SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 58
1) เพื่อเข้าใจการแปลผลข้อมูลสารสนเทศน์
สาหรับเตรียมพร้อมรับภัยพิบัติ
2) เพื่อเข้าใจภาพรวมของสภาพข้อมูล
ประเภทของข้อมูลที่ใช้รับมือภัยพิบัติแตละชวง
ลง app Zello ด้วย
ลง APP
windy กัน
ใครมาแล้ว จงบริหารเวลาให้เป็นประโยชน์ด้วยการลงสอง app
นี้
สาธารณภัยเชิง
อุตุนิยมวิทยา เป็นคาที่
ใช้เรียก ภัยที่เกิดขึ้นตามการ
เปลี่ยนแปลงของฤดูกาล
เชน วาตภัย พายุหมุน พายุลูกเห็บ พายุคลื่นซัดฝั่ง ความหนาวเย็น คลื่น
ความร้อน ฝนแล้ง อุทกภัย ไฟไหม้ปา
นิยามและคาเรียกเกี่ยวกับ ภัยพิบัติจากสภาพอากาศ หร
(Meteorological disaster)
สาธารณภัยเชิง
อุทกวิทยา
คือ ภัยที่เกิดขึ้นตามมาจากการ
เปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศที่เกี่ยวข้องกับ
น้า เชน น้าทวม น้าหลาก
รวมไปถึง ปรากฏการณ์ดินถลมที่เกิดขึ้นจากการสะสมของน้าฝนในชั้นดิน
ปรากฏการณ์คลื่นยกตัวจากพายุซัดเข้าชายฝั่งและเหตุการณ์สึนามิคลื่นซัด
ฝั่งจากการดีดตัวของเปลือกโลก
นิยามและคาเรียกเกี่ยวกับ ภัยพิบัติจากน้า หรือ
(Hydrological hazard )
นอต (อังกฤษ: knot) เป็นหนวยวัดความเร็วภาคพื้นดิน ที่ใช้ในวงการเดินเรือ
และการบินทั่วโลก มีคาเทากับ 1 ไมล์ทะเล/ชม.[1]
มีสัญลักษณ์ตามมาตรฐาน ISO คือ kn[2] และไมใชหนวยเอสไอ[3] โดยเป็น
หนวยที่ใช้กันอยางกว้างขวางในด้านอุตุนิยมวิทยา การเดินเรือ และการเดินอากาศ
รัศมีโลกเฉลี่ย 6378 กิโลเมตร
Knot มาจากระยะทางของเส้นสมมุติที่เราเรียกวาเส้นละติจูด
(Latitude)และเส้นลองติจูด (Longitude) โดยคิดรอบวงของโลกซึ่งมี
ยาวประมาณ 40074.156 กิโลเมตร...แล้วนามาหารด้วย 360 ก็จะได้เป็น
1 องศาแล้วเมื่อแบงยอยลงไปเป็น 1 ลิปดาก็หารด้วย 60 อีกครั้งก็จะได้ผลลัพธ์
ประมาณ 1.85 กิโลเมตร ผลลัพธ์ที่ได้นี่เรียกวา 1 นอต
ความเร็ว 1 น็อตก็หมายถึง 1.85 กม/ชม
(หรือ 1.15 ไมล์/ชม)
ฝนถล่ม น้าท่วม
แล้วไง
ขาดอาหาร ขาด
ของ เศรษฐกิจ
ปั่นป่ วน
ผักแพง ของแพง
ทรัพย์สิน
การเกษตรล่ม
ปศุสัวต์ล่ม
จราจรล่ม ระบบ
ขนส่งล่ม
ไฟดับ ระบบไฟฟ้ าล่ม
ประปาล่ม
ระบบสื่อสารล่ม
อุตสาหกรร
มจม
เศรษฐกิจ
ล่ม
ทางขาด ขนส่ง
สินค้าไม่ได้
ขัดแย้งผลประโยชน
คน
ผู้คนต้องพลัด
ถิ่น
สุขอนามัยขาดส้วมไว้เข้าห้องน้า
เจ็บป่ วย น้ากัดเท้า โรคระบาด ตาแดง อหิ
วาต์ขาดยารักษาโรค
บาดเจ็บ จมน้า ไฟดูด งูกัด
สังกะสีบาด
น้าท่วมบ้านอยู่ไม่ได้ ดิน
ถล่มบ้านพัง
สิ่งแวดล้
อม
ขยะ – มลพิษ
น้าจืด น้าเสียลงทะเล
นิเวศน์รวน
ขยะ -
มลพิษเครียด
www.usda.gov/oce/ waob/jawf/enso/forum.htm
ทิศทาง
พายุ
ในแต่ละ
เดือน
อิทธิพลของภูมิอากาศที่ทาให้เกิดอุทกภัย ปี2554
1
2
4
5
6
ร่องความกดอากาศต่ากาลังแรงพาดผ่านภาคเหนือ 3 ช่วงระหว่าง
วันที่ 10 – 12 และ 15-19 สิงหาคม 2554 และในเดือน
กันยายนระหว่างวันที่8 – 12 กันยายน 2554
3
1.พายุโซนร้อนไหหม่า 25– 30 มิ.ย.54
2.พายุโซนร้อนนกเตน 30 ก.ค. – 3 ส.ค.54
4.พายุโซนร้อนไห่ถาง 27 – 28 ก.ย..54
5.พายุโซนร้อนเนสาด 25 ก.ย. – 1 ต.ค.54
6.พายุโซนร้อนนาลแก 30 ก.ย.-5 ต.ค.54
STORM SCALE
Beaufort Wind Scale Saffir-Simpson Hurricane
Wind Scale
Fujita Scale
LEV
EL
DESCRIPTIO
N
WIND SPEED LEVEL WIND SPEED LEV
EL
DESCRIP
TION
WIND SPEED
Km/h Mi/h Mph Km/h Km/h MI/h
0 Calm 0-1 0-1 Tropical
depression
< 39 < 63
0 Light 104-
137
65-85
1 Light air 1-5 1-3
Tropical storm 39-73
63-
118
1 Moderat
e
139-
177
86-110
2 Light breeze 6-11 4-7 Hurricane:
category 1
74-95
119-
153
2 Consider
able
178-
217
11-135
3 Gentle
breeze
12-19 8-12 Hurricane:
category 2
96-
110
154 -
177
3 Severe 218-
265
136-
165
4 Moderate
breeze
20-28 13-18 Hurricane:
category 3
111-
129
178-
208
4 Devastat
ng
264-
322
166-
200
5 Fresh breeze 29-38 19-24 Hurricane:
category 4
130-
156
209-
251
5 Incredibl
e
>322 >200
6 Strong
breeze
39-49 25-31 Hurricane:
category 5
> 157 > 252
7 High wind 50-61 32-38
8 Gale 62-74 39-46
9 Strong gale 75-88 47-54
- พายุดีเปรสชั่น ความเร็วศูนย์กลาง ไม
- พายุโซนร้อน ความเร็วศูนย์กลาง ตั้งแ
- พายุไต้ฝุ่ น ความเร็วศูนย์กลาง ตั้งแต่ 1
ในช่วง 66 ปี ที่ผ่านมา ประเทศไทยเคยเจอ พายุโซนร้อน มาแล้ว
ไทยเคยโดยไต้ฝุ่ นมาแล้ว 2 ลูก คือ
พายุไต้ฝุ่ นเกย์กับ พายุไต้ฝุ่ นลินดา
เกิดฝั่งแปซิฟิ คเรียก
ไต้ฝุ่ นเกิดฝั่ง
มหาสมุคร
อินเดียเรียก
ไซโคลน
พายุที่เหนือไปกวานั้น
สาหรับระดับความรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อนที่มีความเร็วลมเกิน 118
กิโลเมตรตอชั่วโมง สามารถแบงออกเป็น 5 ระดับ ได้แก
- ระดับที่ 1 มีความเร็วลม 119-153 กิโลเมตรตอชั่วโมง
ทาลายล้างเล็กน้อย ไมสงผลตอสิ่งปลูกสร้าง มีน้าทวมขังตามชายฝั่ง
- ระดับที่ 2 มีความเร็วลม 154-177 กิโลเมตรตอชั่วโมง ทาลาย
ล้างเล็กน้อย ทาให้หลังคา ประตู หน้าตางบ้านเรือนเสียหายบ้าง ทาให้เกิดน้าทวม
ขัง
- ระดับที่ 3 มีความเร็วลม 178-208 กิโลเมตรตอชั่วโมง ทาลาย
ล้างปานกลาง ทาลายโครงสร้างที่อยูอาศัยขนาดเล็ก น้าทวมขังถึงพื้นบ้านชั้นลาง
- ระดับที่ 4 มีความเร็วลม 209-249 กิโลเมตรตอชั่วโมง
ทาลายล้างสูง หลังคาบ้านเรือนบ้านเรือนบางแหงถูกทาลาย น้าทวมเข้ามาถึง
พื้นบ้าน
- ระดับที่ 5 มีความเร็วลมมากกวา 250 กิโลเมตรตอชั่วโมง จะ
ทาลายล้างสูงมาก หลังคาบ้านเรือน ตึกและอาคารตางๆ ถูกทาลาย พังทลาย น้า
ทวมขังปริมาณมาก ถึงขั้นทาลายทรัพย์สินในบ้าน อาจต้องประกาศอพยพ
ประชาชน
พายุไซโคลนนาร ์กีส
แหลงกาเนิด อาวเบงกอลตอนกลาง
ความเร็วลม 215 กิโลเมตรตอชั่วโมง (ความรุนแรงระดับ 4
อัตราเร็วในการเคลื่อนที่ ประมาณ 16-18 กิโลเมตรตอชั่วโมง
วันที่สร้างความเสียหาย วันที่ 3 พฤษภาคม 2551
พื้นที่ที่ได้รับความเสียหาย บริเวณสามเหลี่ยมปากแมน้าอิระวดี และนครยางกุ้ง ประเทศพมา
จานวนผู้เสียชีวิตทั้งหมด 138,366 คน
พายุแรงระดับ 4 ที่เฉียดๆประเทศไทย
ก็เคยมีพายุไซโคลนนาร์กีส
ความเสียหายเหลานี้มาจาก Strom
Surge
ข้อมูลสารสนเทศน์ที่ควรแปลผล
ให้เป็ น ก็คือ
1)แผนที่อากาศ
2)ข้อมูลน้า
3)ข้อมูลแผ่นดินไหว
ข้อมูลที่มักจะถูกมอบหมายให้ทาก็
คือ
1) การประมวลความเสียหาย
ในแผนที่อากาศมีอะไร?
ในแผนที่อากาศ จะมีสัญลักษณ์ตางๆ ดังนี้
ตัวอักษร Hแทนบริเวณ
ที่มีความกดอากาศสูง
อานแผนที่อากาศงายๆเพิ่มเติมได้ที่นี่ http://kmcenter.rid.go.th/kmc14/KM59/cops59/gis/Weather-
maps/weather-map.pdf
ในแผนที่อากาศมีอะไร?
ในแผนที่อากาศ จะมีสัญลักษณ์ตางๆ ดังนี้
ตัวอักษร Lแทนบริเวณ
ที่มีความกดอากาศต่า
อานแผนที่อากาศงายๆเพิ่มเติมได้ที่นี่ http://kmcenter.rid.go.th/kmc14/KM59/cops59/gis/Weather
ในแผนที่อากาศมีอะไร?
ในแผนที่อากาศ จะมีสัญลักษณ์ตางๆ ดังนี้
เส้นโค้งที่ลากขวางอยู่ใน
เผนที่อากาศ คือเส้นที่
แสดงว่าบริ เวณนั้ นมี
ความกดอากาศเท่ากัน
เรียกว่า เส้นไอโซบาร์
ในแผนที่อากาศมีอะไร?
สัญลักษณ์แสดงลักษณะของสภาพอากาศ
ในแผนที่อากาศมีอะไร?
1 Kn = 1.852 km/h
สัญลักษณ์ต่าง ๆ
ในแผนที่อากาศมีอะไร?
สัญลักษณ์แสดงความเร็วลมที่ใช้ในแผน
ที่อากาศ
(หน่วย kn)
1 Kn = 1.852 km/h
ในแผนที่อากาศมีอะไร?
สัญลักษณ์แสดงความเร็วลมที่ใช้ในแผน
ที่อากาศ<1 km/h (0)
1-5 km/h (1)
12-19 km/h (2)
20-28 km/h (3)
29-38 km/h (4)
39-49 km/h (5)
50-61 km/h (6)
62-74 km/h (7)
75-88 km/h (8)
89-102 km/h (9)
103-118 km/h (10)
119-120 km/h (พายุ1)
121-139 km/h (พายุ2 )
140-185 km/h (พายุ3)
>203 km/h (พายุ4)
(หน่วย kn)
1 Kn = 1.852 km/h
ในแผนที่อากาศมีอะไร?
สัญลักษณ์แสดงปริมาณเมฆที่ใช้ในแผนที่อากาศ
ท้องฟ้าไม่มีเมฆ
มีเมฆ 1 ส่วน
มีเมฆ 2 ใน 8 ส่วน
มีเมฆ 3 ใน 8 ส่วน
มีเมฆ 4 ใน 8 ส่วน
มีเมฆ 5 ใน 8 ส่วน
มีเมฆ 6 ใน 8 ส่วน
มีเมฆ 7 ใน 8 ส่วน
มีเมฆปกคลุม 8 ส่วน
มีเมฆทึบเต็มท้องฟ้า
ในแผนที่อากาศมีอะไร?
แนวปะทะอากาศ
ว่าง่ายๆคือ แนวตรงที่มีการปะทะก็คือจะ
ในแผนที่อากาศมีอะไร?
แนวร่องความกดอากาศต่า
ว่าง่ายๆคือ แนวเป็ นร่องความกด
หยอมความ
กดอากาศต่า
หยอมความ
กดอากาศต่า
หยอมความ
กดอากาศต่า
ในแผนที่อากาศมีอะไร?
พายุดีเปรสชั่น (ความกดอากาศต่า)
ความเร็วลม <63 km/h (ตัวย่อ : D)
ในแผนที่อากาศมีอะไร?
พายุโซนร้อน
ความเร็วลม 64-117 km/h (ตัวย่อ :
ในแผนที่อากาศมีอะไร?
พายุไต้ฝุ่ น
ความเร็วลม >118 km/h (ตัวย่อ : TY)
ตัวอยางการเคลื่อนตัวของพายุโซนร้อนปลาบึก
ลง APP windy กัน
การแจ้งเตือนภัยทาได้ในเวลา
ใดบ้างการแจ้งเตือนภัยสามารถทาได้ตลอดเวลา
- ทั้งการแจ้งขาวถึงสิ่งที่จะเกิดกอนและระหวางเกิดภัย
- การแจ้งขาวถึงสิ่งที่จะไมเกิดหลังเกิดภัย
- การแจ้งถึงขอบเขตของภัยและผลกระทบที่ตามมาหลังเกิดภัย
- แจ้งถึงสิ่งที่ต้องเตรียมตัวกอนเกิดภัยและสิ่งที่ต้องทาระหวาง-หลังเกิดภัย
ระบบเตือนภัยพิบัติศูนย์เตือนภัย
พิบัติแห่งชาติ
ดาเนินงานตามแผนป้ องกันและบรรเทาสาธารณ
ภัย พ.ศ. 2558 กาหนดให้มีการดาเนินงาน 4 ขั้น
คือ
ภาวะเสี่ยง-
ให้อพยพ
แจ้งข่าว
ติดตามข้อมูล
ความเคลื่อนไหว
ของเหตุการณ์ที่มี
แนวโน้มอาจสงผล
ให้เกิดภัยพิบัติ
เฝ้ าระวัง
ติดตามข้อมูลความ
เคลื่อนไหวของ
เหตุการณ์ที่อาจ
สงผลให้เกิดสา
ธารณภัย รวมทั้งทา
หน้าที่เฝ้าระวัง ให้
ข้อมูลและขาวสาร
ประชาชน
แจ้งเตือน
ล่วงหน้าแจ้งข้อมูลขาวสารไป
ยังพื้นที่เสี่ยงภัย ให้
หนวยงานป้องกัน
และบรรเทาสาธารณ
ภัยและประชาชน
ติดตามข้อมูล
ขาวสารอยาง
ตอเนื่อง โดยแจ้ง
เตือนลวงหน้า 120
ชั่วโมง (5 วัน )
เมื่อมีข้อมูลยืนยัน
แล้ววาจะเกิดภัย
มากกวาร้อยละ
60 จะแจ้งแนวทาง
ปฏิบัติให้มีการแจ้ง
เตือนภัยไมต่ากวา
72 ชั่วโมง กอน
เกิดภัย
สิ่งที่ต้องรู ้ในระยะเร่งด่วนคือ
1)ขอบเขตที่ชัดเจนของภัยและความเสียหาย
เสียหาย
2)จุดเสี่ยงที่อาจะเกิดภัยพิบัติซ้า
3)ข้อมูลภัยพิบัติที่อาจเกิดซ้า
4)จุดปลอดภัย
5)เส้นทางปลอดภัยสาหรับอพยพ
Free Website
- USGS
- GEOFON
- EMSC
- GDACS
- NOAA
- IOC
ระบบและกลไกการเตือนภัย
องค์การ
แผ่นดินไหว
นานาชาติ
กรมอุตุนิยมวิทยา
ประชาชน/
นักท่องเที่ยว
หน่วยงานต่างประเทศ
- PTWC ATWC
- REGIONAL TSUNAMI
ADVISORY SERVICCE
PROVICDER
จังหวัด
อาเภอ
อปท.
การแจ้งเตือนภัยสู่
ประชาชนจังหวัด
กอปภ. จังหวัด
อาเภอ
กอปภ. อาเภอ
สื่อสารสาธารณะ
ท้องถิ่น
กอปภ. อปท
ท้องที่
กานัน/
ผู้ใหญ่บ้าน
ราชกา
ร
เอกชน
สถานี
วิทยุกระจายเ
สียงแห่ง
ประเทศไทย
ประจาจังหวัด
สถานี
วิทยุกระจาย
เสียงของ
หน่วยทหาร
ตารวจใน
พื้นที่
วิทยุ
ชุมชน
อาสากู้ภัย
สื่อสังคมออนไลน์
Web Site แจ้ง
เตือนภัย
FB page
ข้อความสั้น
SMS
ประชาสัม
พันธ ์
จังหวัด
เคเบิ้ล ทีวี
Digital TV
ชมรมวิทยุ
สมัครเล่น
(VR)
ช่องทางอื่น ๆ
ตามความ
เหมาะสม ใน
แต่ละพื้นที่
Application
Line
ประชาชน
1. หอกระจายข่าว
• ส่วนราชการ (ศภช., กรมทรัพยากร
• ท้องที่ ตาบล หมู่บ้าน อปท.
• ศาสนสถาน วัด มัสยิด
2. รถกระจายเสียง (อปท.)
3. อุปกรณ์เตือนภัยประจา
หมู่บ้าน เช่น ไซเรนมือ
หมุน โทรโข่ง เกราะ
4. เครือข่ายอาสาสมัคร
มวลชนแจ้งเตือนภัย เพื่อน
เตือนภัย มิสเตอร ์เตือนภัย
อาสาสมัครเฝ้ าระวังน้าป่ า
และดินถล่ม อปพร. อสม.
ฯลฯ
5. การปฏิบัติอื่นตามแผน
เผชิญเหตุระดับหมู่บ้าน เช่น
การดูแลคุ้ม การชักธงสี
สัญญาณ การติดธงขาวขอ
หอเตือน
ภัย จานวน
344 แหง
Downlink
Satellite
เครื่องรับสัญญาณเตือนภัย
ผานดาวเทียม จานวน 179
แหง
เครื่องรับสัญญาณเตือน
ภัยในท้องที่ จานวน
1590
Disaster Warning System
Diagram
ระบบ
ประมวล
วิเคราะห์
ข้อมูล
สภาพ
อากาศ
เพื่อการ
เตือนภัย
ระบบควบคุม
และสั่งการใน
การเตือนภัย
สถานี
ตรวจวัด
สภาพ
อากาศ
อัตโนมัติ
ข้อมูล
ตรวจ
อากาศ
ด้วยเรดาร ์
ชุดควบคุม ณ ห้องปฏิบัติการศูนย์เตือน
ภัยพิบัติแหงชาติ บางนา , ศูนย์ราชการ
, และชุดควบคุมประจาจังหวัด 12
แหง
Internet
Backup
(ADSL)
สถานีถายทอด
สัญญาณ
จานวน 287
แหง
หอกระจาย
ขาว จานวน
654 แหง
หอเตือนภัย
จานวน 344 แหง
เครื่องรับสัญญาณเตือนภัยผาน
ดาวเทียม จานวน 179 แหง
Disaster Warning System Diagram
ชุดควบคุม ณ ห้องปฏิบัติการศูนย์
เตือนภัยพิบัติแหงชาติ บางนา ,
ศูนย์ราชการ, และชุดควบคุม
ประจาจังหวัด 12 แหง
เครื่องรับสัญญารเตือนภัย
ในท้องที่ จานวน 1590
สถานีถายทอดสัญญาณ
จานวน 287 แหง
หอกระจายขาว
จานวน 654 แหง
Downlink
Satellite
ระบบเตือนภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติ
ระบบเตือนภัยที่ติดตั้งใช้ประโยชน์ในการเตือนภัยแก่ประชาชน และ
นักท่องเที่ยวในบริเวณพื้นที่เสี่ยงภัย โดยข้อความเตือนภัยที่บันทึกไว้
(Pre-recorded) รวมทั้งสิ้นไม่น้อยกว่า 15 ข้อความเตือนภัย เช่น
ข้อความเตือนภัยสึนามิ, ข้อความเตือนภัยพายุฤดูร ้อน, ข้อความเตือน
ภัยฝนตกหนัก เป็ นต้น โดยมีศูนย์ควบคุมการเตือนภัย ณ ศูนย์เตือน
ภัยพิบัติแห่งชาติ (บางนา) เป็ นหน่วยงานในการพิจารณาแจ้งการเตือน
ภัยแก่ประชาชน
ข้อความเตือนภัย
ข้อ ค ว า ม ซึ่ง บัน ทึกไ ว้ล่ ว ง ห น้ า จ ะ
ประกอบด้วย
1. การเตือนภัยแผนดินไหว
2. การเตือนภัยสึนามิ (กรณีเตรียมพร้อมเฝ้าระวัง)
3. การเตือนภัยสึนามิ (กรณีเตือนภัย)
4. การเตือนภัยน้าปาไหลหลาก
5. การเตือนภัยพายุ
6. การเตือนภัยน้าทวมเกิดจากเขื่อนชารุด
7. การเตือนภัยคลื่นสูงจากพายุ
8. การทดสอบสัญญาณ
ข้อความเตือนภัย
ข้อ ค ว า ม ซึ่ง บัน ทึกไ ว้ล่ ว ง ห น้ า จ ะ
ประกอบด้วย
9. การยกเลิกสถานการณ์
10. เพลงชาติไทย
11. คาเตือนเรื่องฝนตก
12. คาเตือนเรื่องฝนตกหนักมีปริมาณมาก
13. คาเตือนเรื่องฝนตกหนักจะเกิดน้าทวมฉับพลัน
14. คาเตือนพายุฤดูร้อนและพายุฝนฟ้าคะนอง
15. แจ้งสถานการณ์อยูในสภาวะปกติแล้ว
จงประเมินขาวสาร
โดยเลือกขาวที่เกี่ยวข้องกับสาธารณภัยลาสุดในรอบ 1 เดือนมา 1 ขาว
แล้ววิเคราะห์องค์ประกอบของการสื่อสารโดยใช้กรอบ S M
C R
จงประเมินขาว โดยเลือกขาวที่เกี่ยวข้องกับสาธารณภัยลาสุดในรอบ 1 เดือนมา 1
ขาว
ใช้กรอบ S M C R
Source
(แหล่งข่าว)
Message
(ข่าว)
Channel
(ช่องทาง)
Receiver
(ผู้รับสาร)
แต่ละกลุ่ม จงแบงคนเป็น 2 สวน
ทีมสารวจ
2-4 คน / ทีมลงพื้นที่ ไปสารวจความเร็วลม ณ จุดตางๆ ใน
ม.
ทีมข้อมูล-ประมวลผล
2-4 คน / ทีม warroom อยูที่ห้อง ทาหน้าที่ประมวลข้อมูล
ทีมสารวจ
จงใช้เครื่องวัดความเร็วลม วัด - ประเมินจุดที่ลมแรงสุดในแตละโซน
จงคาดการณ์แนวโน้มของความเสียหายหากพายุโซนร้อนปลาบึกขึ้นอาว
ไทย
ทีมข้อมูล-ประมวลผล
จงรับข้อมูลจากทีมสารวจ
จงผลิตข้อความ (ขาว) สาหรับเผยแพรสูประชาชนในพื้นที่ที่จะได้รับผลกระทบให้
ทันเวลา
โจทย์
ภารกิจนี้ให้เวลา 45 นาที
ข้อ
ความสามา
รถ หยุด !
ให้คนสนใจเกิดความ
ปรารถนาเกิดการลงมือทา
หลักของการสื่อสารในภาวะ
วิกฤติ
- สื่อออกมาในเชิงบวก
- รักษาภาพพจน์
- กระชับ
- ไม่ยัดเยียดข้อมูล : พูดแต Fact
- ลดความสับสน : รู้จักใช้ Key Message
(เนื้อหาสาคัญที่ต้องสื่อสาร)
- Tailor made : เจาะจงระดับของ Receiver ที่
สื่อสาร เชน ประชาชนกลุมไหน ผู้บริหาร ธุรกิจ ใช้คาพูด
ลง app Zello คะ
หลังจากสารวจเสร็จให้แตละกลุมเขียนขาว
ข้อความ
ชองทาง
กลุมเป้าหมาย
ให้เวลา 15 นาที (ถึง 16.00 น.) แต่ละกลุ่มจงปรึกษา
กันว่า
จะผลิตข้อความข่าวแจ้งเตือนจุดที่มีลมแรงสุดอย่าง
จงแถลง
ข่าว•ขอให้มีการแตงตั้งผู้ประกาศขาวขึ้นมา
ทาน
•เลือกข้อความขาวขึ้นมา 1 ข้อความ
•ประชาชนมีสิทธิ์ซักถาม
ครั้งนี้มี 5 คะแนน
SMCR เกณฑ์ 0 1
sender ใช้ความรู้ประเมินสถานการณ์ได้
Messa
ge
ระบุเจาะจงกลุมเป้าหมายชัดเจน
Chann
el
เลือกใช้ชองทางเหมาะสม เชน จะใช้
Social media ใช้เสียงตามสาย หรือ
ออกทีวี
Receiv
er
ผู้รับขาวสารถอดความได้ไมคลาดเคลื่อน
และทาให้คนสนใจลงมือทาอะไรบางอยาง
Early
warnin
ทันเวลา – ข้อความสอดคล้องกับระยะของ
ข้อมูลที่ควรให้แกประชาชน เชน แจ้งสิ่งที่ประชาชน

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
Aui Ounjai
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
krupornpana55
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Thanyamon Chat.
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
yasotornrit
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
Beer Aksornsart
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่น
rumpin
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
พัน พัน
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
Jariya Jaiyot
 

Was ist angesagt? (20)

แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินแผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
 
4. to use sequence and series
4. to use sequence and series4. to use sequence and series
4. to use sequence and series
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่น
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 

Mehr von freelance

Mehr von freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessmentWeek 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
 

Week 2 disaster informatics