SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 37
การลดความ
เสี่ยงจากภัย
เป้ าหมาย
- เพื่อเข้าใจสิ่งที่จะต้องรับมือในแต่ละช่วง
- เพื่อเข้าใจถึงองค์ประกอบของการลด
ความเสี่ยงจากภัยพิบัติ
ภารกิจกองหน้า :
-ประสานเสบียง / อาหาร
- ระดมทรัพยากร
- จัดลาดับ ชี้เป้ าการขนส่ง
กรณีน้าหลาก/โคลน
ถล่มที่
ศูนย์เกาะลาพู อ.เมือง
จ.สุราษฏร ์ธานี
ปี 2553อุปกร
ณ์
เส้นทางรถ น้าท่วมหมด จับเส้นทางไม่ถูก ตอนนี้
ใช้ GPS มือถือ จับพิกัด
กรณีน้าท่วมสุราษฏร ์ธานี
ใช้ข้อมูลปฐมภูมิ
วิชาการ
ช่าง
บัญชาการ / บรรเทาทุกข์
สื่อ
คมนาคม
กรมทรัพย์ธรณี
กรมอุตุนิยมวิทยา
ตารวจ
มหาดไทย
AIT วสท
ราชมงคล
มหาวิทยาลัยในพื้นที่
รายงาน / บันทึก / แจ้งเหตุ
โยธา
ปภ
ผู้ว่าราชการ
เยียวยา ตามผลกระทบ
รพ.สต /โรงพยาบาล
โรงเรียนสถานศึกษา ประปา ไฟฟ้า
ระบบสื่อสาร
ช่อง 3 ช่อง 5 ช่อง 7
ช่อง 9 ช่อง 11 ThaiPBS
สื่อท้องถิ่น / ทีวีดิจิตอล
ธกส ธอส
ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ
ครม / สานักนายก คลัง
ชุมชนในพื้นที่ประสบภัย
องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น ได้แก่
อบต เทศบาล กานัน
ผู้ใหญ่บ้าน
กู้ชีพ
กู้ภัย
กู้ภัย
กู้ภัย
กู้ชีพ
กู้ชีพ
กู้ชีพ
กู้ภัย
องค์กรที่เกี่ยวของกับการจัดการ
บุคคลากรในองค์กรและการปฏิบัติงาน
Directors
ADVISORS AND CONTACT
REPRESENTATIVES
1 2 3 4 5 6
สื่อมวลช
น
ฝ่ าย
ประชาสัม
พันธ ์
ฝ่ าย
ทรัพยากร
กู้ชีพ
กู้ภัย
ชาวบ้าน
ในพื้นที่
เจ้าหน้าที่
อบต./
ปภซ ใน
พื้นที่
ตัวอย่างการประสานงานในภัยพิบัติ
ความสัมพันธ ์ระหว่างองค์กรการมองภาพรวมของการประสานงาน
ประสา
น
อาหาร
ประสาน
ข้อมูล
ความ
ต้องการ
และ
ทรัพยากร
ประสา
นยา
ประสาน
การ
เดินทาง
ขนส่ง
ประสา
น
เสื้อผ้า
ประสาน
การให้
ความรู ้ใน
การฟื้นฟู
ถ้าให้เตรียมกระเป๋ าฉุกเฉิน เรา
จะเอาอะไรไปบ้าง
ร ร ั รภัยพบั ช รุ
ภัยพบั
DISASTER
ร รียม มพร ม
PREPAREDNESS
รช ย ื ะบรร ท ภัย
RESCUE AND RELIEF
ร น ะบร ะ
REHABILITATION AND RECONSTRUCTION
รประ มน ม สีย ย ะ ม ร
DAMAGE ANDNEEDS ASSESSMENT
ร ภัยพบั ะ ร ม สี่ย
HAZARD AND RISK REDUCTION
VULNERABILITY AND HAZARD ASSESSMENT
รประ มน ม ม ะ ร ภัย
ช รียมพร ม
PREVENTIONAND MITIGATION
รป ัน ะ ระทบ ภัย
บ 2549)
ั ภัยพบั
ะ ภัยพบั น ภัยพบั
วงจรบริหารจัดการภัยพิบัติเชิง
หลังภัย
พิบัติ
เตรียมพร้อม
รับภัย
ตอนเกิด
ภัย
ก่อนเกิด
ภัย
การลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ
ความหมายของการ
บริหารความเสี่ยง
ความเสี่ยงคือ
เหตุการณ์ที่อาจ
เกิดขึ้นในอนาคต
และมีผลกระทบต่อ
การบรรลุวัตถุประสงค์
ความเสี่ยงคืออะไร
วงจรการจัดการสาธารณภัยสู่การสร้างใหม่ให้ดีกว่าและปลอดภัยกว่าเดิม (แผนชาติฯ ปภ., 2558)
วัฏจักรการ
จัดการภัย
จงวาด
เส้นทางน้าจงระบุสภาพภูมิ
ประเทศ
- วาดเส้น contour ของพื้นที่
- ระบุเส้นความสูง + - 3 เมตร
บ้านอาชีพ
72 hrs
kits
กาหนดให้แต่ละคนดูแล
บ้าน 1 หลังวาดรูปสมาชิกใน
ครอบครัว
เขียนระบุว่า
- ครอบครัวของเรามีกี่คน ใครบ้าง
- ระบุอายุ เพศ สภาพร่างกาย
- คนในบ้านแต่ละคนประกอบอาชีพอะไร
- มีเครื่องมือที่ใช้ประกอบอาชีพคืออะไร
- มีสัตว์เลี้ยงหรือไม่
ขั้นที่ 1
แต่ละบ้าน
จงวิเคราะห์เสี่ยงและการ
เตรียมพร้อมรับมือน้าท่วม
ของบ้านเราเอง
ความล่อแหลม(E) X ภัยหรือปรากฏการณ์(H)
X ความเปราะบาง(v)
ผลกระทบ =
ความสามารถในการรับมือ
ถ้าร่วมมือกันได้ดี ก็ไม่มีปัญหาถ้าเตรียมพร้อมไว้ดีก็ไม่มีปัญหา
ความเสี่ยง
(R) =
ขั้นที่ 2
แต่ละหมู่บ้าน
จงวิเคราะห์เสี่ยงและ
ทาแผนเตรียมพร้อม
ระบุความเสี่ยงและวัดระดับความ
รุนแรง
ระดับความ
รุนแรง
ความถี่ของการเกิดขึ้นใน
อดีต
ผลกระทบที่เป็ นตัวเงิน
ผลกระทบที่มิใช่ตัวเงิน
การคาดการณ์โอกาสที่จะ
เกิดขึ้นในอนาคต
ผลกระทบ
โอกาสที่จะเกิดขึ้น
มุมมองของ
สาธารณชน
ผลสาเร็จของ
การดาเนินงาน
21
 สั่งข้าราชการ พนักงานท้องถิ่น เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน
อาสาสมัคร บุคคลใดๆ
 ใช้อาคาร สถานที่ วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ ยานพาหนะ
ของรัฐและเอกชนในพื้นที่เท่าที่จาเป็น
 ใช้เครื่องมือสื่อสารทุกระบบ
 ขอความช่วยเหลือ อปท. อื่น
 สั่งห้ามเข้าออกพื้นที่ อาคาร/สถานที่
 จัดให้มีการสงเคราะห์ผู้ประสบภัยโดยทั่วถึงและรวดเร็ว
บทบาทของผู้อานวยการท้องถิ่นตาม
แผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
22
 จัดสถานที่อยู่อาศัยชั่วคราว/ปฐมพยาบาล/รักษาทรัพย์สิน
 จัดระเบียบการจราจรชั่วคราวในพื้นที่เกิดภัยและใกล้เคียง
 ปิดกั้นผู้ไม่เกี่ยวข้องเข้าไปยังพื้นที่เกิดภัย
 จัดการรักษาความสงบเรียบร้อย
 ช่วยเหลือผู้ประสบภัย/ขนย้ายทรัพย์สินเมื่อเจ้าของร้องขอ (อาจ
มอบองค์การสาธารณกุศลช่วยดาเนินการได้)
บทบาทของผู้อานวยการท้องถิ่นตาม
แผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
23
บทบาทของผู้อานวยการท้องถิ่นตาม
แผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557
 สารวจความเสียหายที่เกิดขึ้น
 ทาบัญชีรายชื่อผู้ประสบภัยและทรัพย์สินที่เสียหาย
 ออกหนังสือรับรองผู้ประสบภัยไว้เป็นหลักฐานในการรับการ
สงเคราะห์
 ถ้าผู้ประสบภัยร้องขอกรณีเอกสารราชการสูญหายให้
ท้องถิ่นแจ้งหน่วยงานรับผิดชอบดาเนินการโดยไม่เสีย
ค่าใช้จ่าย
ระดับความรุนแรงของสาธารณภัยและระดับการจัดการ
ระดั
บ
ความรุนแรง การจัดการ
1 สาธารณภัยที่เกิดขึ้นทั่วไป
หรือมีขนาดเล็ก
ผู้อานวยการท้องถิ่น / อาเภอ / กทม. สามารถ
ควบคุมสถานการณ์และจัดการระงับภัยได้โดย
ลาพัง
2 สาธารณภัยขนาดกลาง ผอ.ในระดับ 1 ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์
ได้ ผอ.จังหวัด และ/หรือ ผอ.กทม. เข้าควบคุม
สถานการณ์
3 สาธารภัยขนาดใหญ่ที่มี
ผลกระทบรุนแรง
กว้างขวาง หรือสาธารณ
ภัยที่ตาเป็ นต้องอาศัย
่
ผอ.ในระดับ 2 ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์
ได้ ผอ.กลาง และ/หรือ ผบ.ปภ.แห่งชาติ เข้า
ควบคุมสถานการณ์
เกณฑ์การยกระดับความรุนแรงของภัย
จากระดับ 2 สู่ระดับ 3
ทรัพยากร
Resource
เมื่อมีความจาเป็นต้องใช้ทรัพยากร(คน วัสดุ อุปกรณ์) จากหน่วยงานภายนอกพื้นที่
จังหวัดเข้าดาเนินการให้ความช่วยเหลือ
เวลา
Time
เมื่อต้องใช้เวลาในการรับมือ(เผชิญเหตุ) กับเหตุการณ์ ตั้งแต่ 72 ชั่วโมงขึ้นไป
พื้นที่
Area
เมื่อมีพื้นที่ประสบภัยตั้งแต่ 2 จังหวัดขึ้นไป
ประชากร
Population
เมื่อมีผู้ประสบภัยมากกว่าร้อยละ 40 ของจานวนประชากรในพื้นที่ประสบภัย
งบประมาณ
Budget
เมื่องบประมาณที่มีอยู่ในอานาจของจังหวัด ไม่เพียงพอต่อการรับมือกับเหตุการณ์
ความซับซ้อน
Complexity
เมื่อระบบสาธารณูปโภคหรือพื้นที่เศรษฐกิจหลักได้รับความเสียหาย จนทาให้
ประชาชนไม่สามารถใช้ชีวิตตามปกติ และทรัพยากรที่มีอยู่ในพื้นที่ไม่สามารถรับมือ
กับเหตุการณ์ได้
กฎหมาย เมื่อ ผบ.ปภ.ชาติ พิจารณาเห็นว่าสมควรยกระดับของ
เกณฑ์การยกระดับความรุนแรงของภัย
จากระดับ 3 สู่ระดับ 4
ความซับซ้อน
Complexity
เมื่อสถานการณ์มีความรุนแรงส่งผลกระทบต่อระบบ
เศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของประเทศโดยรวม
ทรัพยากร
Resources
เมื่อมีความจาเป็ นต้องขอรับการสนับสนุนความ
ช่วยเหลือจากต่างประเทศ
กฎหมาย
Jurisdiction
เมื่อ นายกรัฐมนตรี พิจารณาเห็นว่าสมควรยกระดับ
ของภัย
ระดับและความหมายของสีในการเตือนภัย
มาแล้ว 3 วัน มีปริมาณ เกือบ 150 มม. น้าในแม่น้าอยู่ในระ
จงนาเสนอแผน
เพื่อของบประมาณต่อ
ท่าน อบต.
ขั้นที่ 3
จงจัดลาดับคนที่ต้องการความ
ช่วยเหลือมากที่สุดะทาแผนรับมือกับภัยที่เขียนไว้ในขั้นที่สองนั้นท่านต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงา
งานกลุ่ม
ขั้นที่ 4
จงประเมินความเสียหายและการ
ฟื้นฟู
- ท่านมีมาตรการในการฟื้นฟู โดยสร้างใหม่ให้
ดีกว่าเดิมได้อย่างไรบ้าง
จุดประสงค์
ออกแบบรูปแบบของฐานข้อมูลด้านภัยพิบัติร่วมกัน
โดยคานึงถึงความต้องการของหน่วยงาน
และความสามารถในการให้ข้อมูล
ความเสียหาย (Damage)
หมายถึง ผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยตรง กับทรัพย์สินทางกายภาพ ผลิตภัณฑ์
วัตถุดิบเครื่องจักรหรือว่าทรัพย์สินต่างๆ
ความต้องการ (Needs)
หมายถึง ข้อมูล หรือทรัพยากรที่เหมาะสมต่อการตอบสนองกับการรับมือ
สถานการณ์ หรือผลกระทบที่เกิดขึ้น
ความสูญเสีย (Losses)
หมายถึง สิ่งที่ลดลง ผลิตภัณฑ์ที่เสียไป หรือโอกาสในการผลิตลดลง เช่นการ
สูญเสียรายได้ การลดลงของประสิทธิภาพในการผลิต หรือการเพิ่มขึ้นของต้นทุน
ที่เป็นค่าเสียโอกาสจากช่วงเวลาที่เสียไป
ม ปร ะบ
ท ยภ พ
• ความเสียหาย
• แนวโน้ม
• ดูกาล
ม ปร ะบ
ท สั ม
ปญหาที่พบในการดาเนินงาน
• การรวมกลุ่ม
• การจัดการความ
เสี่ยงจากภัยพิบัติ
โดยมีชุมชนเปน าน
• การพั นาขีด
ความสามารถ
กระบวนการมีส่วนร่วม
บริบทของความเสี่ยงและ
ความเปราะบางของชุมชน
วิธีการ
ดาเนินชีวิต
ต้นทุนใน
การดารงชีวิต
ผลที่ชุมชนได้รับ
โครงสร้างและกระบวนการ
ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ความเปราะบาง
ในการดาเนิน
ชีวิตลดลง
ความรู้ ทักษะ
งบประมาณ แนวกันภัยตาม
ธรรมชาติ
เส้นทางอพยพ
ทุนทางสังคม
การเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติของชุมชนตามแนวคิดการดารงชีวิตที่ยั่งยืน
ทุนมนุ ย์
ทุนทาง
สังคม
ทุนทาง
การเงน
ทุน
ส่งแวดล้อม
ทุนทาง
กายภาพ
ทรัพยากร
โมเดลการเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติของชุมชนบ้านน้าเค็ม

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von freelance

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management freelance
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionfreelance
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsfreelance
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classfreelance
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education gamefreelance
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentfreelance
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsfreelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster educationfreelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentfreelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazardfreelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardfreelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survivalfreelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsfreelance
 
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessmentWeek 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessmentfreelance
 

Mehr von freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessmentWeek 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
 

Week 4 disaster risk reduction

Hinweis der Redaktion

  1. 4. เตรียมเป้ฉุกเฉินไว้ให้พร้อม เช่น - ไฟฉายและแบตเตอรี่สำรอง - วิทยุ AM FM แบบพกพาพร้อมแบตเตอรี่สำรอง - ชุดปฐมพยาบาลและคู่มือปฐมพยาบาล - อาหารและน้ำฉุกเฉิน - มีดอเนกประสงค์ - เงินสดเหรียญและธนบัตร - รองเท้าผ้าใบ
  2. https://www.mentimeter.com/s/1559b521fc0f85e2c50ca26f27762c76/ccc43f2c8427/edit
  3. https://www.mentimeter.com/s/1559b521fc0f85e2c50ca26f27762c76/ccc43f2c8427/edit
  4. ระยะเตรียมพร้อม Stage 4 Incident command system - ให้เจ้าของการ์ด คนที่เป็นเจ้าหน้าที่กู้ภัย พิจารณา 3 คนสามอันดับ แรกที่ตัวเองคิดว่าต้องช่วยเหลือออกมาก่อน - ให้เจ้าของการ์ด คนที่เป็นเจ้าหน้าที่กู้ชีพ พิจารณา 3 คนสามอันดับ แรกที่ตัวเองคิดว่าต้องช่วยเหลือออกมาก่อน - ขอให้นายก จัดสรรงบประมาณ ตำแหน่งผู้เยียวยา ผู้จัดสรรงบ ประมาณ (สะท้อนว่า ไม่มีประสบการณ์ ไม่มีที่ปรึกษาที่ดี มันจะทำได้ไม่ ดี) - ขอให้ผู้ว่า ประมวลมูลค่าความเสียหายที่เกิดขึ้นแล้ว ร้องของบ ประมาณในการรับมือกับจังหวัดนี้ ดูว่า ผู้ว่ากับนายก ให้งบสอดคล้องกับไหม - อธิบายบทบาทหน้าที่ของการบัญชาเหตุและการรับมือกับภาวะฉุกเฉิน ของเจ้าหน้าที่อยู่ในเหตุการณ์ - ระดับความรุนแรง (ตาราง) ระดับไหน ใครบัญชาการอะไร รับคำสั่งใคร outcome - จำแนกชนิดภัยพิบัติได้ - รู้จักนิยามของภัยพิบัติ - เช็คความรู้พื้นฐานของแต่ละคน - มองเห็นแกนนำและบทบาทของตัวแสดงนำใน Class - รู้จัก Complex hazard ( เช่น น้ำหลาก โคลนถล่ม แผ่นดินไหวไฟไหม้)
  5. ระยะเตรียมพร้อม Stage 4 Incident command system - ให้เจ้าของการ์ด คนที่เป็นเจ้าหน้าที่กู้ภัย พิจารณา 3 คนสามอันดับ แรกที่ตัวเองคิดว่าต้องช่วยเหลือออกมาก่อน - ให้เจ้าของการ์ด คนที่เป็นเจ้าหน้าที่กู้ชีพ พิจารณา 3 คนสามอันดับ แรกที่ตัวเองคิดว่าต้องช่วยเหลือออกมาก่อน - ขอให้นายก จัดสรรงบประมาณ ตำแหน่งผู้เยียวยา ผู้จัดสรรงบ ประมาณ (สะท้อนว่า ไม่มีประสบการณ์ ไม่มีที่ปรึกษาที่ดี มันจะทำได้ไม่ ดี) - ขอให้ผู้ว่า ประมวลมูลค่าความเสียหายที่เกิดขึ้นแล้ว ร้องของบ ประมาณในการรับมือกับจังหวัดนี้ ดูว่า ผู้ว่ากับนายก ให้งบสอดคล้องกับไหม - อธิบายบทบาทหน้าที่ของการบัญชาเหตุและการรับมือกับภาวะฉุกเฉิน ของเจ้าหน้าที่อยู่ในเหตุการณ์ - ระดับความรุนแรง (ตาราง) ระดับไหน ใครบัญชาการอะไร รับคำสั่งใคร outcome - จำแนกชนิดภัยพิบัติได้ - รู้จักนิยามของภัยพิบัติ - เช็คความรู้พื้นฐานของแต่ละคน - มองเห็นแกนนำและบทบาทของตัวแสดงนำใน Class - รู้จัก Complex hazard ( เช่น น้ำหลาก โคลนถล่ม แผ่นดินไหวไฟไหม้)
  6. ระยะฉุกเฉิน Stage 4 Incident command system - ให้เจ้าของการ์ด คนที่เป็นเจ้าหน้าที่กู้ภัย พิจารณา 3 คนสามอันดับ แรกที่ตัวเองคิดว่าต้องช่วยเหลือออกมาก่อน - ให้เจ้าของการ์ด คนที่เป็นเจ้าหน้าที่กู้ชีพ พิจารณา 3 คนสามอันดับ แรกที่ตัวเองคิดว่าต้องช่วยเหลือออกมาก่อน - ขอให้นายก จัดสรรงบประมาณ ตำแหน่งผู้เยียวยา ผู้จัดสรรงบ ประมาณ (สะท้อนว่า ไม่มีประสบการณ์ ไม่มีที่ปรึกษาที่ดี มันจะทำได้ไม่ ดี) - ขอให้ผู้ว่า ประมวลมูลค่าความเสียหายที่เกิดขึ้นแล้ว ร้องของบ ประมาณในการรับมือกับจังหวัดนี้ ดูว่า ผู้ว่ากับนายก ให้งบสอดคล้องกับไหม - อธิบายบทบาทหน้าที่ของการบัญชาเหตุและการรับมือกับภาวะฉุกเฉิน ของเจ้าหน้าที่อยู่ในเหตุการณ์ - ระดับความรุนแรง (ตาราง) ระดับไหน ใครบัญชาการอะไร รับคำสั่งใคร outcome - จำแนกชนิดภัยพิบัติได้ - รู้จักนิยามของภัยพิบัติ - เช็คความรู้พื้นฐานของแต่ละคน - มองเห็นแกนนำและบทบาทของตัวแสดงนำใน Class - รู้จัก Complex hazard ( เช่น น้ำหลาก โคลนถล่ม แผ่นดินไหวไฟไหม้)
  7. ระยะฟื้นฟู เช่น - ปรับตัว - กำหนดการออกแบบบ้านในพื้นที่ทำซ้ำซากให้ยกขาสูงหนีน้ำ - บังคับทุกบ้านต้องมีเรือ - บังคับทุกบ้านต้องเตรียมเสบียง ไฟสำรองและของใช้ฉุกเฉิน พัฒนาระบบเตือนภัย พัฒนาความรู้ความเข้าใจในการติดตามข้อมูลน้ำและอากาศ พัฒนาแผนการช่วยเหลือกันในชุมชน และระบบดูแลศูนย์พักพิง การอพยพ พัฒนาเรื่องการดูแลสุขภาพในช่วงน้ำท่วมและหลังน้ำท่วม สาธารณสุข และสวัสดิการสังคม พัฒนาระบบผันน้ำ ระบายน้ำ พัฒนาอาชีพระหว่างน้ำท่วม ทำประกันภัย ประกันพืชผล ปกป้องระบบนิเวศน์ที่เป็นตัวดูดซับน้ำ ชะลอความเสี่ยง - ขอให้นายก จัดสรรงบประมาณ ตำแหน่งผู้เยียวยา ผู้จัดสรรงบ ประมาณ (สะท้อนว่า ไม่มีประสบการณ์ ไม่มีที่ปรึกษาที่ดี มันจะทำได้ไม่ ดี) - ขอให้ผู้ว่า ประมวลมูลค่าความเสียหายที่เกิดขึ้นแล้ว ร้องของบ ประมาณในการรับมือกับจังหวัดนี้ ดูว่า ผู้ว่ากับนายก ให้งบสอดคล้องกับไหม - อธิบายบทบาทหน้าที่ของการบัญชาเหตุและการรับมือกับภาวะฉุกเฉิน ของเจ้าหน้าที่อยู่ในเหตุการณ์ - ระดับความรุนแรง (ตาราง) ระดับไหน ใครบัญชาการอะไร รับคำสั่งใคร outcome - จำแนกชนิดภัยพิบัติได้ - รู้จักนิยามของภัยพิบัติ - เช็คความรู้พื้นฐานของแต่ละคน - มองเห็นแกนนำและบทบาทของตัวแสดงนำใน Class - รู้จัก Complex hazard ( เช่น น้ำหลาก โคลนถล่ม แผ่นดินไหวไฟไหม้)
  8. _ชนิดของรายงานการประเมินข้อมูลแต่ละระยะ ระยะที่ 1 ช่วงเวลา 4-8 ชั่วโมงแรก หลังจากเกิดภัย ต้องมีการระบุข้อมูลขอบเขตของภัยพิบัติที่สร้างความเสียหายแก่พื้นที่ประสบภัย และความช่วยเหลือที่คนภายนอกพื้นที่ทำได้ ระยะที่ 2 ช่วง 7 วันหลังภาวะฉุกเฉินกระทั่งชุมชนได้รับความต้องการขั้นพื้นฐาน ได้ข้อมูลความเสียหายทั้งหมดประกอบด้วย ระดับความรุนแรงและตำแหน่งที่เกิดเหตุ เพื่อประมวลกระบวนการประเมินความต้องการและการจัดสรรทรัพยากรไปยังจุดเกิดเหตุ ระยะที่ 3 ช่วง 21 วันหลังจากเกิดเหตุ ซึ่งเป็นช่วงฟื้นฟูชุมชนหลังภาวะฉุกเฉิน ไปจนถึงช่วงพัฒนากิจกรรมเตรียมพร้อมป้องกันภัย เพื่อจัดสรรข้อมูลในการบริการและการฟื้นฟูเชิงโครงสร้างแก่พื้นที่ประสบภัยไปพร้อมกับการป้องกันภัย ในลักษณะ build back better
  9. _
  10. Sound Practices and Lessons Organizational structure & information-base Institutional mechanism Ownership by line departments Climate change strategy Public awareness Accounting and reporting of GHG inventory Hazard risk financing DRM system considering CC impacts Mitigation: Energy sector Mitigation: Transport sector Mitigation: Built environment & density Mitigation: Forestry and urban greenery Mitigation: Financial mechanisms Adaptation: Infrastructure Adaptation: Water conservation Adaptation: Public health