให้แพทย์ทราบเกี่ยวกับยาที่ใช้
อยู่ เพื่อประกอบการพิจารณาการ
จ่ายยาของแพทย์
แจ้งให้แพทย์ทราบเกี่ยวกับอาการผิด
ปกติที่เกิดขึ้น เพราะอาการนั้นอาจจะ
เป็นอาการที่เกิดจาก ยาที่ผู้สูงอายุใช้
อยู่ ไม่ใช่อาการที่สืบเนื่องมาจาก
แจ้งให้ทราบถ้ามีปัญหาเกี่ยวกับการกลืนยา
เพื่อแพทย์จะได้เลือกชนิดยาที่เหมาะสม
เช่น ให้ยานำ้า แทนยาเม็ด เป็นต้น
ศึกษาเกี่ยวกับยาที่ผู้สูงอายุใช้อยู่ให้มากที่สุด
เท่าที่จะทำาได้ เช่น
ยาที่ใช้เป็นยารับประทานหรือใช้ทา
ใช้รับประทานก่อนหรือหลังอาหาร รับ
ประทานครั้งละเท่าไร
วันละกี่ครั้ง
มีอาการข้างเคียงหรือไม่ อย่างไร
คำาแนะนำาในการใช้ยาของผู้
สูงอายุ
สอบถามแพทย์เกี่ยวกับระยะเวลา
การใช้ยาให้ชัดเจน เช่น
จะหยุดยานี้ได้เมื่อใด
ขณะทำางานจะรับประทานยานี้ได้หรือ
ไม่
ต้องงดกิจกรรมอะไรบ้าง
สอบถามแพทย์หรือเภสัชกรเกี่ยว
กับอาหารที่รับประทานว่ามีผลต่อ
การใช้ยาหรือไม่ อย่างไร
คำาแนะนำาในการใช้ยาของผู้
สูงอายุ
รับประทานยาตามที่แพทย์หรือ
เภสัชกรแนะนำาอย่างเคร่งครัด
รายที่มีการหลงลืม ควรใช้สิ่งช่วย
จดจำา เช่น ปฏิทิน หรือกล่องใส่ยาชนิด
ที่รับประทานช่องละหนึ่งครั้ง หรือให้มี
ผู้ดูแลคอยเตือนเพื่อจะได้ไม่ลืมรับ
ประทานยา หรือรับประทานยาซำ้าซ้อน
กล่อง ขวด ซอง ที่ใส่ยาควรจะมีความ
เหมาะสม เช่น เปิดใช้ง่าย และฉลาก
ยาควรเขียนตัวโตชัดเจน ซึ่งเป็น
คำาแนะนำาในการใช้ยาของผู้
สูงอายุ
ควรแนะนำาให้ผู้ป่วยนำาขวด กล่อง
หรือซองยาเก่ามาด้วย เพื่อช่วยแพทย์
ในการทบทวนการรักษา และยาบาง
ตัวอาจหมดอายุแล้วหรือไม่จำาเป็นต้อง
ใช้อีกต่อไป แพทย์จะได้แนะนำาการ
บริหารยาที่ถูกต้องให้แก่ผู้ป่วย
อ่านฉลากยาและปฏิบัติตามคำาแนะนำา
ทุกขั้นตอน ก่อนการใช้ยาทุกครั้ง
คำาแนะนำาในการใช้ยาของผู้
สูงอายุ
ไซเมททิดีน (Cimetidine)
การขับถ่ายออกทางไตน้อยลง
ระดับของยาในเลือดสูงขึ้น
ผู้ป่วยจะมีอาการของความคิดสับสน
ดิจ๊อกซิน (Digoxin)
การขับถ่ายออกทางไตน้อยลง เพิ่ม
อัตราเสี่ยงต่อความเป็นพิษของยา
ตัวอย่างปัญหาที่พบบ่อยใน
ผู้สูงอายุที่เกิดจากการใช้ยา
ยาขับปัสสาวะพวกไธอะไซด์
เกิดการขับนำ้า ความดันตำ่า
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่
อาจทำาให้เกิดภาวะโปแตสเซี่ยม
และ ระดับโซเดียมในเลือดตำ่า
ยาลดความดันเลือด เช่น โพรพา
โนลอล (Propranolol)
การขับถ่ายออกทางไตน้อยลง
ระดับของยาในเลือดสูงขึ้น
ทำาให้ดันตำ่า อาจเป็นลม หัวใจเต้น
ช้าลง
ยาสงบประสาทและยานอนหลับ
เช่น ไดอะซีแพม (Diazepam)
ผลและระยะเวลาของการออก
ฤทธิ์จะเพิ่มขึ้น
อาจมีอาการข้างเคียง เช่น
เดินโซเซ กระวนกระวาย
ความคิดสับสนได้ง่าย
อะมิโนกลัยโคไซด์
(Aminoglycosides) เช่น กานา
มัยซิน (Kanamycin)
การขับถ่ายของยาออกทางไต
ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่ส
เตียรอยด์ เช่น อินโดเมธาซิน
(Indomethacin)
ขบวนการเปลี่ยนแปลงของ
ยาที่ตับลดลง
ทำาให้การขับถ่ายออกทาง
ไตน้อยลง
ผลทำาให้ระดับยาในเลือด
The end
Post-test
__1.Digoxin จะมีปริมาตรการกระ
จายลดลง เนื่องจากปริมาณนำ้าใน
ร่างกายของผู้สูงอายุ ลดลง ทำาให้
ระดับยาในเลือดสูงกว่าปกติ
__2. ผู้สูงอายุประสิทธิภาพการ
ทำางานของไตลดลง ดังนั้นอัตรา
การขับถ่ายออกจากร่างกายทาง
ปัสสาวะจะลดลง
__3.การประเมินผลการพยาบาล
__4. ผู้สูงอายุที่มีการหลงลืม ควร
ใช้สิ่งช่วยจดจำา เช่น ปฏิทิน
หรือกล่องใส่ยาชนิดที่รับ
ประทานช่องละหนึ่งครั้ง หรือ
ให้มีผู้ดูแลคอยเตือนเพื่อจะได้
ไม่ลมรับประทานยาหรือรับ
ประทานยาซำ้าซ้อน
__5. ควรระวังอาการหน้ามืด เป็น
Post-test

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงbird090533
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ pueniiz
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)Utai Sukviwatsirikul
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา techno UCH
 

Was ist angesagt? (20)

โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
 

Andere mochten auch

คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุคู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุThanai Punyakalamba
 
การสูงอายุ
การสูงอายุการสูงอายุ
การสูงอายุJit Khasana
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
อาหารตามวัย
อาหารตามวัยอาหารตามวัย
อาหารตามวัยPloyLii
 
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านคู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านUtai Sukviwatsirikul
 
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ โปรตอน บรรณารักษ์
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการtumetr
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)Chuchai Sornchumni
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
สวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุสวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุprimpatcha
 
สมุดบันทึก Tamoxifen
สมุดบันทึก Tamoxifenสมุดบันทึก Tamoxifen
สมุดบันทึก TamoxifenNamol Mahachai
 
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014 หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014 Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลผู้สูงอายุโครงการพัฒนารอบวัดญาณ
คู่มือการดูแลผู้สูงอายุโครงการพัฒนารอบวัดญาณคู่มือการดูแลผู้สูงอายุโครงการพัฒนารอบวัดญาณ
คู่มือการดูแลผู้สูงอายุโครงการพัฒนารอบวัดญาณUtai Sukviwatsirikul
 

Andere mochten auch (20)

คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุคู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
 
การสูงอายุ
การสูงอายุการสูงอายุ
การสูงอายุ
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
อาหารตามวัย
อาหารตามวัยอาหารตามวัย
อาหารตามวัย
 
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านคู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
 
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
คู่มือสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือสุขภาพผู้สูงอายุคู่มือสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือสุขภาพผู้สูงอายุ
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of Ministry of Public...
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of Ministry of Public...Cardiovasculare risk among staff working at the Central of Ministry of Public...
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of Ministry of Public...
 
สวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุสวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุ
 
สมุดบันทึก Tamoxifen
สมุดบันทึก Tamoxifenสมุดบันทึก Tamoxifen
สมุดบันทึก Tamoxifen
 
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014 หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
 
Memantine (NAMENDA)
Memantine (NAMENDA)Memantine (NAMENDA)
Memantine (NAMENDA)
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
 
Renal failure
Renal failureRenal failure
Renal failure
 
คู่มือการดูแลผู้สูงอายุโครงการพัฒนารอบวัดญาณ
คู่มือการดูแลผู้สูงอายุโครงการพัฒนารอบวัดญาณคู่มือการดูแลผู้สูงอายุโครงการพัฒนารอบวัดญาณ
คู่มือการดูแลผู้สูงอายุโครงการพัฒนารอบวัดญาณ
 
Renal Failure
Renal FailureRenal Failure
Renal Failure
 

Ähnlich wie การใช้ยาในผู้สูงอายุ

ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาUtai Sukviwatsirikul
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
Polyphamacy in elderly Suratthani Geriatric Care
Polyphamacy in elderly Suratthani Geriatric CarePolyphamacy in elderly Suratthani Geriatric Care
Polyphamacy in elderly Suratthani Geriatric Carekridauakridathikarn
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์vveerapong
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์vveerapong
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก Utai Sukviwatsirikul
 
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคJimmy Pongpisut Santumpol
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานVorawut Wongumpornpinit
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...Thira Woratanarat
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
9789740333463
97897403334639789740333463
9789740333463CUPress
 
Presentation final project
Presentation final projectPresentation final project
Presentation final projectssusera76f74
 

Ähnlich wie การใช้ยาในผู้สูงอายุ (20)

Rdu
RduRdu
Rdu
 
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
Polyphamacy in elderly Suratthani Geriatric Care
Polyphamacy in elderly Suratthani Geriatric CarePolyphamacy in elderly Suratthani Geriatric Care
Polyphamacy in elderly Suratthani Geriatric Care
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก
 
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
Cpg obesity
Cpg obesityCpg obesity
Cpg obesity
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
 
50
5050
50
 
50
5050
50
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
9789740333463
97897403334639789740333463
9789740333463
 
Presentation final project
Presentation final projectPresentation final project
Presentation final project
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 

Mehr von Sirinoot Jantharangkul

Mehr von Sirinoot Jantharangkul (13)

Vildagliptin
Vildagliptin Vildagliptin
Vildagliptin
 
Rozerem (ramelteon)
Rozerem (ramelteon)Rozerem (ramelteon)
Rozerem (ramelteon)
 
Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
Cymbalta (duloxetine hydrochloride) Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
 
Tarceva ( erlotinib ) 2
Tarceva ( erlotinib ) 2Tarceva ( erlotinib ) 2
Tarceva ( erlotinib ) 2
 
Tarceva ( erlotinib )
Tarceva ( erlotinib )Tarceva ( erlotinib )
Tarceva ( erlotinib )
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
 
Antibiotic_1
Antibiotic_1 Antibiotic_1
Antibiotic_1
 
Drugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationDrugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulation
 
Agent used in hyperlipidemia
Agent used in hyperlipidemiaAgent used in hyperlipidemia
Agent used in hyperlipidemia
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
Drug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of HypertensionDrug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of Hypertension
 
Diuretics drugs
 Diuretics drugs Diuretics drugs
Diuretics drugs
 

การใช้ยาในผู้สูงอายุ