SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 33
Downloaden Sie, um offline zu lesen
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 1
สรุปหนังสือ
ปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
จัดทาโดย
นายจิรภัทร เฮ้งเจริญ 56130500008
นายทศวัชร์ ชุติมาสกุล 56130500020
นายวิรชาญ บุญยิ้ม 56130500067
นายศรัณย์ มุ่งธัญญา 56130500069
นางสาวศศินันท์ สิทธิเมธิตานันท์ 56130500070
นางสาวสรัญญา ขาสุวรรณ 56130500077
นางสาวอัจฉรีญา นาวารี 56130500083
เสนอ
อาจารย์ศิรินันต์ สุวรรณโมลี
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 1
หนังสือที่นามาสรุปนี้มีชื่อว่า ปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป โดยมีผู้เขียนชื่อ ซา
เมียร์ โอคาชา เป็น Reader สาขาปรัชญาวิทยาศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยบริสตอล สหราช
อาณาจักร และเมื่อนาเข้ามาในประเทศไทย มีคุณจุไรรัตน์ จันทร์ธารง อดีตอาจารย์
ประจาภาควิชามานุษยวิทยาคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โดยหนังสือเล่มนี้ประกอบไปด้วย 196 หน้า มีทั้งหมด 7 บท
จากการสรุปเบื้องต้น เป็นความเห็นที่มาจากทางหนังสือ แต่ในความเป็นจริงยังมี
ความคิดเห็นที่แตกต่างไปจากนี้
หากผู้จัดทาผิดพลาดประการใดต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
ผู้จัดทา
คานา ก
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 2
บทที่ 1 วิทยาศาสตร์คืออะไร 1
บทที่ 2 การลาดับเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ 5
บทที่ 3 การอธิบายในวิทยาศาสตร์ 8
บทที่ 4 สัจนิยมและปฏิสัจนิยม 10
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงทางวิทยาศาสตร์และการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ 13
บทที่ 6 ปัญหาปรัชญาในฟิสิกชีวะ จิตวิทยา 16
บทที่ 7 วิทยาศาสตร์และการวิพากษ์วิจารณ์วิทยาศาสตร์ 18
ความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับแนวคิดทางจริยศาสตร์ 23
บทบาท วิธีการทางานและความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือ 27
สารบัญ ข
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 3
วิทยาศาสตร์คือความพยายามที่จะเข้าใจ อธิบาย และคาดการณ์ล่วงหน้าเกี่ยวกับโลกที่
เราอาศัยอยู่ แต่เราจะไม่ถือว่าศาสนา และโหราศาสตร์ หรือการทานายโชคชะตาที่เป็นการ
ทานายเหตุการณ์ล่วงหน้าเป็นวิทยาศาสตร์ โดยลักษณะสาคัญของวิทยาศาสตร์ได้แก่ การสร้าง
ทฤษฎี โดยต้องบันทึกทดลองสังเกตุ และอธิบายผลการทดลองโดยสร้างเป็นทฤษฎีด้วย
จุดเริ่มต้นของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่
วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ก้าวหน้ายุโรปช่วง ค.ศ.1500-1750 ซึ่งเรียกว่า การปฏิวัติทาง
วิทยาศาสตร์ โดยก้าวแรกทางวิทยาศาสตร์สมัยใหม่คือ ค.ศ.1542 ในยุคของนิโคลัส โคเปอร์นิคัส ซึ่ง
เป็นชาวโปแลนด์ซึ่งมีแนวคิดที่ว่า โลกเป็นจุดศูนย์กลางของจักรวาล โดยมีดาวเคราะห์อื่นๆ รวมถึง
พระอาทิตย์นั้นโคจรรอบโลก ต่อมา นิโคลัสได้กล่าวใหม่ว่า แท้จริงแล้วดวงอาทิตย์ต่างหากที่เป็นจุด
ศูนย์กลาง แนวคิดนี้ในช่วงแรกถูกต่อต้านอย่างมากโดยเฉพาะจากคริสตจักรคาทอลิก เนื่องจากมี
ความขัดแย้งกับคาสอนในคริสตธรรมคัมภีร์ และห้ามเผยแพร่หนังสือที่สนับสนุนว่าโลกโคจรรอบดวง
อาทิตย์ โดยแนวคิดนี้ส่งผมทางอ้อมต่อพัฒนาการของฟิสิกส์สมัยใหม่ โดยผ่านโยฮันเนส เคปเลอร์
และกาลิเลโอ โดยเคปเลอร์พบว่า ดาวเคราะห์ไม่ได้โคจรเป็นวงกลมรอบดวงอาทิตย์ตามที่โคเปอร์
นิคัสกล่าวแต่เป็นวงรีต่างหาก จนกระทั้งกาลิเลโอสนับสนุนแนวคิดนี้แล้วเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกกล้อง
จุลทรรศน์ยุคแรกๆ ต่อมากาลิเลโอได้สร้างทฤษฎีกฎแห่งการตกโดยอิสระที่กล่าวว่า วัตถุที่ตกเองจะ
ทวีความเร็วในอัตราที่เท่ากัน ซึ่งจัดว่ากาลิเลโอเป็นนักฟิสิกส์สมัยใหม่ที่แท้จริง แต่หลังจากกา-ลิเลโอ
ได้เสียชีวิตลง การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ได้รุดหน้าได้อย่างรวดเร็ว มีนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศษ ที่
ชื่อว่า เรอเน เดส์การ์ตส์ ได้พัฒนาปรัชยาแนวจักรกลซี่งมีใจความว่า โลกกายภาพประกอบด้วย
อนุภาคเฉื่อยของสสารที่ทาปฏิกิริยาและเคลื่อนชนกัน ซึ่งเป็นกุญแจไขความเข้าใจในโครงสร้างของ
โคเปอร์นิคัส
การปฏิวัติในงานของไอแซค นิวตัน ผลชงานชิ้นเอกของเขาคือ หนังสือเรื่อง หลักคณิตศาสตร์
ของปรัชญาธรรมชาติ ซึ่งมีใจความว่า เทหวัตถุใดๆ ในจักรวาลจะส่งแรงดึงดูดหรือโน้มถ่วงไปยังเทห
วิทยาศาสตร์คืออะไร 1
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 4
วัตถุอื่นๆ กาลังของแรงดึงดูดระหว่างสองเทหวัตถุขึ้นอยู่กับผลผลิตของมวลสารของเทหวัตถินั้นๆ
และขึ้นอยู่กับระยะห่างระหว่างเทหวัตถุยกกาลังสอง ซึ่งนิวตันได้เพิ่มรายละเอียดให้กับทฤษฎีของเขา
โดนใช้ความแม่นยาและความเคร่งครัดทางคณิตศาสตร์ คิดค้นเทคนิคทางคณิตศาสตร์ที่เรียกว่า
แคลคูลัส ในปัจจุบัน ทฤษฏีของนิวตันได้แสดงให้เห็นการทางานที่แท้จริงของธรรมชาตื และสามารุ
อธิบายทุกสิ่งทุกอย่างได้อย่างน้อยก็ในหลักการโดยในช่วงคริตส์ศตวรรษที่ 18 และ 19 เป็นช่วงมี่
วิทยาศาสตร์ได้มีการเจริญก้าวหน้าอย่างเห็นได้ชัด โดยเฉพาะการค้นคว้าทางเคมี ทัศนศาสตร์
พลังงาน อุณหพลศาศตร์ และแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ภายในกรอบแนวคิดของนิวตันทั้งสิ้น
พอถึงในคริสต์ศตวรรษที่ 20 แนวคิดที่ได้นิวตันได้เคยกล่าวมานั้นได้ถูกลบล้างด้วยทฤษฎีสัมพัทธ
ภาพ ซึ่งเป็นแนวปฏิวัติในรุ่นหลังโดยถูกค้นพบโดย ไอน์สไตน์ที่แสดงให้เห็นว่าหลักการของนิว-ตันนั้น
มีผลลัพธ์นั้นไม่ถูกเมื่อใช้กับวัตถุที่มีขนาดใหญ่มาก หรือสิ่งที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงมาก ในทาง
กลับกันกลศาสตร์ควอนตัมได้แสดงให้เห็นว่า ทฤษฎีของนิวตันนามาใช้อธิบายกับสิ่งที่มีขนาดอนุภาค
เล็กกว่าอะตอม
จะสังเกตุได้ว่าประวัติโดยย่อที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ได้มุ่งเน้นไปที่วิชาฟิสิกส์ส่วนใหญ่
เนื่องจากฟิสิกส์นั้นเป็นวิชาพื้นฐานที่สุด และมีใจความสาคัญในทางประวัติศาสตร์ โดยสิ่งต่างๆวิชา
วิทยาศาสตร์สาขาอื่นนั้นได้ประกอบจากหน่วยทางกายภาพทั้งสิ้น
วิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์เทียม
นักวิทยาศาสตร์ผู้ทรงอิทธิพลในคริตส์ศตวรรษที่ 20 คิดว่า ลักษณะพื้นฐานประการหนึ่งของ
ทฤษฎีวิทยาศาสตร์คือ ทฤษฎีวิทยาศาสตร์ควรที่จะหักล้างได้ ซึ่งการที่บอกว่าเป็นทฤษฎีที่หักล้าง
ไม่ได้ไม่ได้ถือว่าเป็นความคิดที่ผิด แต่หมายความว่าทฤษฎีนั้นทาการพยากรณ์ที่สามารถทดสอบกับ
ประสบการณ์ได้ ถ้าทดสอบแล้วคาทานายนั้นผิด ทฤษฎีนั้นก็ถูกหักล้างหรือพิสูจน์ว่าผิด ดังนั้นทฤษฎี
ที่หักล้างได้จึงเป็นทฤษฎีที่อาจจะค้นพบว่าไม่ถูกต้องหรือไม่สอดคล้องกับประสบการณ์เสมอไปฟอป
เปอร์คิดว่า บางทฤษฎีที่อ้างว่าเป็นทฤษฎีวิทยาศาสตร์นั้นไม่เป็นไปตามเงื่อนไขนี้ จึงไม่สมควรเรียกว่า
วิทยาศาสตร์ หากเป็นเพียงวิทศาสตร์เทียมเท่านั้น
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 5
การอนุมานแบบนิรนัยและการอนุมานแบบอุปนัย (Deduction and induction)
นักตรรกวิทยาได้จาแนกข้อแตกต่างที่สาคัญระหว่างการอนุมานแบบนิรนัย และการอนุมาน
แบบอุปนัยดังนี้
การอนุมานแบบนิรนัย
เป็นการอ้างเหตุผลนามาซึ่งข้อสรุป กล่าวคือ ถ้าข้ออ้างเป็นจริง ข้อสรุปก็จะเป็นจริงด้วย
ตัวอย่าง
ชาวฝรั่งเศสทุกคนชอบไวน์แดง
ปิแอร์เป็นคนฝรั่งเศส
__________________
ดั้งนั้น ปิแอร์ชอบไวน์แดง
การอนุมานแบบอุปนัย เป็นการอ้างสิ่งที่ทดสอบไปแล้วไปสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับสิ่งที่ยังไม่ได้ทดสอบ
ตัวอย่าง
ไข่ห้าฟองแรกในกล่องเน่า
ไข่ทุกฟองมีตราประทับบอกวันหมดอายุเหมือนกัน
___________________
ดังนั้น ไข่ฟองที่หกจะต้องเน่าด้วย
การลาดับเหตุผลเชิงนิรนัยมีโอกาสผิดน้อยกว่าการลาดับเหตุผลเชิงอุปนัยมาก ในการใช้
เหตุผลแบบนิรนัย เราแน่ใจว่าเราเริ่มจากข้ออ้างที่เป็นจริง และจบลงด้วยข้อสรุปที่เป็นจริง แต่
การลาดับเหตุผลแบบอุปนัยไม่เป็นเช่นนั้น ตรงกันข้าม เป็นไปได้ทีเดียวที่การลาดับเหตุผลแบบ
อุปนัย จะเริ่มจากข้ออ้างที่เป็นจริงไปสู่ข้อสรุปที่ไม่เป็นจริง
การลาดับเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ 2
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 6
ถึงแม้ว่าการอนุมานแบบอุปนัยจะมีข้อบกพร่อง แต่คนเราจะพึ่งใช้การอนุมานแบบอุปนัยโดย
ไม่รู้ตัว แม้กระทั่งนักวิทยาก็ใช้การลาดับเหตุการณ์แบบอุปนัย ดังจะเห็นตัวอย่างได้จาก ข้อสรุป
เกี่ยวกับแรงโน้มถ่วง นิวตันสังเกตเห็นว่ากฎแรงโน้มถ่วงเกิดขึ้นกับดาวเคราะห์ต่างๆ ดวงอาทิตย์ และ
สิ่งของหลากหลายชนิดที่เคลื่อนเข้าใกล้พื้นผิวโลก เขาจึงอนุมานว่า กฎแรงโน้มถ่วงเกิดขึ้นกับเทห
วัตถุทั้งหมด ถึงแม้ว่านักปรัชญาส่วนใหญ่ยอมรับการใช้การอุปนัยในวิทยาศาสตร์ แต่ก็มีผู้ที่ไม่เห็น
อย่างนั้นด้วย เช่น คาร์ล พอปเปอร์ และ เดวิด ฮูม
ปัญหาของฮูม
ฮูมได้ให้คาตอบที่ง่ายดายแต่ลึกซึ้งว่า แท้จริงแล้ว การใช้การอนุมานเชิงอุปนัยไม่สามารถหา
เหตุผลที่เหมาะสมมาสนับสนุนได้เลย ฮูมยอมรับว่าเราใช้การอุปนัยอยู่ตลอดเวลาชีวิตประจาวันและ
ในวิทยาศาสตร์ แต่ยืนยันว่านี่เป็นการทาไปด้วยความเคยชินของสัตว์โลกเท่านั้น ถ้ามีผู้ขอให้ยก
เหตุผลที่ดีมาสนับสนุนการอนุมานแบบอุปนัย เราก็ให้คาตอบที่น่าพอใจไม่ได้
ประเด็นที่เป็นข้อเสนอของฮูมคือ การอนุมานเชิงอุปนัยตั้งอยู่บนข้อสมมติฐานเบื้องต้นว่า
ธรรมชาติมีความเป็นแบบเดียวกัน แต่ไม่สามารถพิสูจน์ได้และไม่สามารถหาหลักฐานเชิงประจักษ์มา
ยืนยันว่าเป็นเช่นนั้นจริง
ปีเตอร์ สตรอสัน ปกป้องแนวคิดที่ว่า การอุปนัยเป็นรากฐานของวิธีคิดและการลาดับเหตุผล
ของเราจนไม่ใช่เรื่องที่จะอ้างเหตุผลสนับสนุนได้ โดยได้อุปมาอุปไมยไว้ว่า “ คนที่กังวลว่าการ
กระทาใดถูกกฎหมายหรือไม่ สามารถจะเปิดตารากฎหมายและเปรียบเทียบการกระทานั้นกับสิ่งที่
บอกไว้ในตารา แต่คนที่กังวัลว่าตัวบทกฎหมายเองถูกกฎหมายหรือไม่ ถือเป็นความกังวลที่พิลึก
จริงๆ ” การอุปนัยก็เช่นเดียวกัน การอุปนัยเป็นหนึ่งในบรรทัดฐานที่ใช้ตัดสินว่า ข้ออ้างต่างๆ
เกี่ยวกับโลกมีเหตุผลสนับสนุนหรือไม่ การลาดับเหตุผลชนิดนี้รู้จักกันในฐานะที่เป็น การอนุมานโดย
เลือกคาอธิบายที่ดีที่สุด
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 7
ความเป็นไปได้และการอุปมัย
นักปรัชญาวิทยาศาสตร์สนใจความเป็นไปได้ด้วยเหตุผลสองประการ เหตุผลประการแรกคือ
ในวิทยาศาสตร์หลายสาขา โดยเฉพาะ ฟิสิกส์และชีววิทยา เราพบทฤษฎีต่างๆ ที่กาหนดขึ้นโดยอาศัย
แนวคิดเรื่องความเป็นไปได้ และเหตุผลประการที่สอง ที่นักปรัชญาวิทยาศาสตร์สนใจแนวคิดเรื่อง
ความเป็นไปได้ เพราะหวังว่าแนวคิดนี้จะช่วยอธิบายการอนุมานเชิงอุปนัยโดยเฉพาะปัญหาของฮูมให้
กระจ่างได้
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 8
วิทยาศาสตร์คือการทดลองและอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นบนโลกนี้ได้ เพื่อสนองความใฝ่รู้
วิทยาศาสตร์มีโครงสร้างถกเถียงเชิงตรรกะ
1. อธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นจริง
2.หลักฐานบอกข้อสรุป
2.1. กฎ บอกเหตุผล เช่น โดนรังสีนานจึงเป็นมะเร็ง (ไขความลี้ลับของปรากฏการณ์)
2.2. ข้อเท็จจริง คือ เราตายเพราะมะเร็ง
วิทยาศาสตร์ อธิบาย ได้ทุกเรื่องไหม ?
เราสามารถไขความลับสมัย 4000 ล้านปีก่อนได้ทั้งๆที่ก่อนหน้านี้ก็ไม่มีคาอธิบาย แต่เมื่อ
วิทยาศาสตร์มันก้าวหน้าอยู่ทุกวัน เลยทาให้ค้นพบคาตอบแต่บางอย่างก็ไม่มีวันอธิบายได้ เช่น
สัมปชัญญะเป็นความคิดความรู้สึกของมนุษย์ ที่เหนือสิ่งมีชีวิตอื่น
การอธิบายถูกใช้ในหลากหลายรูปแบบ ตัวอย่างเช่น นักเรียนที่เข้าห้องเรียนสายจะอธิบาย
สาเหตุที่มาสาย นี่เป็นรูปแบบของการตัดสิน(justification) ในอีกสถานการณ์หนึ่ง นักเรียนมักจะถูก
ถามเพื่อให้อธิบายว่าทาไมคณิตศาสตร์ถึงเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ นี่คือการอธิบายรูปแบบของ
กระบวนการ/วิธีการในการทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ที่ปรากฏในสังคม คนทั่วๆไปมักจะอธิบายเกี่ยวกับบางสิ่ง
บางอย่างในข้อเท็จจริง(fact) และการแสดงออกทางความคิดเห็นส่วนบุคคล
จากตัวอย่างที่เห็นจะพบว่า การอธิบายของคนทั่วไปจะเป็นการอธิบายทางความคิดเห็น
ไม่ใช่การอธิบายทางกระบวนการวิทยาศาสตร์
Prof. Bybee ยกตัวอย่างให้เราเห็นความสาคัญของการอธิบายในกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ดังนี้ เมื่อบอกจานวนความสัมพันธ์ของคนตายและแอลกอฮอล์ในจังหวัดที่เราอาศัยอยู่
การอธิบายในวิทยาศาสตร์ 3
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 9
เราต้องให้เหตุผลว่าทาไมจานวนจึงลดลง การเปลี่ยนแปลงจานวนและหาสาเหตุที่ทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงขึ้น นั่นก็คือ การอธิบายโดยใช้ข้อมูลและให้เหตุผลบนพื้นฐานของข้อมูล
การอธิบายจึงเป็นศูนย์กลางที่จะรู้เรื่องราวของโลกธรรมชาติ เป็นสมติฐานทางวิทยาศาสตร์และ
นักเรียนที่เรียนรู้วิทยาศาสตร์ อธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ไม่คุ้นเคย โดยหาความสัมพันธ์จากสิ่งที่มีคุ้นเคย
แม้ว่าอาจจะมีความขัดแย้ง ก็ต้องศึกษาสิ่งที่ทาให้เกิดความขัดแย้ง นั่นคือวิธีการเรียนรู้ของบุคคล
นั่นเอง
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 10
มีข้อถกเถียงระหว่างสองสานักปรัชญาที่ความคิดตรงข้ามกันคือ สัจนิยมและปฏิสัจนิยม
โดยสัจนิยมจะถือว่าโลกทางกายภาพดารงอยู่เป็นอิสระจากความคิดและการรับรู้ของมนุษย์ ส่วนปฏิ
สัจนิยมจะอ้างว่าโลกทางกายภาพขึ้นกับกิจกรรมที่อยู่ในอานาจความนึกคิดของมนุษย์ไม่ทางใดก็ทาง
หนึ่ง
บทนี้จะพูดถึงข้อถกเถียงที่สมัยใหม่ซึ่งเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะชาวสัจนิยมถือว่า
จุดมุ่งหมายของวิทยาศาสตร์คือ การบอกเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับโลกตามความเป็นจริง แต่ชาวปฏิสัจ
นิยมไม่ได้คิดเช่นนั้น ชาวปฏิสัจนิยมถือว่าจุดมุ่งหมายของวิทยาศาสตร์คือ การบอกเล่าเรื่องราวที่เป็น
จริงเกี่ยวกับบางส่วนของโลกที่ “มองเห็นได้”
ชาวสัจนิยมและชาวปฏิสัจนิยมมีความเห็นต่างกันในเรื่องของศาสตร์อย่างฟิสิกส์ ชาวสัจนิยม
บอกว่าเมื่อนักฟิสิกส์เสนอทฤษฎีเกี่ยวกับอิเล็กตรอนและควาร์ก พวกเขากาลังพยายามบอกเล่า
เกี่ยวกับโลกส่วนที่เล็กกว่าอะตอมซึ่งมีอยู่จริง แต่ชาวปฏิสัจนิยมพวกเขาคิดว่านักฟิสิกส์ตั้งใจจะทา
อะไรเมื่อพูดถึงสิ่งซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า พวกเขาย่อมจะอ้างว่าสิ่งซึ่งมองไม่เห็นเหล่านี้เป็นเพียง
เรื่องซึ่งนักฟิสิกส์อุปโลกน์ขึ้น
ปฏิสัจนิยมได้รับแรงจูงใจส่วนใหญ่จากความเชื่อที่ว่า เราไม่สามารถเข้าถึงความรู้เกี่ยวกับ
ภาคส่วนของความเป็นจริงซึ่งมองไม่เห็นเพราะพ้นขอบเขตของความรู้มนุษย์ ความสามารถในการ
มองเห็นสิ่งต่างๆ ของเรา เป็นตาจากัดขอบเขตความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ชาวสัจนิยมไม่เห็นด้วยว่า
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นเงื่อนไขจากัดความสามารถในการมองเห็นของเรา ตรงกันข้ามพวกเขา
เชื่อว่าเกี่ยวกับความเป็นจริงที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่าอยู่แล้วเป็นอันมาก
ข้อถกเถียงว่าด้วย ‘ไม่มีปาฏิหาริย์’
ข้อถกเถียงว่าด้วย “ไม่มีปาฏิหาริย์” เราจะอธิบายความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีซึ่งมีทฤษฎี
วิทยาศาสตร์เป็นฐานอย่างไร ถ้าหากอะตอมและอิเล็กตรอนเป็นเพียง ‘สิ่งที่อุปโลกน์ขึ้นเพื่อความ
สัจนิยมและปฏิสัจนิยม 4
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 11
สะดวก’ ดังที่ชาวปฏิสัจนิยมบอก ถ้าเช่นนั้น การเป็นชาวปฏิสัจนิยมก็ไม่ต่างกับการเชื่อในปาฏิหาริย์
ข้อถกเถียงว่าด้วย “ไม่มีปาฏิหาริย์” ของสัจนิยมวิทยาศาสตร์นี้ เป็นข้อถกเถียงที่เป็นไปได้ซึ่งเป็นการ
อนุมานจากคาอธิบายที่ดีที่สุด คาอธิบายที่ดีที่สุดคือ ทฤษฎีเหล่านั้นถูกต้องตามความเป็นจริง สิ่ง
ต่างๆ ซึ่งอ้างถึงมีอยู่จริงและมีพฤติกรรมตามที่บอกไว้ในทฤษฎี ชาวปฏิสัจนิยมตอบโต้ข้อถกเถียงนี้
ด้วยการหันไปอ้างอิงข้อเท็จจริงทางประวัติศาตร์วิทยาศาสตร์ ซึ่งมีหลายทฤษฎีที่ประสบความสาเร็จ
เชิงประจักษ์ หนึ่งในทฤษฎีเหล่านี้คือ ทฤษฏีโฟลจิสตัน ซึ่งปัจจุบันไม่มีสารประเภทโฟลจิสตัน แต่
ทั้งๆที่ไม่มีสารโฟลจิสตัน ทฤษฎีโฟลจิสตันก็ค่อนข้างจะประสบความสาเร็จเชิงประจักษ์ เพราะสอด
รับกับข้อมูลที่มองเห็นซึ่งมีอยู่ในเวลานั้นเป็นอย่างดี
สิ่งที่มองเห็นและสิ่งที่มองไม่เห็น
ประเด็นหลักที่ค่ายสัจนิยมกับค่ายปฏิสัจนิยมโต้เถียงกันคือ ข้อแตกต่างระหว่างสิ่งที่มองเห็น
กับสิ่งที่มองไม่เห็น ปัญหาเกี่ยวกับการจาแนกสิ่งซึ่งมองเห็นกับสิ่งซึ่งมองไม่เห็นประการหนึ่ง คือ
ปัญหาเกี่ยวกับการสังเกตและการสืบค้น เป็นธรรมดาที่ตะมองไม่เห็นอนุภาคพื้นฐานอย่างอิเล็กตรอน
แต่สามารถสืบค้นได้โดยใช้เครื่องมือพิเศษที่เรียกว่า ห้องหมอก
โกรเวอร์ แมกซ์เวล นักปรัชญาชาวอเมริกันได้ตั้งปัญหาให้ชาวปฏิสัจนิยมตอบดังนี้ ลอง
พิจารณาลาดับเหตุการณ์ต่อไปนี้ มองดูของสิ่งหนึ่งด้วยตาเปล่า มองดูของสิ่งหนึ่งทางหน้าต่าง มองดู
ของสิ่งหนึ่งผ่านแว่นตาหนาเตอะ มองดูของสิ่งหนึ่งผ่านกล้องส่องทางไกล บอกว่าเหตุการณ์เหล่านี้
เกิดต่อเนื่องกันโดยไม่สะดุด ดังนั้น จะชี้ชัดลงไปได้อย่างไรว่าเหตุการณ์ไหนเป็นการมองเห็น และ
เหตุการณ์ไหนเป็นการมองไม่เห็น ถ้าสามารถมองเห็นของสิ่งหนึ่งได้โดยอาศัยเครื่องมือวิทยาศาสตร์
ที่มีส่วนประกอบซับซ้อน จะนับว่าเป็นการมองเห็นหรือไม่ เครื่องมือต้องมีสวนประกอบซับซ้อนแค่
ไหน จึงจะถือว่าเป็นการสืบหาร่องรอยมากกว่าจะเป็นการมองเห็น บาส แวน ฟราซเซน ชาวปฏิสัจ
นิยมร่วมสมัยคนสาคัญอ้างว่า ข้อโต้แย้งของแมกซ์ เวลเพียงแต่แสดงว่า ‘การมองเห็น’ เป็นแนวคิดที่
คลุมเครือเท่านั้น ข้อโต้แย้งของแมกซ์เวลเน้นข้อเท็จจริงที่ว่า มีกรณีก้ากึ่งซึ่งเราไม่แน่ใจว่าสิ่งที่พูดถึง
นั้นมองเห็นหรือสีบสาวร่องราวได้เท่านั้น
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 12
ข้อถกเถียงว่าด้วยความไม่พอเพียงในการอธิบายข้อมูล
ชาวสัจนิยมขานรับข้อโต้แย้งว่าด้วยความไม่เพียงพอในการอธิบายข้อมูลด้วยการยืนยันว่าข้อ
ถกเถียงนี้เป็นจริงในเรื่องที่ไม่สาคัญและไม่น่าสนใจเท่านั้น ในหลักการข้อมูลซึ่งมองเห็นชุดหนึ่ง จะมี
คาอธิบายมากกว่าหนึ่งเสมอ แต่ชาวสัจนิยมบอกว่าคาอธิบายที่เป็นไปได้ทั้งหมดไม่ใช่คาอธิบายที่ดี
เสมอกัน ถ้าทฤษฏีที่แตกต่างกันสามารถอธิบายข้อมูลซึ่งมองเห็นได้ดีทัดเทียมกันดังที่ชาวปฏิสัจนิยม
ยืนยัน เราก็ควรจะคาดหวังได้ว่านักวิทยาศาสตร์แทบจะไม่มีวันมีความเห็นตรงกันเลยใช่หรือไม่ แต่
แท้ที่จริงแล้วแทนที่จะมีคาอธิบายข้อมูลซึ่งมองเห็นให้เลือกจานวนมากการค้นพบทฤษฎีที่มีเหตุผล
รองรับข้อมูลอย่างเพียงพอแม้เพียงทฤษฎีเดียวก็มักเป็นเรื่องยากเย็นสาหรับนักวิทยาศาสตร์
ข้อเท็จจริงนี้สนับสนุนทัศนะของชาวสัจนิยมที่ว่า ความไม่เพียงพอในการอธิบายข้อมูลเป็นเพียงความ
กังวลของนักปรัชญาซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ในภาคปฏิบัติเท่าใดนัก
อันที่จริง ชาวสัจนิยมที่โต้แย้งกาลังบอกวา ปัญหาซึ่งข้อถกเถียงว่าด้วยความไม่เพียงพอใน
การอธิบายข้อมูลยกขึ้นมา เป็นเพียงภาคที่ละเอียดซับซ้อนของปัญหาการลาดับเหตุผลเชิงอุปนัย
ชาวสัจนิยมบอกว่า เมื่อถึงที่สุดแล้ว ข้อเสนอของชาวปฏิสัจนิยมก็ไม่มีเกณฑ์ที่แน่นอน การทาความ
เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์สามารถให้ความรู้เกี่ยวกับอะตอมและอิเล็กตรอนแก่เราอย่างไร กับการทา
ความเข้าใจว่าวิทยาศาสตร์สามารถให้ความรู้เกี่ยวกับวัตถุขนาดกลางธรรมดาๆ แก่เราอย่างไร มี
ปัญหาพอกัน
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 13
ความคิดทางด้านวิทยาศาสตร์มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เมื่อมีการย้อนทฤษฏีทาง
วิทยาศาสตร์ต่างๆกลับไปเมื่อ 50 ปี หรือ 100 ปี ซึ่งมีความแต่งต่างกันมากกับในปัจจุบัน จึงเกิดการ
อภิปรายเกี่ยวกับคาถามเหล่านั้นมากมายโดยส่วนใหญ่ เริ่มมาจากโทมัส คูห์น นักประวัติศาสตร์และ
ปรัชญาวิทยาศาสตร์ เขาได้เขียนหนังสือเกี่ยวกับปรัชญาวิทยาศาสตร์ที่ชื่อโครงสร้างของการปฏิวัติ
ทางวิทยาศาสตร์ ทาให้มีผลกระทบต่อวิชาการต่างๆอย่างมาก
ปรัชญาวิทยาศาสตร์ปฏิฐานนิยมเชิงตรรกะ
ปรัชญาวิทยาศาสตร์ปฏิฐานนิยมเชิงตรรกะ เป็นการเครื่อนไหวทางปรชญาที่มีอิทธิพลมาก
ที่สุด ชาวปฏิฐานนิยมเชิงตรรกะเป็นการนัดรวมตัวกันของพวกนักปรัชญาและนักวิทยาศาสตร์เป็น
ส่วนใหญ่ เริ่มพบกันในกรุงเวียนนนาในปี 1920 และ ต้น 1930 ภายใต้การนาของมอริตช์ ชลิค
ชาวปฏิฐานนิยมส่วนใหญ่หนีการตามประหารของพวกนาซีไปอยู่สหรัฐอเมริกา จนปี 1960 ชาวปฏิ
ฐานนิยมเชิงตรรกะเริ่มสลายตัว
ชาวปฏิฐานนิยมเชิงตรรกะนับถือวิทยาศาสตร์ธรรมชาติและคณิตศาสตร์มาก จุดมุ่งหมาย
หนึ่งของพวกเขาคือทาให้วิชาปรัชญา เป็นวิทยาศาสตร์มากขึ้น เพราะเขาเชื่อว่าวิทยาศาสตร์สามารถ
หาคาตอบที่เป็นวัตถุได้โดยสมบูรณ์ วิทยาศาสตร์จึงเป็นกิจกรรมที่เป็นเหตุเป็นผล เป็นเส้นทางไปสู่
ความจริงที่ดารงอยู่อย่างเชื่อมั่นได้
ชาวปฏิฐานนิยมเชิงตรรกะให้ความสนับสนุนประวัติศาสตร์ของวิทยาศาสตร์น้อยมาก พวก
เขาขีดเส้นแบ่งอย่างชัดเจนที่เรียกว่า บริบทของการค้นพบและบริบทของการอ้างเหตุผลสนันสนุน
ชาวปฏิฐานนิยมเชื่อว่าบริบทของการค้นพบเป็นกระบวนการจิตวิทยาที่ไม่มีกฎเกณฑ์แน่นอน ส่วน
บริบทของการอ้างเหตุผลสนันสนุนเป็นเรื่องเชิงตรรกะ ดังนั้นนักปรัชญาวิทยาศาสตร์ควรศึกษา
บริบทของการอ้างเหตุผลสนันสนุนเท่านั้น
การเปลี่ยนแปลงทางวิทยาศาสตร์และการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ 5
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 14
ตัวอย่างเช่นในปี 1865 เคคูเลนักวิทยาศาตร์ชาวเยอรมันพบว่าโมเลกุลของน้ามันเบนซินมี
โครงสร้างเป็นหกเหลี่ยม เขาทดสอบสมมติฐานได้ว่าเป็นวิทยาศาสตร์แต่ชาวปฏิฐานจะแย้งว่าไม่ว่า
จะมีข้อสมมติฐานอย่างไร สิ่งสาคัญคือเขาอ้างหลักฐานสนุบสนุนนข้อสมมติฐานอย่างไร
ความเชื่อว่าการค้นพบเป็นเรื่องเชิงอัตวิสัย และ เชิงจิตวิทยา ขณะที่การอ้างหลักฐาน
สนับสนุนไม่ใช่ ซึ่งเป็นสิ่งที่บอกได้ว่าปรัชญาวิทยาศาสตร์ของชาวปฎิฐานนิยมจึงไม่เป็นประวัติศาสตร์
เพราะประวัติศาสตร์อยู่ในบริบทของการค้นพบ ไม่ได้อยู่ในบริบทของการอ้างหลักฐานสนับสนุน นัก
ปรัชญาวิทยาศาสตร์จึงไม่สนใจกระบวนการทางประวัติศาสตร์
ความสาคัญอีกเรื่องหนึ่งของปัชญาวิทยาศาสตร์เชิงปฎิฐานนิยมคือความแตกต่างระหว่าง
ทฤษฎีกับข้อเท็จจริงที่มองเห็นได้ ซึ่งชาวปฏิฐานนิยมมีความเห็นไม่ตรงกัน เมื่อไม่มีความแตกต่างที่
ชัดเจน ชาวปฏิฐานนิยมจึงตกลงที่จะเชื่อว่าวิทยาศาตร์มีความเป็นเหตุเป็นผลและปรวิสัย
โครงสร้างของการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
โครงสร้างของการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์เป็นยุคของการ
เปลี่ยนแปลงขนาดใหญ่ ความคิดทางวิทยาศาสตร์เดิมถูกแทนด้วยความคิดใหม่ การเปลี่ยนแปลง
เหล่านี้ทาให้ความคิดชุดเก่าถูกลบด้วยความคิดใหม่ที่ต่างกันอย่างสิ้นเชิง ส่วนใหญ่
วิทยาศาสตร์ที่ไม่อยู่ในสภาวะปฏิวัติตูห์นใช้คาว่า วิทยาศาสตร์ปกติ คือกิจกรรมปกติที่
นักวิทยาศาสตร์ทาและมีแนวคิดเรื่องกระบวนทัศน์ เป็นวิทยาศาสตร์ปกติของคูห์น มี 2
องค์ประกอบคือ ข้อสมมติฐานเบื่องต้นและตัวอย่าง สรุปโดยรวมกระบวนทัศน์คือภาพทั้งหมดของ
วิทยาศาสตร์รวมถึงข้อสมมติฐาน ความเชื่อ คุณค่าซึ่งเป็นที่ยอมรับผูกกับวิทยาศาสตร์เข้าด้วยกัน
และทาให้เกิดวิทยาศาสตร์ปกติ
โดยทั่วไปวิทยาศาสตร์สมัยหนึ่งมีเวลาหลายทศวรรษ นักวิทยาศาสตร์จึงมีการปรับเปลี่ยน
ต่างๆเรื่อยๆ แต่เมื่อเวลาผ่านไปจะมีการพบสิ่งที่ผิดจากกระแสหลัก ไม่ตรงกับสมมติฐาน ทาให้เสีย
ความเชื่อมั่นและเป็นจุดเริ่มของการ ปฏิวัติวิทยาศาสตร์ ที่เปลี่ยนจากกระบวนทัศน์เก่าไปสู่กรบวน
ทัศน์ไหม่
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 15
คูห์นเสนอแนวคิดที่ต่างออกไปว่าข้อเท็จจริงเกี่ยวกับโลกสัมพันธ์กับกระบวนทัศน์และจะ
เปลี่ยนเมื่อกระบวนทัศน์เปลี่ยน ก็จะทาให้ไม่มีเหตุผลที่จะถามว่าข้อเท็จจริงเป็นจริงหรือไม่ เพราะ
ความจริงมีความสัมพันธ์กับกระบวนทัศน์
ความไม่สมมาตรและข้อมูลที่พ่วงทฤษฎี
ความไม่สมมาตรและข้อมูลที่พ่วงทฤษฎี ข้อแย้งทางปรัชญาแรกของคูห์นคือเมื่อกระบวน
ทัศน์เก่ากับกระบวนทัศน์ใหม่เข้ากันไม่ได้ ความคิดไม่ตรงกันและทาให้เกิดความไม่สมมาตรกันเช่น
ความคิดที่ว่าดาวเคราะห์โคจรรอบโลกกับดาวเคราะห์ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ คูห์นยืนยันว่าถ้าสอง
กระบวนทัศน์ไม่สมมาตรกันก็ไม่ได้หมายความว่าจะไม่สามารถเปรียบเทียบกันไม่ได้แต่ทาให้เปรียน
เทียบยากขึ้นเท่านั้นและยังมีสิ่งที่เขาเรียกว่าความไม่สมมาตรของมาตรฐาน คือความคิดที่ผู้เสนอ
กระบวนทัศน์ต่างกันไม่สามารถตกลงกันได้ว่าควรใช้กระบวนทัศน์ไหน
ข้อแย้งที่สองคือข้อมูลที่พ่วงทฤษฎี ข้อมูลที่พ่วงทฤษฎี มีผลสาคัญสองประการสาหรับคูห์น
ประการแรก หมายถึงข้อปัญหาระหว่างกระบวนทัศน์ไม่สามารถแก้ได้โดยเพียงแค่อาศัยข้อมูลหรือ
ข้อเท็จจริง ในการตัดสินเพราะขึ้นอยู่กับการยอมรับกระบวนทัศน์นั้นของนักวิทยาศาสตร์
คูห์นและความเป็นเหตุเป็นผลของวิทยาศาสตร์
คูห์นและความเป็นเหตุเป็นผลของวิทยาศาสตร์ หนังสือ โครงสร้างของการปฏิวัติทาง
วิทยาศาสตร์ซึ่งมีคนสนับสนุนอย่างมากแต่ไม่ใช่กับชาวปฏิฐานนิยมที่มองว่าวิทยาศาตร์เป็นเหตุเป็น
ผล เป็นปรวิสัยและสั่งสมเพิ่มพูน ทาให้คูห์นออกมายืนยันว่าไม่ได้เป็นอย่างที่พวกเขาคิดและคูณ์น
ไม่ได้บอกว่าการเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ไร้เหตุผลแต่เป็นการให้ข้อเตือนใจในการเปลี่ยนกระบวน
ทัศน์ว่าจาเป็นต้องมองเหตุผลและคลายความเคร่งลง
มรดกของคูห์น
งานของคูห์นที่ส่งผลต่างๆมากมายเช่นการให้ความใส่ใจกับสิ่งแวดล้อมของวิทยาศาสตร์ การ
มองกระบวนทัศน์เดียวกัน ความคิดของคูห์นที่มีความขัดแย้งที่สามารถเปลี่ยนปรัชญา ความคิดต่างๆ
ได้
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 16
เป็นเรื่องวิทยาศาสตร์สาขาเฉพาะ
ชีวะ - พืช แบ่งได้ตามสกุลพืช
สิ่งมีชีวิต แบ่งตาม kingdom
คือมีหลายวิธีจาแนกมากๆ ดูความคล้ายคลึง ส่วนใหญ่ใช้วิธี ลินเนียน ในการแบ่ง อย่างเช่น
ก้อนหินที่ลอยน้า และไม่ลอย สี อายุ
จิตประกอบด้วยมอดูล
ไม่ใช่เอาไว้ ทาอะไรยากๆเช่นเล่นซูดูกุ แต่มันคือสามัญมากๆ เช่น ข้ามถนนให้ปลอดภัย จา
หน้าคนได้ หรือ ตรวจเงินทอน กลไกลพวกนี้จะเกิดขึ้นแบบอัตโนมัติ
คณะจิตวิทยาเลยแม้แต่น้อย ลักษณะการศึกษาแบบ neuroscience คือเอาสมองมาผ่าเป็นชิ้นบางๆ
แล้วส่องกล้องดู หรือไม่ก็จับคนใส่เครื่องสแกนระบบ fMRI แล้วดูภาพถ่ายการทางานของส่วนต่างๆ
ของสมอง หรือไม่ก็สร้างแบบจาลองของสมองด้วยคอมพิวเตอร์ แต่สิ่งที่อาจารย์คณะจิตวิทยาทามา
ตลอดคือศึกษา “พฤติกรรม” ของมนุษย์แต่ละคน หรือพฤติกรรมขององค์กร ไม่ได้เกี่ยวข้องโดยตรง
กับสมองแต่อย่างใด การที่มหาลัยอยากให้คณะจิตวิทยาทา neuroscience จึงเหมือนกับการให้
คณะอักษรศาสตร์เปลี่ยนไปศึกษาคณิตศาสตร์กับ computer science แทนที่จะศึกษาวรรณคดี
หรือปรัชญา มันคนละวิชากัน คนละงาน ใช้คนคนละชุด คนละหลักสูตร พื้นฐานงานที่อ่านกันมาเป็น
คนละอย่าง อ้างอิงถึงบุคคลหลักๆในวงการ (เช่น Freud, Wundt, Skinner)
ขั้นตอนหลักของการทาให้การศึกษาจิตเป็นวิทยาศาสตร์ ก็คือการทาให้จิตเป็น “สิ่งที่ถูก
มอง” หรือเป็นสรรพนามบุรุษที่สาม แทนที่จะเป็นตัวผู้มองเองหันมามองตัวเอง แบบที่ปรากฏในงาน
ของ Descartes หรือ Kant แต่เวลาจะมองหาจิตเพื่อเอามาศึกษา เราจะไปมองหาที่ไหน มองอะไร?
ข้อตกลงของนักจิตวิทยาส่วนใหญ่ที่มีมาเป็นเวลานานก็คือว่า ให้ดูไปที่พฤติกรรม หรือการแสดงออก
ทางร่างกายที่สังเกตได้ เนื่องจาก “จิต” ตามความเข้าใจของคนทั่วไป เป็นอะไรที่จับต้องไม่ได้ ชั่ง
ตวงวัดไม่ได้ จึงมองกันว่าพฤติกรรมนี่แหละคือตัวแทนของจิต ศึกษาจิตไม่ได้ก็มาศึกษาพฤติกรมแทน
คือเชื่อมโยงความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาสู่มิติทางสังคม ชีวิต สิ่งแวดล้อมและมีความสนใจในปรัชญา
ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปรัชญาตะวันออกของจีนโบราณ ลัทธิเต๋า พุทธศาสนานิกายเซน ฮินดู
ปัญหาปรัชญาในฟิสิกชีวะ จิตวิทยา 6
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 17
อันเป็นการค้นพบทางวิทยาศาสตร์ที่ถือกันว่ายิ่งใหญ่ที่สุดของมนุษยชาติยุคใหม่ในช่วงต้น
คริสต์ศตวรรษที่ 20 เกี่ยวกับสสาร พลังงาน ลักษณะการดารงอยู่ของอะตอมและองค์ประกอบ ซึ่ง
ช่วยให้มนุษย์เข้าใจความเป็นไปและลักษณะการดารงอยู่ของสรรพสิ่งและธรรมชาติมากขึ้น รวมทั้ง
เกิดทัศนะใหม่ในการมอง"ความจริง"(Reality) ที่แตกต่างไปจากความเข้าใจของวิชาฟิสิกส์แบบเดิม
ตามทฤษฎีกลศาสตร์ของนิวตันซึ่งวิทยาศาสตร์สาขาอื่น และสังคมศาสตร์ด้านต่างๆ ได้ยึดถือเป็น
กระบวนทัศน์ในการพัฒนาทฤษฎีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 18 จนกระทั่งปัจจุบัน
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 18
คนจานวนมากยอมรับว่าวิทยาศาสตร์เป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์ด้วยเหตุผลซึ่งเห็นได้ชัดเจน
หลายประการเช่น วิทยาศาสตร์ได้ให้ไฟฟ้า วิทยาศาสตร์ได้ให้เทคโนโลยีเป็นต้น แต่ถึงแม้สิ่งเหล่านี้
จะช่วยให้มนุษย์มีความเป็นอยู่ที่ดี แต่วิทยาศาสตร์ก็ยังถูกวิพากษ์วิจารณ์ในแง่มุมต่างๆมากมาย เช่น
วิทยาศาสตร์ให้เทคโนโลยีในการผลิตอาวุธที่มีอานาจทาลายล้างได้อย่างมหาศาล หรือ ความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์นั้นเหนือกว่าความรู้และความเชื่อของวัฒนธรรมชนพื้นเมืองทั่วโลก เป็นต้น ซึ่งที่กล่าว
มานี้ เป็นเพียงส่วนน้อยของคาวิพากษ์วิจารณ์ที่มีต่อวิทยาศาสตร์ ในบทนี้จะให้ความใส่ใจกับปัญหา
ปรัชญาที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์สามเรื่อง ได้แก่เรื่อง
1. วิทยาศาสตร์นิยม (Scientism)
“การกระทาที่เป็นวิทยาศาสตร์ถือเป็นการกระทาที่ฉลาดมีไหวพริบ ชอบด้วยเหตุผล และน่า
สรรเสริญ ในขณะที่การกระทาที่ไม่เป็นวิทยาศาสตร์ถือเป็นการกระทาที่โง่เขลา ไม่ชอบด้วยเหตุผล
และน่าดูหมิ่น” ยากที่เราจะหาเหตุผลว่าทาไมคาว่า วิทยาศาสตร์ ที่เรากล่าวข้างต้นนี้ได้รับ
ความหมายเหล่านี้มาได้อย่างไร แต่การที่วิทยาศาสตร์ได้รับความเชื่อถือมากในสังคมสมัยใหม่อาจ
เป็นสาเหตุประการหนึ่ง ซึ่งสังคมปฏิบัติต่อนักวิทยาศาสตร์ในฐานะผู้เชี่ยวชาญ เวลามีเรื่องสาคัญ มัก
ขอความเห็นจากนักวิทยาศาสตร์เสมอและส่วนใหญ่มักยอมรับความเห็นของนักวิทยาศาสตร์ โดย
ไม่ได้ตั้งคาถามใดๆเพราะคิดว่านักวิทยาศาสตร์เป็นผู้เชี่ยวชาญ แต่ก็ต้องยอมรับว่าบางครั้ง
นักวิทยาศาสตร์ก็ผิดพลาด แต่ไม่บ่อยครั้งจึงทาให้ความศรัทธาไม่ค่อยสั่นคลอน
วิทยาศาสตร์นิยม เป็นคาที่มีความหมายเชิงหมิ่นแคลนหรือดูถูก ซึ่งนักปรัชญาใช้พูดถึงการ
บูชาวิทยาศาสตร์ที่เกินกว่าเหตุซึ่งพบในแวดวงปัญญาชนจานวนมาก ฝ่ายที่เป็นศัตรูกับวิทยาศาสตร์
นิยมแย้งว่า วิทยาศาสตร์ไม่ใช่การพยายามทางปัญญาที่มีเหตุผลเพียงรูปแบบเดียว พวกที่เป็นศัตรูกับ
วิทยาศาสตร์มักย้าว่าไม่ได้ต่อต้านวิทยาศาสตร์โดยตรง แต่พวกเขาต่อต้านคือสิทธิพิเศษที่ให้กับ
สถานภาพของวิทยาศาสตร์ และไม่ยอมรับข้อสันนิษฐานที่ว่าจาเป็นต้องนาวิธีการทางวิทยาศาสตร์
มาใช้กับทุกเนื้อหาทุกวิชา พวกเขาไม่มีจุดมุ่งหมายที่จะโจมตีวิทยาศาสตร์แต่ต้องการให้วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์และการวิพากษ์วิจารณ์วิทยาศาสตร์ 7
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 19
อยู่ในที่ทางที่ควรจะเป็นคือเป็นวิชาที่มีสถานะเท่าเทียมกับวิชาการสาขาอื่น อีกทั้งวิทยาศาสตร์ยังไม่
สามารถให้คาตอบทั้งหมดของความเป็นอยู่ที่ดีของมนุษย์ได้ เช่น เราควรดาเนินชีวิตองเราอย่างไร
ความรู้คืออะไรหรือความสุขของมนุษย์เกี่ยวข้องกับอะไร เป็นต้น
ฟาน ออร์มัน ไควน์ นักปรัชญาอเมริกันคนสาคัญที่สุดแห่งคริสต์ศตวรรษที่ 20 และเป็นคนที่
ชอบการถกเถียง โดยมีทัศนะคติมาจากลัทธิธรรมชาตินิยม ซึ่งเน้นว่ามนุษย์เราเป็นส่วนสาคัญของ
โลกธรรมชาติไม่ใช่สิ่งที่แยกต่างหากจากโลกธรรมชาติ ผู้ที่เห็นด้วยกับความคิดนี้บอกว่าวิทยาศาสตร์
ก้าวหน้ามาเรื่อยๆ ในขณะที่ปรัชญาดูเหมือนจะถกแต่ปัญหาเดิมๆมานานหลายศตวรรษ บทบาทที่
ปรัชญายังมีอยู่บ้าง คือ การทาความกระจ่างให้กับแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ในความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์ธรรมชาติกับสังคมศาสตร์ก็มีปัญหาคล้ายกัน นัก
สังคมศาสตร์ก็ไม่พอใจ การบูชาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ในสาขาวิชาของพวกเขา ไม่มีใครปฏิเสธว่า
สาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ มีองค์ความรู้ก้าวหน้ากว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ อย่าง
เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา เป็นต้น คนจานวนมากประหลาดใจว่าเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น โดยคาตอบที่
น่าจะเป็นคือวิธีการของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติเหนือกว่าวิธีการของสังคมศาสตร์ ถ้าคาตอบนี้ถูกต้อง
สิ่งที่สังคมศาสตร์จาเป็นต้องทาเพื่อตามให้ทันคือ เลียนแบบอย่างวิธีการของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ
ซึ่งก็ได้เกิดขึ้นแล้วในระดับหนึ่ง โดยการนาคณิตศาสตร์มาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์
ในประเด็นวิทยาศาสตร์นิยมและประเด็นคู่ขนานเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ธรรมชาติและ
สังคมศาสตร์เป็นเรื่องที่ลงความเห็นยากส่วนหนึ่งมาจากไม่มีความชัดเจนว่า วิธีการของวิทยาศาสตร์
คืออะไรกันแน่หรือจริงๆแล้วประกอบด้วยอะไรถ้าต้องการรู้ว่าวิธีการของวิทยาศาสตร์นาไปใช้ได้กับ
ทุกเนื้อหาวิชาหรือไม่ เป็นธรรมดาที่จาเป็นต้องรู้ว่าวิธีการเหล่านั้นที่แน่นอนคืออะไร วิทยาศาสตร์
เปลี่ยนแปลงอย่างมากมายตามการเวลา ดังนั้นจึงไม่ควรยอมรับข้อสมมติฐานเบื้องต้นที่ว่ามี วิธีการ
ทางวิทยาศาสตร์ที่แน่นอนตายตัวไม่เปลี่ยนแปลง และนาคาแย้งคากล่าวอ้างที่ว่าคาถามไม่สามารถ
ตอบได้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ อย่างน้อย ก็ชวนให้คิดอยู่บางว่าข้อถกเถียงเกี่ยวกับวิทศาสตร์
นิยมอาจจะตั้งอยู่บนข้อสมมติล่วงหน้าที่ผิดพลาด
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 20
อย่างไรก็ตามนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งที่ถูกสรุปมาจากหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์ในหัวข้อเรื่อง
วิทยาศาสตร์นิยม นอกเหนือจากหนังสืออาจมีผู้คนอีกมากมายที่มีความคิดเห็นที่แตกต่างไปจากนี้
2. วิทยาศาสตร์และศาสนา
วิทยาศาสตร์และศาสนานั้นมีความตึงเครียดและความขัดแย้งกันมานานและมีเอกสารที่
บันทึกไว้เป็นหลักฐาน ตัวอย่างที่รู้จักกันดีคือกรณีที่กาลิเลโอปะทะกับศาสนจักรคาทอลิก โดยกาลิเล
โอเชื่อเรื่องทฤษฎีของโคเปอร์นิคัสที่ว่า ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล หลังจากนั้นกาลิเลโอ
ถูกดาเนินคดี และในการไต่สวยทางศาสนาบังคับกาลิเลโอประกาศต่อสาธารณชนว่าเขาไม่เห็นด้วย
กับโคเปอร์นิคัสที่บอกว่าดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาลและตัดสินลงโทษกักบริเวณเขาไว้ใน
บ้านพักจนกระทั่งเสียชีวิต แน่นอนที่เขาถูกดาเนินคดีเพราะทฤษฎีของโคเปอร์นิคัสฝ่าฝืนพระคริศต
ธรรมคัมภีร์
การปะทะระหว่างวิทยาศาสตร์กับศาสนายังไม่จบเพียงเท่านั้น บังมีการขัดแย้งเกิดขึ้น
ระหว่างทฤษฎีของดาร์วินกับฝ่ายที่เชื่อว่าพระเจ้าเป็นผู้สร้างโลก ซึ่งการเป็นศัตรูต่อทฤษฎีดาร์วิน
ของฝ่ายเทววิทยาเพราะทฤษฎีของดาร์วินยืนยันว่าสายพันธุ์ทั้งหลายในปัจจุบันรวมทั้งมนุษย์ ล้วนสืบ
เชื้อสายมาจากบรรพบุรุษร่วมกันผ่านกาลเวลาอันยาวนาน แต่ในทางศาสนาก็มีความขัดแย้งอย่าง
ชัดเจน โดยคัมภีร์ว่าด้วยการกาเนิดของโลกและมนุษย์บอกว่า พระเจ้าเป็นผู้สร้างสัตว์โลกทั้งมวล
ภายในเวลาหกวัน ซึ่งเป็นความขัดแย้งที่ชัดเจนมาก เป็นธรรมดาที่ต้องเลือกเชื่ออย่างใดอย่างหนึ่ง
นักชีววิทยาจานวนหนึ่งได้พบวิธีประนีประนอมศรัทธาในคริสต์ศาสนากับการเชื่อเรื่องวิวัฒนาการวิธี
หนึ่งคือ เถียงว่าไม่ควรตีความตามคัมภีร์ว่าด้วยกาเนิดของโลกและมนุษย์ตรงตามตัวอักษร แต่ควร
มองในเชิงอุปมาอุปไมยหรือในเชิงสัญลักษณ์เพราะเมื่อพิจารณาให้ดีแล้ว ทฤษฎีวิวัฒนาการของดาร์
วินก็สอดคล้องกับการดารงอยู่ของพระเจ้าและหลักคาสอนอื่นๆของคริสต์ศาสนา เพียงแต่ว่าทฤษฎี
ของดาร์วินปฏิเสธเรื่องราวเกี่ยวกับการสร้างโลกโดยพระเจ้า
แต่อย่างไรก็ตามก็ ก็มีชาวโปรเตสแตนต์ที่เชื่อคาสอนของคริสต์ศาสนาและไม่ยอมปรับความ
เชื่อให้เข้ากับการค้นพบทางวิทยาศาสตร์และยืนยันว่าเรื่องพระเจ้าสร้างโลกเป็นเรื่องจริง ซึ่ง
ความเห็นนี้รู้จักกันในชื่อ ลัทธิว่าด้วยการสร้างโลก ซึ่งคนที่เชื่อในลัทธิว่าด้วยการสร้างโลกมีอิทธิพล
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 21
ต่อการเมืองมากจึงทาให้วิชาชีววิทยาในโรงเรียนในอเมริกาไม่มีการสอนเรื่องวิวัฒนาการตามทฤษฎี
ของดาร์วิน
ต่อมาได้เกิดวิทยาศาสตร์ว่าด้วยการสร้างโลกเกิดขึ้น ซึ่งวิทยาศาสตร์นี้เป็นการสวมรอยเฉยๆ
ของพวกที่คลั่งในศาสนาเพื่อให้ได้มีการเรียนการสอนในโรงเรียน เพื่อตอบโต้คนที่ไม่เห็นด้วย จึงบ่อน
ทาลายทฤษฎีวิวัฒนาการของดาร์วิน โดยพวกเขาเถียงว่าหลักฐานที่ใช้สนับสนุนทฤษฎีของดาร์วินไม่
มีข้อพิสูจน์ที่แน่นอนฉะนั้นทฤษฎีของดาร์วินจึงเป็นแค่ทฤษฎี และนักวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยการสร้าง
โลกยังพยายามแสดงให้เห็นว่า การไม่เห็นด้วยกับทฤษฎีวิวัฒนาการเป็นสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรมในทาง
วิทยาศาสตร์ โดยมุ่งไปที่ข้อขัดแย้งภายในกลุ่มนักทฤษฎีแนวดาร์วินด้วยกันเอง
ข้อโต้แย้งของนักวิทยาศาสตร์ว่าด้วยการสร้างโลกไม่สมเหตุสมผลเหมือนกันหมด การโต้เถียง
ระหว่างฝ่ายที่เชื่อเรื่องการสร้างโลกกับฝ่ายที่เชื่อทฤษฎีของดาร์วินก็ได้ตั้งคาถามสาคัญๆเกี่ยวกับ
การศึกษาวิทยาศาสตร์ อาทิ ควรจะจัดการอย่างไรกับการขัดกันระหว่างวิทยาศาสตร์กับศรัทธาทาง
ศาสนาในระบบการศึกษาของฆราวาส ใครควรเป็นผู้กาหนดเนื้อหาของวิชาวิทยาศาสตร์ในระดับ
มัธยมศึกษา
3. วิทยาศาสตร์ปลอดคุณค่าหรือไม่
ทุกคนล้วนรู้กันทั้งนั้นว่าวิทยาศาสตร์เหมือนดาบสองคม วิทยาศาสตร์สามารถสร้างคุณค่าได้
และสามารถสร้างความเสื่อมเสียได้ แต่หากจะกล่าวให้ถูกนั้นวิทยาศาสตร์นั้นไม่ได้ผิดมาตั้งแต่ทุนเดิม
แต่สิ่งที่ผิดคือการนาความรู้ไปใช้ ซึ่งหากใช้ไปในทางที่ถูกต้องก็จะเป็นการสร้างคุณค่าแต่ถ้าใช่ในทาง
ที่ไม่ควรก็ไม่เป็นการสร้างคุณค่าและอาจสร้างความเสียหายได้เช่นการสร้างระเบิดปรมาณู
นักชีววิทยาสังคมมนุษย์ เชื่อว่าลักษณะพฤติกรรมในมนุษย์จานวนมากสามารถอธิบายได้ด้วย
ทฤษฎีการปรับตัว ตัวอย่างที่ชัดเจนคือ การเลี้ยงมีเพศสัมพันธ์ระหว่างญาติสนิท หรือบุคคลที่มีเชื้อ
สายเลือดเดียวกัน ซึ่งนอกจากจะผิดจารีตประเพณีแล้ว นักชีววิทยาสังคมมนุษย์ได้กล่าวไว้ว่า เด็กที่
เกิดจากการร่วมประเวณีระหว่างญาติสนิททางสายเลือดมักจะมีข้อบกพร่องทางพันธุกรรม ซึ่งจาก
แนวโน้มในอดีตผู้ที่มีสัมพันธ์กับญาติสนิทสายเลือดเดียวกัน ลูกหลานของเขาจะมีอายุไม่นานหรือเกิด
มามีข้อบกพร่อง
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 22
อย่างไรก็ตามชีววิทยาสังคมก็ยังได้รับการวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากจากผู้รู้ในวงกว้าง การ
วิพากษ์วิจารณ์บางเรื่องเป็นวิทยาศาสตร์แท้ๆ ผู้วิจารณ์ชี้ว่าข้อสมมุติของนักชีววิทยาสังคมยากแก่
การทดสอบอย่างยิ่ง จึงควรมองข้อสมมติฐานเหล่านั้นในฐานที่เป็นการคาดเดาที่น่าสนใจไม่ใช่ความ
จริงที่แน่นอนแล้ว แต่ดูเหมือนว่านักชีววิทยาสังคมกาลังพูดว่า เราจะโทษผู้ข่มขืนกระทาชาเราได้
อย่างไร ถ้าหน่วยพันธุกรรมของเขาคือต้นเหตุของพฤติกรรมที่พวกเขาได้กระทา ซึ่งจะพูดเป็นนัยๆ
เกี่ยวกับเรื่องของการเด็กที่เกิดมามีสีผิว และการเหยียดสีผิวในสังคม
สุดท้ายอุตสาหกิจทางวิทยาศาสตร์ซึ่งมีบทบาทสาคัญยิ่งในสังคมสมัยใหม่ ที่ถือเงินสาธารณะ
ไว้เป็นจานวนมาก ก็เลี่ยงการโดนวิพากษ์วิจารณ์จากแหล่งต่างๆไม่ได้ ซึ่งนั้นเป็นสิ่งที่ดีเพราะการ
ยอมรับทุกสิ่งทุกอย่างที่นักวิทยาศาสตร์พูดหรือทาโดยไม่วิพากษ์วิจารณ์เลยนั้น ไม่ปลอดภัยและเป็น
การวางหลักเกณฑ์อย่างปราศจากเหตุผล
วิทยาศาสตร์เป็นสิ่งที่ดีหรือไม่ เราจะไม่สามารถตอบคาถามนี้ได้ตรงๆแต่ปรัชญาจะช่วยแยก
ประเด็นสาคัญๆ และสนับสนุนให้มีการอภิปรายเกี่ยวกับประเด็นเหล่านั้นตามหลักเหตุผลอย่างมี
ดุลพินิจ เพราะวิทยาศาสตร์มีการพัฒนาไปเรื่อยๆ
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 23
จากหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป เมื่อนาไปเชื่อมโยงกับหลักแนวคิดทาง
จริยศาสตร์ก็คงจะเกี่ยวเนื่องกับทุกหัวข้อของแนวคิดทางจริยศาสตร์เลย โดยกลุ่มของพวกเราได้มี
การเชื่อมโยงในหัวข้อต่างดังนี้
อภิจริยศาสตร์
1. ธรรมชาตินิยม ซึ่งนักปรัชญาในกลุ่มนี้ได้ให้ความเห็นไว้ว่า ความดีมีจริงโดยอาศัย
ธรรมชาติ ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับหนังสือเล่มนี้โดยในหนังสือเล่มนี้ได้มีการกล่าวถึง
วิทยาศาสตร์ที่นาพาความสะดวกสบายและความสุขมาให้แก่มวลมนุษย์ ซึ่งถ้ามองโดย
ธรรมชาตินิยมแล้วนั้น การที่มนุษย์มีความสุขนั้นถือว่าเป็นเรื่องดี ดังนั้นในแนวคิด
ธรรมชาตินิยมนี้จึงมองว่า วิทยาศาสตร์นั้นดี แต่ไม่ได้มาจากธรรมชาติเพราะมนุษย์สร้าง
ขึ้น
2. อธรรมชาตินิยม ซึ่งนักปรัชญาในกลุ่มนี้ได้ให้ความเห็นไว้ว่า การกระทาที่ดีไม่จาเป็นต้อง
ให้สังคมมีความสุข การกระทาที่ดีไม่จาเป็นต้องเป็นสิ่งที่คนส่วนใหญ่พอใจ ความดีก็คือ
ความดี ไม่เกี่ยวข้องกับอะไร ซึ่งเราก็ต้องยอมรับว่าวิทยาศาสตร์นั้นไม่ได้ส่งผลดีกับมวล
มนุษย์เพียงอย่างเดียวแต่มันก็มีข้อเสียอยู่ ถ้ามองตามแนวคิดของอธรรมชาตินิยมแล้วนั้น
วิทยาศาสตร์ก็ยังถือว่าเป็นเรื่องดีอยู่ เพราะความรู้ทางวิทยาศาสตร์ถึงแม้ว่ามันจะสร้างสิ่ง
ไม่ดี แต่ในสิ่งที่ดีที่มนุษย์สร้างขึ้นก็ทาให้มนุษย์บางกลุ่มมีความสุข แต่เราก็ต้อง นิยามได้
โดยอาศัยตัวมันเอง ว่าความสุขที่ได้รับนั้นถูกจารีต ประเพณีทางสังคมหรือไม่
3. อารมณ์นิยม ซึ่งนักปรัชญาในกลุ่มนี้ได้ให้ความเห็นไว้ว่า การพูดว่าดี ไม่ดี ถูกไม่ถูก
ควรไม่ควร เป็นเรื่องของอารมณ์แต่ละคน ซึ่งชัดเจนมากในหนังสือเล่มนี้อันจะเห็น
ตัวอย่างบางส่วนได้จากบทที่ 7 ของหนังสือเล่มนี้ที่ว่าด้วยเรื่อง วิทยาศาสตร์และการ
วิพากษ์วิจารณ์วิทยาศาสตร์ ซึ่งถ้าเรามองกลุ่มคนตามการวิจารณ์ วิทยาศาสตร์กับศาสนา
กลุ่มคนที่เชื่อในวิทยาศาสตร์ก็จะมองเห็นว่าวิทยาศาสตร์นั้นเป็นสิ่งที่ดี แต่กลุ่มคนที่เชื่อ
ในพระเจ้าก็จะมองว่าวิทยาศาสตร์นั้นเป็นสิ่งที่ขัดต่อพระคัมภีร์และเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง จึง
ความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับแนวคิดทางจริยศาสตร์
สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 24
ทาให้เกิดอารมณ์และความเชื่อที่ไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่าเป็นเรื่องจริงหรือไม่จริง และใช้
จานวนคนหมู่มาก ในการกดดันและบีบคั่นคนที่เชื่อในวิทยาศาสตร์ ส่งผลให้เกิดความ
ขัดแย้งอย่างชัดเจน
อุดมคติของชีวิต
1. สุขนิยม ซึ่งนักปรัชญาในกลุ่มนี้ได้ให้ความเห็นไว้ว่า สิ่งที่ดีในชีวิตคือ ความสุข สิ่งอื่น
อาจพอจะถือว่ามีความดีก็เพราะสิ่งนั้นพาความสุขมาให้คนเท่านั้น
2. อสุขนิยม ซึ่งนักปรัชญาในกลุ่มนี้ได้ให้ความเห็นไว้ว่า ทัศนะที่ถือว่าความสุขไม่ใช่สิ่งที่ดี
ที่สุดของชีวิต มีสิ่งอื่นที่มีค่ามากกว่าความสุข เช่น ความสงบของจิตและปัญญาความรู้
พวกอสุขนิยมแบ่งเป็น 2 พวก
i. ปัญญานิยม ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกย่อมมีลักษณะเฉพาะของมัน หาก
พูดถึงลักษณะเฉพาะของเนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ อาจจะกล่าวถึง
เนื้อหาที่กล่าวถึง วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคมศาสตร์ ซึ่งจากเนื้อหาที่
ปรากฏในหนังสือนั้น ได้มีการวิพากษ์วิจารณ์ไว้ว่า ในวิชา
วิทยาศาสตร์นั้นก็มีลักษณะที่เป็นตัวมันเองคือมีลาดับเหตุผล มี
ขั้นตอนวิธีการในกระบวนการการทางานหรือการพิสูจน์ แต่ในวิชา
สังคมศาสตร์นั้นก็มีลักษณะอีกแบบที่ไม่เหมือนกับวิทยาศาสตร์
เพราะในสังคมศาสตร์นั้นเป็นวิชาที่เข้าใจยาก เพราะเป็นวิชาที่ว่าด้วย
เรื่องสังคม จึงมีกระบวนการที่แตกต่างจากวิชาวิทยาศาสตร์อย่าง
ชัดเจน แต่ก็มีบางส่วนที่คล้ายกัน
ii. วิมุตินิยม ความหลุดพ้นจากความต้องการเป็นสิ่งที่ดีที่สุด หมายถึง
จิตที่หลุดพ้นจากความต้องการ จิตสะอาดปราศจากกิเลสทั้งหลาย ซึ่ง
จากแนวคิดนี้ก็อาจจะมองว่าวิทยาศาสตร์ไม่ใช่สิ่งดีเพราะ
วิทยาศาสตร์นั้นนอกจากจะสร้างความสุขให้กับมวลมนุษย์แล้วแต่ก็
เป็นสิ่งที่เพิ่มกิเลสให้กับมนุษย์เช่นกัน ถึงแม้เนื้อหาไม่ได้กล่าวไว้อย่าง
ชัดเจน แต่เมื่อตีความออกมาแล้วก็มีเนื้อหาที่ว่าวิทยาศาสตร์เพิ่ม
กิเลสให้กับมวลมนุษย์ที่รักความสบาย
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึกWataustin Austin
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนTong Thitiphong
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)Choengchai Rattanachai
 
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์suraidabungasayu
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราชChoengchai Rattanachai
 
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-4page
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-4pageภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-4page
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติการเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติflimgold
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนพัน พัน
 
คีตกวีเอกของไทย
คีตกวีเอกของไทยคีตกวีเอกของไทย
คีตกวีเอกของไทยleemeanshun minzstar
 

Was ist angesagt? (20)

ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
วิชา สัมพันธ์ไทย ๑
วิชา สัมพันธ์ไทย ๑วิชา สัมพันธ์ไทย ๑
วิชา สัมพันธ์ไทย ๑
 
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
 
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
ทฤษฏีพัฒนาการของซิกมันด์ ฟรอยด์
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-4page
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-4pageภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-4page
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-4page
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
 
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติการเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
คีตกวีเอกของไทย
คีตกวีเอกของไทยคีตกวีเอกของไทย
คีตกวีเอกของไทย
 

Ähnlich wie กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป

กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์freelance
 
สารคดีจักรวาล
สารคดีจักรวาลสารคดีจักรวาล
สารคดีจักรวาลfarimfilm
 
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?Satapon Yosakonkun
 
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตกอธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตกKlangpanya
 

Ähnlich wie กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป (8)

กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
กลุ่มจูงหมาฝ่าไฟแดง --นักวิทยาศาสตร์ของฮิตเลอร์
 
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิตหน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
 
สารคดีจักรวาล
สารคดีจักรวาลสารคดีจักรวาล
สารคดีจักรวาล
 
งานแคท
งานแคทงานแคท
งานแคท
 
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
 
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตกอธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
 
สโตนเฮจน์
สโตนเฮจน์สโตนเฮจน์
สโตนเฮจน์
 

Mehr von freelance

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management freelance
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionfreelance
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsfreelance
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classfreelance
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education gamefreelance
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentfreelance
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsfreelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster educationfreelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentfreelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazardfreelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardfreelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survivalfreelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsfreelance
 

Mehr von freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 

กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป

  • 1. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 1 สรุปหนังสือ ปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป จัดทาโดย นายจิรภัทร เฮ้งเจริญ 56130500008 นายทศวัชร์ ชุติมาสกุล 56130500020 นายวิรชาญ บุญยิ้ม 56130500067 นายศรัณย์ มุ่งธัญญา 56130500069 นางสาวศศินันท์ สิทธิเมธิตานันท์ 56130500070 นางสาวสรัญญา ขาสุวรรณ 56130500077 นางสาวอัจฉรีญา นาวารี 56130500083 เสนอ อาจารย์ศิรินันต์ สุวรรณโมลี
  • 2. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 1 หนังสือที่นามาสรุปนี้มีชื่อว่า ปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป โดยมีผู้เขียนชื่อ ซา เมียร์ โอคาชา เป็น Reader สาขาปรัชญาวิทยาศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยบริสตอล สหราช อาณาจักร และเมื่อนาเข้ามาในประเทศไทย มีคุณจุไรรัตน์ จันทร์ธารง อดีตอาจารย์ ประจาภาควิชามานุษยวิทยาคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยหนังสือเล่มนี้ประกอบไปด้วย 196 หน้า มีทั้งหมด 7 บท จากการสรุปเบื้องต้น เป็นความเห็นที่มาจากทางหนังสือ แต่ในความเป็นจริงยังมี ความคิดเห็นที่แตกต่างไปจากนี้ หากผู้จัดทาผิดพลาดประการใดต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย ผู้จัดทา คานา ก
  • 3. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 2 บทที่ 1 วิทยาศาสตร์คืออะไร 1 บทที่ 2 การลาดับเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ 5 บทที่ 3 การอธิบายในวิทยาศาสตร์ 8 บทที่ 4 สัจนิยมและปฏิสัจนิยม 10 บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงทางวิทยาศาสตร์และการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ 13 บทที่ 6 ปัญหาปรัชญาในฟิสิกชีวะ จิตวิทยา 16 บทที่ 7 วิทยาศาสตร์และการวิพากษ์วิจารณ์วิทยาศาสตร์ 18 ความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับแนวคิดทางจริยศาสตร์ 23 บทบาท วิธีการทางานและความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือ 27 สารบัญ ข
  • 4. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 3 วิทยาศาสตร์คือความพยายามที่จะเข้าใจ อธิบาย และคาดการณ์ล่วงหน้าเกี่ยวกับโลกที่ เราอาศัยอยู่ แต่เราจะไม่ถือว่าศาสนา และโหราศาสตร์ หรือการทานายโชคชะตาที่เป็นการ ทานายเหตุการณ์ล่วงหน้าเป็นวิทยาศาสตร์ โดยลักษณะสาคัญของวิทยาศาสตร์ได้แก่ การสร้าง ทฤษฎี โดยต้องบันทึกทดลองสังเกตุ และอธิบายผลการทดลองโดยสร้างเป็นทฤษฎีด้วย จุดเริ่มต้นของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ก้าวหน้ายุโรปช่วง ค.ศ.1500-1750 ซึ่งเรียกว่า การปฏิวัติทาง วิทยาศาสตร์ โดยก้าวแรกทางวิทยาศาสตร์สมัยใหม่คือ ค.ศ.1542 ในยุคของนิโคลัส โคเปอร์นิคัส ซึ่ง เป็นชาวโปแลนด์ซึ่งมีแนวคิดที่ว่า โลกเป็นจุดศูนย์กลางของจักรวาล โดยมีดาวเคราะห์อื่นๆ รวมถึง พระอาทิตย์นั้นโคจรรอบโลก ต่อมา นิโคลัสได้กล่าวใหม่ว่า แท้จริงแล้วดวงอาทิตย์ต่างหากที่เป็นจุด ศูนย์กลาง แนวคิดนี้ในช่วงแรกถูกต่อต้านอย่างมากโดยเฉพาะจากคริสตจักรคาทอลิก เนื่องจากมี ความขัดแย้งกับคาสอนในคริสตธรรมคัมภีร์ และห้ามเผยแพร่หนังสือที่สนับสนุนว่าโลกโคจรรอบดวง อาทิตย์ โดยแนวคิดนี้ส่งผมทางอ้อมต่อพัฒนาการของฟิสิกส์สมัยใหม่ โดยผ่านโยฮันเนส เคปเลอร์ และกาลิเลโอ โดยเคปเลอร์พบว่า ดาวเคราะห์ไม่ได้โคจรเป็นวงกลมรอบดวงอาทิตย์ตามที่โคเปอร์ นิคัสกล่าวแต่เป็นวงรีต่างหาก จนกระทั้งกาลิเลโอสนับสนุนแนวคิดนี้แล้วเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกกล้อง จุลทรรศน์ยุคแรกๆ ต่อมากาลิเลโอได้สร้างทฤษฎีกฎแห่งการตกโดยอิสระที่กล่าวว่า วัตถุที่ตกเองจะ ทวีความเร็วในอัตราที่เท่ากัน ซึ่งจัดว่ากาลิเลโอเป็นนักฟิสิกส์สมัยใหม่ที่แท้จริง แต่หลังจากกา-ลิเลโอ ได้เสียชีวิตลง การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ได้รุดหน้าได้อย่างรวดเร็ว มีนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศษ ที่ ชื่อว่า เรอเน เดส์การ์ตส์ ได้พัฒนาปรัชยาแนวจักรกลซี่งมีใจความว่า โลกกายภาพประกอบด้วย อนุภาคเฉื่อยของสสารที่ทาปฏิกิริยาและเคลื่อนชนกัน ซึ่งเป็นกุญแจไขความเข้าใจในโครงสร้างของ โคเปอร์นิคัส การปฏิวัติในงานของไอแซค นิวตัน ผลชงานชิ้นเอกของเขาคือ หนังสือเรื่อง หลักคณิตศาสตร์ ของปรัชญาธรรมชาติ ซึ่งมีใจความว่า เทหวัตถุใดๆ ในจักรวาลจะส่งแรงดึงดูดหรือโน้มถ่วงไปยังเทห วิทยาศาสตร์คืออะไร 1
  • 5. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 4 วัตถุอื่นๆ กาลังของแรงดึงดูดระหว่างสองเทหวัตถุขึ้นอยู่กับผลผลิตของมวลสารของเทหวัตถินั้นๆ และขึ้นอยู่กับระยะห่างระหว่างเทหวัตถุยกกาลังสอง ซึ่งนิวตันได้เพิ่มรายละเอียดให้กับทฤษฎีของเขา โดนใช้ความแม่นยาและความเคร่งครัดทางคณิตศาสตร์ คิดค้นเทคนิคทางคณิตศาสตร์ที่เรียกว่า แคลคูลัส ในปัจจุบัน ทฤษฏีของนิวตันได้แสดงให้เห็นการทางานที่แท้จริงของธรรมชาตื และสามารุ อธิบายทุกสิ่งทุกอย่างได้อย่างน้อยก็ในหลักการโดยในช่วงคริตส์ศตวรรษที่ 18 และ 19 เป็นช่วงมี่ วิทยาศาสตร์ได้มีการเจริญก้าวหน้าอย่างเห็นได้ชัด โดยเฉพาะการค้นคว้าทางเคมี ทัศนศาสตร์ พลังงาน อุณหพลศาศตร์ และแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ภายในกรอบแนวคิดของนิวตันทั้งสิ้น พอถึงในคริสต์ศตวรรษที่ 20 แนวคิดที่ได้นิวตันได้เคยกล่าวมานั้นได้ถูกลบล้างด้วยทฤษฎีสัมพัทธ ภาพ ซึ่งเป็นแนวปฏิวัติในรุ่นหลังโดยถูกค้นพบโดย ไอน์สไตน์ที่แสดงให้เห็นว่าหลักการของนิว-ตันนั้น มีผลลัพธ์นั้นไม่ถูกเมื่อใช้กับวัตถุที่มีขนาดใหญ่มาก หรือสิ่งที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงมาก ในทาง กลับกันกลศาสตร์ควอนตัมได้แสดงให้เห็นว่า ทฤษฎีของนิวตันนามาใช้อธิบายกับสิ่งที่มีขนาดอนุภาค เล็กกว่าอะตอม จะสังเกตุได้ว่าประวัติโดยย่อที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ได้มุ่งเน้นไปที่วิชาฟิสิกส์ส่วนใหญ่ เนื่องจากฟิสิกส์นั้นเป็นวิชาพื้นฐานที่สุด และมีใจความสาคัญในทางประวัติศาสตร์ โดยสิ่งต่างๆวิชา วิทยาศาสตร์สาขาอื่นนั้นได้ประกอบจากหน่วยทางกายภาพทั้งสิ้น วิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์เทียม นักวิทยาศาสตร์ผู้ทรงอิทธิพลในคริตส์ศตวรรษที่ 20 คิดว่า ลักษณะพื้นฐานประการหนึ่งของ ทฤษฎีวิทยาศาสตร์คือ ทฤษฎีวิทยาศาสตร์ควรที่จะหักล้างได้ ซึ่งการที่บอกว่าเป็นทฤษฎีที่หักล้าง ไม่ได้ไม่ได้ถือว่าเป็นความคิดที่ผิด แต่หมายความว่าทฤษฎีนั้นทาการพยากรณ์ที่สามารถทดสอบกับ ประสบการณ์ได้ ถ้าทดสอบแล้วคาทานายนั้นผิด ทฤษฎีนั้นก็ถูกหักล้างหรือพิสูจน์ว่าผิด ดังนั้นทฤษฎี ที่หักล้างได้จึงเป็นทฤษฎีที่อาจจะค้นพบว่าไม่ถูกต้องหรือไม่สอดคล้องกับประสบการณ์เสมอไปฟอป เปอร์คิดว่า บางทฤษฎีที่อ้างว่าเป็นทฤษฎีวิทยาศาสตร์นั้นไม่เป็นไปตามเงื่อนไขนี้ จึงไม่สมควรเรียกว่า วิทยาศาสตร์ หากเป็นเพียงวิทศาสตร์เทียมเท่านั้น
  • 6. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 5 การอนุมานแบบนิรนัยและการอนุมานแบบอุปนัย (Deduction and induction) นักตรรกวิทยาได้จาแนกข้อแตกต่างที่สาคัญระหว่างการอนุมานแบบนิรนัย และการอนุมาน แบบอุปนัยดังนี้ การอนุมานแบบนิรนัย เป็นการอ้างเหตุผลนามาซึ่งข้อสรุป กล่าวคือ ถ้าข้ออ้างเป็นจริง ข้อสรุปก็จะเป็นจริงด้วย ตัวอย่าง ชาวฝรั่งเศสทุกคนชอบไวน์แดง ปิแอร์เป็นคนฝรั่งเศส __________________ ดั้งนั้น ปิแอร์ชอบไวน์แดง การอนุมานแบบอุปนัย เป็นการอ้างสิ่งที่ทดสอบไปแล้วไปสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับสิ่งที่ยังไม่ได้ทดสอบ ตัวอย่าง ไข่ห้าฟองแรกในกล่องเน่า ไข่ทุกฟองมีตราประทับบอกวันหมดอายุเหมือนกัน ___________________ ดังนั้น ไข่ฟองที่หกจะต้องเน่าด้วย การลาดับเหตุผลเชิงนิรนัยมีโอกาสผิดน้อยกว่าการลาดับเหตุผลเชิงอุปนัยมาก ในการใช้ เหตุผลแบบนิรนัย เราแน่ใจว่าเราเริ่มจากข้ออ้างที่เป็นจริง และจบลงด้วยข้อสรุปที่เป็นจริง แต่ การลาดับเหตุผลแบบอุปนัยไม่เป็นเช่นนั้น ตรงกันข้าม เป็นไปได้ทีเดียวที่การลาดับเหตุผลแบบ อุปนัย จะเริ่มจากข้ออ้างที่เป็นจริงไปสู่ข้อสรุปที่ไม่เป็นจริง การลาดับเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ 2
  • 7. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 6 ถึงแม้ว่าการอนุมานแบบอุปนัยจะมีข้อบกพร่อง แต่คนเราจะพึ่งใช้การอนุมานแบบอุปนัยโดย ไม่รู้ตัว แม้กระทั่งนักวิทยาก็ใช้การลาดับเหตุการณ์แบบอุปนัย ดังจะเห็นตัวอย่างได้จาก ข้อสรุป เกี่ยวกับแรงโน้มถ่วง นิวตันสังเกตเห็นว่ากฎแรงโน้มถ่วงเกิดขึ้นกับดาวเคราะห์ต่างๆ ดวงอาทิตย์ และ สิ่งของหลากหลายชนิดที่เคลื่อนเข้าใกล้พื้นผิวโลก เขาจึงอนุมานว่า กฎแรงโน้มถ่วงเกิดขึ้นกับเทห วัตถุทั้งหมด ถึงแม้ว่านักปรัชญาส่วนใหญ่ยอมรับการใช้การอุปนัยในวิทยาศาสตร์ แต่ก็มีผู้ที่ไม่เห็น อย่างนั้นด้วย เช่น คาร์ล พอปเปอร์ และ เดวิด ฮูม ปัญหาของฮูม ฮูมได้ให้คาตอบที่ง่ายดายแต่ลึกซึ้งว่า แท้จริงแล้ว การใช้การอนุมานเชิงอุปนัยไม่สามารถหา เหตุผลที่เหมาะสมมาสนับสนุนได้เลย ฮูมยอมรับว่าเราใช้การอุปนัยอยู่ตลอดเวลาชีวิตประจาวันและ ในวิทยาศาสตร์ แต่ยืนยันว่านี่เป็นการทาไปด้วยความเคยชินของสัตว์โลกเท่านั้น ถ้ามีผู้ขอให้ยก เหตุผลที่ดีมาสนับสนุนการอนุมานแบบอุปนัย เราก็ให้คาตอบที่น่าพอใจไม่ได้ ประเด็นที่เป็นข้อเสนอของฮูมคือ การอนุมานเชิงอุปนัยตั้งอยู่บนข้อสมมติฐานเบื้องต้นว่า ธรรมชาติมีความเป็นแบบเดียวกัน แต่ไม่สามารถพิสูจน์ได้และไม่สามารถหาหลักฐานเชิงประจักษ์มา ยืนยันว่าเป็นเช่นนั้นจริง ปีเตอร์ สตรอสัน ปกป้องแนวคิดที่ว่า การอุปนัยเป็นรากฐานของวิธีคิดและการลาดับเหตุผล ของเราจนไม่ใช่เรื่องที่จะอ้างเหตุผลสนับสนุนได้ โดยได้อุปมาอุปไมยไว้ว่า “ คนที่กังวลว่าการ กระทาใดถูกกฎหมายหรือไม่ สามารถจะเปิดตารากฎหมายและเปรียบเทียบการกระทานั้นกับสิ่งที่ บอกไว้ในตารา แต่คนที่กังวัลว่าตัวบทกฎหมายเองถูกกฎหมายหรือไม่ ถือเป็นความกังวลที่พิลึก จริงๆ ” การอุปนัยก็เช่นเดียวกัน การอุปนัยเป็นหนึ่งในบรรทัดฐานที่ใช้ตัดสินว่า ข้ออ้างต่างๆ เกี่ยวกับโลกมีเหตุผลสนับสนุนหรือไม่ การลาดับเหตุผลชนิดนี้รู้จักกันในฐานะที่เป็น การอนุมานโดย เลือกคาอธิบายที่ดีที่สุด
  • 8. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 7 ความเป็นไปได้และการอุปมัย นักปรัชญาวิทยาศาสตร์สนใจความเป็นไปได้ด้วยเหตุผลสองประการ เหตุผลประการแรกคือ ในวิทยาศาสตร์หลายสาขา โดยเฉพาะ ฟิสิกส์และชีววิทยา เราพบทฤษฎีต่างๆ ที่กาหนดขึ้นโดยอาศัย แนวคิดเรื่องความเป็นไปได้ และเหตุผลประการที่สอง ที่นักปรัชญาวิทยาศาสตร์สนใจแนวคิดเรื่อง ความเป็นไปได้ เพราะหวังว่าแนวคิดนี้จะช่วยอธิบายการอนุมานเชิงอุปนัยโดยเฉพาะปัญหาของฮูมให้ กระจ่างได้
  • 9. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 8 วิทยาศาสตร์คือการทดลองและอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นบนโลกนี้ได้ เพื่อสนองความใฝ่รู้ วิทยาศาสตร์มีโครงสร้างถกเถียงเชิงตรรกะ 1. อธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นจริง 2.หลักฐานบอกข้อสรุป 2.1. กฎ บอกเหตุผล เช่น โดนรังสีนานจึงเป็นมะเร็ง (ไขความลี้ลับของปรากฏการณ์) 2.2. ข้อเท็จจริง คือ เราตายเพราะมะเร็ง วิทยาศาสตร์ อธิบาย ได้ทุกเรื่องไหม ? เราสามารถไขความลับสมัย 4000 ล้านปีก่อนได้ทั้งๆที่ก่อนหน้านี้ก็ไม่มีคาอธิบาย แต่เมื่อ วิทยาศาสตร์มันก้าวหน้าอยู่ทุกวัน เลยทาให้ค้นพบคาตอบแต่บางอย่างก็ไม่มีวันอธิบายได้ เช่น สัมปชัญญะเป็นความคิดความรู้สึกของมนุษย์ ที่เหนือสิ่งมีชีวิตอื่น การอธิบายถูกใช้ในหลากหลายรูปแบบ ตัวอย่างเช่น นักเรียนที่เข้าห้องเรียนสายจะอธิบาย สาเหตุที่มาสาย นี่เป็นรูปแบบของการตัดสิน(justification) ในอีกสถานการณ์หนึ่ง นักเรียนมักจะถูก ถามเพื่อให้อธิบายว่าทาไมคณิตศาสตร์ถึงเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ นี่คือการอธิบายรูปแบบของ กระบวนการ/วิธีการในการทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ที่ปรากฏในสังคม คนทั่วๆไปมักจะอธิบายเกี่ยวกับบางสิ่ง บางอย่างในข้อเท็จจริง(fact) และการแสดงออกทางความคิดเห็นส่วนบุคคล จากตัวอย่างที่เห็นจะพบว่า การอธิบายของคนทั่วไปจะเป็นการอธิบายทางความคิดเห็น ไม่ใช่การอธิบายทางกระบวนการวิทยาศาสตร์ Prof. Bybee ยกตัวอย่างให้เราเห็นความสาคัญของการอธิบายในกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ดังนี้ เมื่อบอกจานวนความสัมพันธ์ของคนตายและแอลกอฮอล์ในจังหวัดที่เราอาศัยอยู่ การอธิบายในวิทยาศาสตร์ 3
  • 10. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 9 เราต้องให้เหตุผลว่าทาไมจานวนจึงลดลง การเปลี่ยนแปลงจานวนและหาสาเหตุที่ทาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงขึ้น นั่นก็คือ การอธิบายโดยใช้ข้อมูลและให้เหตุผลบนพื้นฐานของข้อมูล การอธิบายจึงเป็นศูนย์กลางที่จะรู้เรื่องราวของโลกธรรมชาติ เป็นสมติฐานทางวิทยาศาสตร์และ นักเรียนที่เรียนรู้วิทยาศาสตร์ อธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ไม่คุ้นเคย โดยหาความสัมพันธ์จากสิ่งที่มีคุ้นเคย แม้ว่าอาจจะมีความขัดแย้ง ก็ต้องศึกษาสิ่งที่ทาให้เกิดความขัดแย้ง นั่นคือวิธีการเรียนรู้ของบุคคล นั่นเอง
  • 11. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 10 มีข้อถกเถียงระหว่างสองสานักปรัชญาที่ความคิดตรงข้ามกันคือ สัจนิยมและปฏิสัจนิยม โดยสัจนิยมจะถือว่าโลกทางกายภาพดารงอยู่เป็นอิสระจากความคิดและการรับรู้ของมนุษย์ ส่วนปฏิ สัจนิยมจะอ้างว่าโลกทางกายภาพขึ้นกับกิจกรรมที่อยู่ในอานาจความนึกคิดของมนุษย์ไม่ทางใดก็ทาง หนึ่ง บทนี้จะพูดถึงข้อถกเถียงที่สมัยใหม่ซึ่งเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะชาวสัจนิยมถือว่า จุดมุ่งหมายของวิทยาศาสตร์คือ การบอกเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับโลกตามความเป็นจริง แต่ชาวปฏิสัจ นิยมไม่ได้คิดเช่นนั้น ชาวปฏิสัจนิยมถือว่าจุดมุ่งหมายของวิทยาศาสตร์คือ การบอกเล่าเรื่องราวที่เป็น จริงเกี่ยวกับบางส่วนของโลกที่ “มองเห็นได้” ชาวสัจนิยมและชาวปฏิสัจนิยมมีความเห็นต่างกันในเรื่องของศาสตร์อย่างฟิสิกส์ ชาวสัจนิยม บอกว่าเมื่อนักฟิสิกส์เสนอทฤษฎีเกี่ยวกับอิเล็กตรอนและควาร์ก พวกเขากาลังพยายามบอกเล่า เกี่ยวกับโลกส่วนที่เล็กกว่าอะตอมซึ่งมีอยู่จริง แต่ชาวปฏิสัจนิยมพวกเขาคิดว่านักฟิสิกส์ตั้งใจจะทา อะไรเมื่อพูดถึงสิ่งซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า พวกเขาย่อมจะอ้างว่าสิ่งซึ่งมองไม่เห็นเหล่านี้เป็นเพียง เรื่องซึ่งนักฟิสิกส์อุปโลกน์ขึ้น ปฏิสัจนิยมได้รับแรงจูงใจส่วนใหญ่จากความเชื่อที่ว่า เราไม่สามารถเข้าถึงความรู้เกี่ยวกับ ภาคส่วนของความเป็นจริงซึ่งมองไม่เห็นเพราะพ้นขอบเขตของความรู้มนุษย์ ความสามารถในการ มองเห็นสิ่งต่างๆ ของเรา เป็นตาจากัดขอบเขตความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ชาวสัจนิยมไม่เห็นด้วยว่า ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นเงื่อนไขจากัดความสามารถในการมองเห็นของเรา ตรงกันข้ามพวกเขา เชื่อว่าเกี่ยวกับความเป็นจริงที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่าอยู่แล้วเป็นอันมาก ข้อถกเถียงว่าด้วย ‘ไม่มีปาฏิหาริย์’ ข้อถกเถียงว่าด้วย “ไม่มีปาฏิหาริย์” เราจะอธิบายความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีซึ่งมีทฤษฎี วิทยาศาสตร์เป็นฐานอย่างไร ถ้าหากอะตอมและอิเล็กตรอนเป็นเพียง ‘สิ่งที่อุปโลกน์ขึ้นเพื่อความ สัจนิยมและปฏิสัจนิยม 4
  • 12. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 11 สะดวก’ ดังที่ชาวปฏิสัจนิยมบอก ถ้าเช่นนั้น การเป็นชาวปฏิสัจนิยมก็ไม่ต่างกับการเชื่อในปาฏิหาริย์ ข้อถกเถียงว่าด้วย “ไม่มีปาฏิหาริย์” ของสัจนิยมวิทยาศาสตร์นี้ เป็นข้อถกเถียงที่เป็นไปได้ซึ่งเป็นการ อนุมานจากคาอธิบายที่ดีที่สุด คาอธิบายที่ดีที่สุดคือ ทฤษฎีเหล่านั้นถูกต้องตามความเป็นจริง สิ่ง ต่างๆ ซึ่งอ้างถึงมีอยู่จริงและมีพฤติกรรมตามที่บอกไว้ในทฤษฎี ชาวปฏิสัจนิยมตอบโต้ข้อถกเถียงนี้ ด้วยการหันไปอ้างอิงข้อเท็จจริงทางประวัติศาตร์วิทยาศาสตร์ ซึ่งมีหลายทฤษฎีที่ประสบความสาเร็จ เชิงประจักษ์ หนึ่งในทฤษฎีเหล่านี้คือ ทฤษฏีโฟลจิสตัน ซึ่งปัจจุบันไม่มีสารประเภทโฟลจิสตัน แต่ ทั้งๆที่ไม่มีสารโฟลจิสตัน ทฤษฎีโฟลจิสตันก็ค่อนข้างจะประสบความสาเร็จเชิงประจักษ์ เพราะสอด รับกับข้อมูลที่มองเห็นซึ่งมีอยู่ในเวลานั้นเป็นอย่างดี สิ่งที่มองเห็นและสิ่งที่มองไม่เห็น ประเด็นหลักที่ค่ายสัจนิยมกับค่ายปฏิสัจนิยมโต้เถียงกันคือ ข้อแตกต่างระหว่างสิ่งที่มองเห็น กับสิ่งที่มองไม่เห็น ปัญหาเกี่ยวกับการจาแนกสิ่งซึ่งมองเห็นกับสิ่งซึ่งมองไม่เห็นประการหนึ่ง คือ ปัญหาเกี่ยวกับการสังเกตและการสืบค้น เป็นธรรมดาที่ตะมองไม่เห็นอนุภาคพื้นฐานอย่างอิเล็กตรอน แต่สามารถสืบค้นได้โดยใช้เครื่องมือพิเศษที่เรียกว่า ห้องหมอก โกรเวอร์ แมกซ์เวล นักปรัชญาชาวอเมริกันได้ตั้งปัญหาให้ชาวปฏิสัจนิยมตอบดังนี้ ลอง พิจารณาลาดับเหตุการณ์ต่อไปนี้ มองดูของสิ่งหนึ่งด้วยตาเปล่า มองดูของสิ่งหนึ่งทางหน้าต่าง มองดู ของสิ่งหนึ่งผ่านแว่นตาหนาเตอะ มองดูของสิ่งหนึ่งผ่านกล้องส่องทางไกล บอกว่าเหตุการณ์เหล่านี้ เกิดต่อเนื่องกันโดยไม่สะดุด ดังนั้น จะชี้ชัดลงไปได้อย่างไรว่าเหตุการณ์ไหนเป็นการมองเห็น และ เหตุการณ์ไหนเป็นการมองไม่เห็น ถ้าสามารถมองเห็นของสิ่งหนึ่งได้โดยอาศัยเครื่องมือวิทยาศาสตร์ ที่มีส่วนประกอบซับซ้อน จะนับว่าเป็นการมองเห็นหรือไม่ เครื่องมือต้องมีสวนประกอบซับซ้อนแค่ ไหน จึงจะถือว่าเป็นการสืบหาร่องรอยมากกว่าจะเป็นการมองเห็น บาส แวน ฟราซเซน ชาวปฏิสัจ นิยมร่วมสมัยคนสาคัญอ้างว่า ข้อโต้แย้งของแมกซ์ เวลเพียงแต่แสดงว่า ‘การมองเห็น’ เป็นแนวคิดที่ คลุมเครือเท่านั้น ข้อโต้แย้งของแมกซ์เวลเน้นข้อเท็จจริงที่ว่า มีกรณีก้ากึ่งซึ่งเราไม่แน่ใจว่าสิ่งที่พูดถึง นั้นมองเห็นหรือสีบสาวร่องราวได้เท่านั้น
  • 13. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 12 ข้อถกเถียงว่าด้วยความไม่พอเพียงในการอธิบายข้อมูล ชาวสัจนิยมขานรับข้อโต้แย้งว่าด้วยความไม่เพียงพอในการอธิบายข้อมูลด้วยการยืนยันว่าข้อ ถกเถียงนี้เป็นจริงในเรื่องที่ไม่สาคัญและไม่น่าสนใจเท่านั้น ในหลักการข้อมูลซึ่งมองเห็นชุดหนึ่ง จะมี คาอธิบายมากกว่าหนึ่งเสมอ แต่ชาวสัจนิยมบอกว่าคาอธิบายที่เป็นไปได้ทั้งหมดไม่ใช่คาอธิบายที่ดี เสมอกัน ถ้าทฤษฏีที่แตกต่างกันสามารถอธิบายข้อมูลซึ่งมองเห็นได้ดีทัดเทียมกันดังที่ชาวปฏิสัจนิยม ยืนยัน เราก็ควรจะคาดหวังได้ว่านักวิทยาศาสตร์แทบจะไม่มีวันมีความเห็นตรงกันเลยใช่หรือไม่ แต่ แท้ที่จริงแล้วแทนที่จะมีคาอธิบายข้อมูลซึ่งมองเห็นให้เลือกจานวนมากการค้นพบทฤษฎีที่มีเหตุผล รองรับข้อมูลอย่างเพียงพอแม้เพียงทฤษฎีเดียวก็มักเป็นเรื่องยากเย็นสาหรับนักวิทยาศาสตร์ ข้อเท็จจริงนี้สนับสนุนทัศนะของชาวสัจนิยมที่ว่า ความไม่เพียงพอในการอธิบายข้อมูลเป็นเพียงความ กังวลของนักปรัชญาซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ในภาคปฏิบัติเท่าใดนัก อันที่จริง ชาวสัจนิยมที่โต้แย้งกาลังบอกวา ปัญหาซึ่งข้อถกเถียงว่าด้วยความไม่เพียงพอใน การอธิบายข้อมูลยกขึ้นมา เป็นเพียงภาคที่ละเอียดซับซ้อนของปัญหาการลาดับเหตุผลเชิงอุปนัย ชาวสัจนิยมบอกว่า เมื่อถึงที่สุดแล้ว ข้อเสนอของชาวปฏิสัจนิยมก็ไม่มีเกณฑ์ที่แน่นอน การทาความ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์สามารถให้ความรู้เกี่ยวกับอะตอมและอิเล็กตรอนแก่เราอย่างไร กับการทา ความเข้าใจว่าวิทยาศาสตร์สามารถให้ความรู้เกี่ยวกับวัตถุขนาดกลางธรรมดาๆ แก่เราอย่างไร มี ปัญหาพอกัน
  • 14. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 13 ความคิดทางด้านวิทยาศาสตร์มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เมื่อมีการย้อนทฤษฏีทาง วิทยาศาสตร์ต่างๆกลับไปเมื่อ 50 ปี หรือ 100 ปี ซึ่งมีความแต่งต่างกันมากกับในปัจจุบัน จึงเกิดการ อภิปรายเกี่ยวกับคาถามเหล่านั้นมากมายโดยส่วนใหญ่ เริ่มมาจากโทมัส คูห์น นักประวัติศาสตร์และ ปรัชญาวิทยาศาสตร์ เขาได้เขียนหนังสือเกี่ยวกับปรัชญาวิทยาศาสตร์ที่ชื่อโครงสร้างของการปฏิวัติ ทางวิทยาศาสตร์ ทาให้มีผลกระทบต่อวิชาการต่างๆอย่างมาก ปรัชญาวิทยาศาสตร์ปฏิฐานนิยมเชิงตรรกะ ปรัชญาวิทยาศาสตร์ปฏิฐานนิยมเชิงตรรกะ เป็นการเครื่อนไหวทางปรชญาที่มีอิทธิพลมาก ที่สุด ชาวปฏิฐานนิยมเชิงตรรกะเป็นการนัดรวมตัวกันของพวกนักปรัชญาและนักวิทยาศาสตร์เป็น ส่วนใหญ่ เริ่มพบกันในกรุงเวียนนนาในปี 1920 และ ต้น 1930 ภายใต้การนาของมอริตช์ ชลิค ชาวปฏิฐานนิยมส่วนใหญ่หนีการตามประหารของพวกนาซีไปอยู่สหรัฐอเมริกา จนปี 1960 ชาวปฏิ ฐานนิยมเชิงตรรกะเริ่มสลายตัว ชาวปฏิฐานนิยมเชิงตรรกะนับถือวิทยาศาสตร์ธรรมชาติและคณิตศาสตร์มาก จุดมุ่งหมาย หนึ่งของพวกเขาคือทาให้วิชาปรัชญา เป็นวิทยาศาสตร์มากขึ้น เพราะเขาเชื่อว่าวิทยาศาสตร์สามารถ หาคาตอบที่เป็นวัตถุได้โดยสมบูรณ์ วิทยาศาสตร์จึงเป็นกิจกรรมที่เป็นเหตุเป็นผล เป็นเส้นทางไปสู่ ความจริงที่ดารงอยู่อย่างเชื่อมั่นได้ ชาวปฏิฐานนิยมเชิงตรรกะให้ความสนับสนุนประวัติศาสตร์ของวิทยาศาสตร์น้อยมาก พวก เขาขีดเส้นแบ่งอย่างชัดเจนที่เรียกว่า บริบทของการค้นพบและบริบทของการอ้างเหตุผลสนันสนุน ชาวปฏิฐานนิยมเชื่อว่าบริบทของการค้นพบเป็นกระบวนการจิตวิทยาที่ไม่มีกฎเกณฑ์แน่นอน ส่วน บริบทของการอ้างเหตุผลสนันสนุนเป็นเรื่องเชิงตรรกะ ดังนั้นนักปรัชญาวิทยาศาสตร์ควรศึกษา บริบทของการอ้างเหตุผลสนันสนุนเท่านั้น การเปลี่ยนแปลงทางวิทยาศาสตร์และการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ 5
  • 15. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 14 ตัวอย่างเช่นในปี 1865 เคคูเลนักวิทยาศาตร์ชาวเยอรมันพบว่าโมเลกุลของน้ามันเบนซินมี โครงสร้างเป็นหกเหลี่ยม เขาทดสอบสมมติฐานได้ว่าเป็นวิทยาศาสตร์แต่ชาวปฏิฐานจะแย้งว่าไม่ว่า จะมีข้อสมมติฐานอย่างไร สิ่งสาคัญคือเขาอ้างหลักฐานสนุบสนุนนข้อสมมติฐานอย่างไร ความเชื่อว่าการค้นพบเป็นเรื่องเชิงอัตวิสัย และ เชิงจิตวิทยา ขณะที่การอ้างหลักฐาน สนับสนุนไม่ใช่ ซึ่งเป็นสิ่งที่บอกได้ว่าปรัชญาวิทยาศาสตร์ของชาวปฎิฐานนิยมจึงไม่เป็นประวัติศาสตร์ เพราะประวัติศาสตร์อยู่ในบริบทของการค้นพบ ไม่ได้อยู่ในบริบทของการอ้างหลักฐานสนับสนุน นัก ปรัชญาวิทยาศาสตร์จึงไม่สนใจกระบวนการทางประวัติศาสตร์ ความสาคัญอีกเรื่องหนึ่งของปัชญาวิทยาศาสตร์เชิงปฎิฐานนิยมคือความแตกต่างระหว่าง ทฤษฎีกับข้อเท็จจริงที่มองเห็นได้ ซึ่งชาวปฏิฐานนิยมมีความเห็นไม่ตรงกัน เมื่อไม่มีความแตกต่างที่ ชัดเจน ชาวปฏิฐานนิยมจึงตกลงที่จะเชื่อว่าวิทยาศาตร์มีความเป็นเหตุเป็นผลและปรวิสัย โครงสร้างของการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ โครงสร้างของการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์เป็นยุคของการ เปลี่ยนแปลงขนาดใหญ่ ความคิดทางวิทยาศาสตร์เดิมถูกแทนด้วยความคิดใหม่ การเปลี่ยนแปลง เหล่านี้ทาให้ความคิดชุดเก่าถูกลบด้วยความคิดใหม่ที่ต่างกันอย่างสิ้นเชิง ส่วนใหญ่ วิทยาศาสตร์ที่ไม่อยู่ในสภาวะปฏิวัติตูห์นใช้คาว่า วิทยาศาสตร์ปกติ คือกิจกรรมปกติที่ นักวิทยาศาสตร์ทาและมีแนวคิดเรื่องกระบวนทัศน์ เป็นวิทยาศาสตร์ปกติของคูห์น มี 2 องค์ประกอบคือ ข้อสมมติฐานเบื่องต้นและตัวอย่าง สรุปโดยรวมกระบวนทัศน์คือภาพทั้งหมดของ วิทยาศาสตร์รวมถึงข้อสมมติฐาน ความเชื่อ คุณค่าซึ่งเป็นที่ยอมรับผูกกับวิทยาศาสตร์เข้าด้วยกัน และทาให้เกิดวิทยาศาสตร์ปกติ โดยทั่วไปวิทยาศาสตร์สมัยหนึ่งมีเวลาหลายทศวรรษ นักวิทยาศาสตร์จึงมีการปรับเปลี่ยน ต่างๆเรื่อยๆ แต่เมื่อเวลาผ่านไปจะมีการพบสิ่งที่ผิดจากกระแสหลัก ไม่ตรงกับสมมติฐาน ทาให้เสีย ความเชื่อมั่นและเป็นจุดเริ่มของการ ปฏิวัติวิทยาศาสตร์ ที่เปลี่ยนจากกระบวนทัศน์เก่าไปสู่กรบวน ทัศน์ไหม่
  • 16. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 15 คูห์นเสนอแนวคิดที่ต่างออกไปว่าข้อเท็จจริงเกี่ยวกับโลกสัมพันธ์กับกระบวนทัศน์และจะ เปลี่ยนเมื่อกระบวนทัศน์เปลี่ยน ก็จะทาให้ไม่มีเหตุผลที่จะถามว่าข้อเท็จจริงเป็นจริงหรือไม่ เพราะ ความจริงมีความสัมพันธ์กับกระบวนทัศน์ ความไม่สมมาตรและข้อมูลที่พ่วงทฤษฎี ความไม่สมมาตรและข้อมูลที่พ่วงทฤษฎี ข้อแย้งทางปรัชญาแรกของคูห์นคือเมื่อกระบวน ทัศน์เก่ากับกระบวนทัศน์ใหม่เข้ากันไม่ได้ ความคิดไม่ตรงกันและทาให้เกิดความไม่สมมาตรกันเช่น ความคิดที่ว่าดาวเคราะห์โคจรรอบโลกกับดาวเคราะห์ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ คูห์นยืนยันว่าถ้าสอง กระบวนทัศน์ไม่สมมาตรกันก็ไม่ได้หมายความว่าจะไม่สามารถเปรียบเทียบกันไม่ได้แต่ทาให้เปรียน เทียบยากขึ้นเท่านั้นและยังมีสิ่งที่เขาเรียกว่าความไม่สมมาตรของมาตรฐาน คือความคิดที่ผู้เสนอ กระบวนทัศน์ต่างกันไม่สามารถตกลงกันได้ว่าควรใช้กระบวนทัศน์ไหน ข้อแย้งที่สองคือข้อมูลที่พ่วงทฤษฎี ข้อมูลที่พ่วงทฤษฎี มีผลสาคัญสองประการสาหรับคูห์น ประการแรก หมายถึงข้อปัญหาระหว่างกระบวนทัศน์ไม่สามารถแก้ได้โดยเพียงแค่อาศัยข้อมูลหรือ ข้อเท็จจริง ในการตัดสินเพราะขึ้นอยู่กับการยอมรับกระบวนทัศน์นั้นของนักวิทยาศาสตร์ คูห์นและความเป็นเหตุเป็นผลของวิทยาศาสตร์ คูห์นและความเป็นเหตุเป็นผลของวิทยาศาสตร์ หนังสือ โครงสร้างของการปฏิวัติทาง วิทยาศาสตร์ซึ่งมีคนสนับสนุนอย่างมากแต่ไม่ใช่กับชาวปฏิฐานนิยมที่มองว่าวิทยาศาตร์เป็นเหตุเป็น ผล เป็นปรวิสัยและสั่งสมเพิ่มพูน ทาให้คูห์นออกมายืนยันว่าไม่ได้เป็นอย่างที่พวกเขาคิดและคูณ์น ไม่ได้บอกว่าการเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ไร้เหตุผลแต่เป็นการให้ข้อเตือนใจในการเปลี่ยนกระบวน ทัศน์ว่าจาเป็นต้องมองเหตุผลและคลายความเคร่งลง มรดกของคูห์น งานของคูห์นที่ส่งผลต่างๆมากมายเช่นการให้ความใส่ใจกับสิ่งแวดล้อมของวิทยาศาสตร์ การ มองกระบวนทัศน์เดียวกัน ความคิดของคูห์นที่มีความขัดแย้งที่สามารถเปลี่ยนปรัชญา ความคิดต่างๆ ได้
  • 17. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 16 เป็นเรื่องวิทยาศาสตร์สาขาเฉพาะ ชีวะ - พืช แบ่งได้ตามสกุลพืช สิ่งมีชีวิต แบ่งตาม kingdom คือมีหลายวิธีจาแนกมากๆ ดูความคล้ายคลึง ส่วนใหญ่ใช้วิธี ลินเนียน ในการแบ่ง อย่างเช่น ก้อนหินที่ลอยน้า และไม่ลอย สี อายุ จิตประกอบด้วยมอดูล ไม่ใช่เอาไว้ ทาอะไรยากๆเช่นเล่นซูดูกุ แต่มันคือสามัญมากๆ เช่น ข้ามถนนให้ปลอดภัย จา หน้าคนได้ หรือ ตรวจเงินทอน กลไกลพวกนี้จะเกิดขึ้นแบบอัตโนมัติ คณะจิตวิทยาเลยแม้แต่น้อย ลักษณะการศึกษาแบบ neuroscience คือเอาสมองมาผ่าเป็นชิ้นบางๆ แล้วส่องกล้องดู หรือไม่ก็จับคนใส่เครื่องสแกนระบบ fMRI แล้วดูภาพถ่ายการทางานของส่วนต่างๆ ของสมอง หรือไม่ก็สร้างแบบจาลองของสมองด้วยคอมพิวเตอร์ แต่สิ่งที่อาจารย์คณะจิตวิทยาทามา ตลอดคือศึกษา “พฤติกรรม” ของมนุษย์แต่ละคน หรือพฤติกรรมขององค์กร ไม่ได้เกี่ยวข้องโดยตรง กับสมองแต่อย่างใด การที่มหาลัยอยากให้คณะจิตวิทยาทา neuroscience จึงเหมือนกับการให้ คณะอักษรศาสตร์เปลี่ยนไปศึกษาคณิตศาสตร์กับ computer science แทนที่จะศึกษาวรรณคดี หรือปรัชญา มันคนละวิชากัน คนละงาน ใช้คนคนละชุด คนละหลักสูตร พื้นฐานงานที่อ่านกันมาเป็น คนละอย่าง อ้างอิงถึงบุคคลหลักๆในวงการ (เช่น Freud, Wundt, Skinner) ขั้นตอนหลักของการทาให้การศึกษาจิตเป็นวิทยาศาสตร์ ก็คือการทาให้จิตเป็น “สิ่งที่ถูก มอง” หรือเป็นสรรพนามบุรุษที่สาม แทนที่จะเป็นตัวผู้มองเองหันมามองตัวเอง แบบที่ปรากฏในงาน ของ Descartes หรือ Kant แต่เวลาจะมองหาจิตเพื่อเอามาศึกษา เราจะไปมองหาที่ไหน มองอะไร? ข้อตกลงของนักจิตวิทยาส่วนใหญ่ที่มีมาเป็นเวลานานก็คือว่า ให้ดูไปที่พฤติกรรม หรือการแสดงออก ทางร่างกายที่สังเกตได้ เนื่องจาก “จิต” ตามความเข้าใจของคนทั่วไป เป็นอะไรที่จับต้องไม่ได้ ชั่ง ตวงวัดไม่ได้ จึงมองกันว่าพฤติกรรมนี่แหละคือตัวแทนของจิต ศึกษาจิตไม่ได้ก็มาศึกษาพฤติกรมแทน คือเชื่อมโยงความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาสู่มิติทางสังคม ชีวิต สิ่งแวดล้อมและมีความสนใจในปรัชญา ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปรัชญาตะวันออกของจีนโบราณ ลัทธิเต๋า พุทธศาสนานิกายเซน ฮินดู ปัญหาปรัชญาในฟิสิกชีวะ จิตวิทยา 6
  • 18. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 17 อันเป็นการค้นพบทางวิทยาศาสตร์ที่ถือกันว่ายิ่งใหญ่ที่สุดของมนุษยชาติยุคใหม่ในช่วงต้น คริสต์ศตวรรษที่ 20 เกี่ยวกับสสาร พลังงาน ลักษณะการดารงอยู่ของอะตอมและองค์ประกอบ ซึ่ง ช่วยให้มนุษย์เข้าใจความเป็นไปและลักษณะการดารงอยู่ของสรรพสิ่งและธรรมชาติมากขึ้น รวมทั้ง เกิดทัศนะใหม่ในการมอง"ความจริง"(Reality) ที่แตกต่างไปจากความเข้าใจของวิชาฟิสิกส์แบบเดิม ตามทฤษฎีกลศาสตร์ของนิวตันซึ่งวิทยาศาสตร์สาขาอื่น และสังคมศาสตร์ด้านต่างๆ ได้ยึดถือเป็น กระบวนทัศน์ในการพัฒนาทฤษฎีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 18 จนกระทั่งปัจจุบัน
  • 19. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 18 คนจานวนมากยอมรับว่าวิทยาศาสตร์เป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์ด้วยเหตุผลซึ่งเห็นได้ชัดเจน หลายประการเช่น วิทยาศาสตร์ได้ให้ไฟฟ้า วิทยาศาสตร์ได้ให้เทคโนโลยีเป็นต้น แต่ถึงแม้สิ่งเหล่านี้ จะช่วยให้มนุษย์มีความเป็นอยู่ที่ดี แต่วิทยาศาสตร์ก็ยังถูกวิพากษ์วิจารณ์ในแง่มุมต่างๆมากมาย เช่น วิทยาศาสตร์ให้เทคโนโลยีในการผลิตอาวุธที่มีอานาจทาลายล้างได้อย่างมหาศาล หรือ ความรู้ทาง วิทยาศาสตร์นั้นเหนือกว่าความรู้และความเชื่อของวัฒนธรรมชนพื้นเมืองทั่วโลก เป็นต้น ซึ่งที่กล่าว มานี้ เป็นเพียงส่วนน้อยของคาวิพากษ์วิจารณ์ที่มีต่อวิทยาศาสตร์ ในบทนี้จะให้ความใส่ใจกับปัญหา ปรัชญาที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์สามเรื่อง ได้แก่เรื่อง 1. วิทยาศาสตร์นิยม (Scientism) “การกระทาที่เป็นวิทยาศาสตร์ถือเป็นการกระทาที่ฉลาดมีไหวพริบ ชอบด้วยเหตุผล และน่า สรรเสริญ ในขณะที่การกระทาที่ไม่เป็นวิทยาศาสตร์ถือเป็นการกระทาที่โง่เขลา ไม่ชอบด้วยเหตุผล และน่าดูหมิ่น” ยากที่เราจะหาเหตุผลว่าทาไมคาว่า วิทยาศาสตร์ ที่เรากล่าวข้างต้นนี้ได้รับ ความหมายเหล่านี้มาได้อย่างไร แต่การที่วิทยาศาสตร์ได้รับความเชื่อถือมากในสังคมสมัยใหม่อาจ เป็นสาเหตุประการหนึ่ง ซึ่งสังคมปฏิบัติต่อนักวิทยาศาสตร์ในฐานะผู้เชี่ยวชาญ เวลามีเรื่องสาคัญ มัก ขอความเห็นจากนักวิทยาศาสตร์เสมอและส่วนใหญ่มักยอมรับความเห็นของนักวิทยาศาสตร์ โดย ไม่ได้ตั้งคาถามใดๆเพราะคิดว่านักวิทยาศาสตร์เป็นผู้เชี่ยวชาญ แต่ก็ต้องยอมรับว่าบางครั้ง นักวิทยาศาสตร์ก็ผิดพลาด แต่ไม่บ่อยครั้งจึงทาให้ความศรัทธาไม่ค่อยสั่นคลอน วิทยาศาสตร์นิยม เป็นคาที่มีความหมายเชิงหมิ่นแคลนหรือดูถูก ซึ่งนักปรัชญาใช้พูดถึงการ บูชาวิทยาศาสตร์ที่เกินกว่าเหตุซึ่งพบในแวดวงปัญญาชนจานวนมาก ฝ่ายที่เป็นศัตรูกับวิทยาศาสตร์ นิยมแย้งว่า วิทยาศาสตร์ไม่ใช่การพยายามทางปัญญาที่มีเหตุผลเพียงรูปแบบเดียว พวกที่เป็นศัตรูกับ วิทยาศาสตร์มักย้าว่าไม่ได้ต่อต้านวิทยาศาสตร์โดยตรง แต่พวกเขาต่อต้านคือสิทธิพิเศษที่ให้กับ สถานภาพของวิทยาศาสตร์ และไม่ยอมรับข้อสันนิษฐานที่ว่าจาเป็นต้องนาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ มาใช้กับทุกเนื้อหาทุกวิชา พวกเขาไม่มีจุดมุ่งหมายที่จะโจมตีวิทยาศาสตร์แต่ต้องการให้วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์และการวิพากษ์วิจารณ์วิทยาศาสตร์ 7
  • 20. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 19 อยู่ในที่ทางที่ควรจะเป็นคือเป็นวิชาที่มีสถานะเท่าเทียมกับวิชาการสาขาอื่น อีกทั้งวิทยาศาสตร์ยังไม่ สามารถให้คาตอบทั้งหมดของความเป็นอยู่ที่ดีของมนุษย์ได้ เช่น เราควรดาเนินชีวิตองเราอย่างไร ความรู้คืออะไรหรือความสุขของมนุษย์เกี่ยวข้องกับอะไร เป็นต้น ฟาน ออร์มัน ไควน์ นักปรัชญาอเมริกันคนสาคัญที่สุดแห่งคริสต์ศตวรรษที่ 20 และเป็นคนที่ ชอบการถกเถียง โดยมีทัศนะคติมาจากลัทธิธรรมชาตินิยม ซึ่งเน้นว่ามนุษย์เราเป็นส่วนสาคัญของ โลกธรรมชาติไม่ใช่สิ่งที่แยกต่างหากจากโลกธรรมชาติ ผู้ที่เห็นด้วยกับความคิดนี้บอกว่าวิทยาศาสตร์ ก้าวหน้ามาเรื่อยๆ ในขณะที่ปรัชญาดูเหมือนจะถกแต่ปัญหาเดิมๆมานานหลายศตวรรษ บทบาทที่ ปรัชญายังมีอยู่บ้าง คือ การทาความกระจ่างให้กับแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ ในความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์ธรรมชาติกับสังคมศาสตร์ก็มีปัญหาคล้ายกัน นัก สังคมศาสตร์ก็ไม่พอใจ การบูชาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ในสาขาวิชาของพวกเขา ไม่มีใครปฏิเสธว่า สาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ มีองค์ความรู้ก้าวหน้ากว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ อย่าง เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา เป็นต้น คนจานวนมากประหลาดใจว่าเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น โดยคาตอบที่ น่าจะเป็นคือวิธีการของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติเหนือกว่าวิธีการของสังคมศาสตร์ ถ้าคาตอบนี้ถูกต้อง สิ่งที่สังคมศาสตร์จาเป็นต้องทาเพื่อตามให้ทันคือ เลียนแบบอย่างวิธีการของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ซึ่งก็ได้เกิดขึ้นแล้วในระดับหนึ่ง โดยการนาคณิตศาสตร์มาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์ ในประเด็นวิทยาศาสตร์นิยมและประเด็นคู่ขนานเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ธรรมชาติและ สังคมศาสตร์เป็นเรื่องที่ลงความเห็นยากส่วนหนึ่งมาจากไม่มีความชัดเจนว่า วิธีการของวิทยาศาสตร์ คืออะไรกันแน่หรือจริงๆแล้วประกอบด้วยอะไรถ้าต้องการรู้ว่าวิธีการของวิทยาศาสตร์นาไปใช้ได้กับ ทุกเนื้อหาวิชาหรือไม่ เป็นธรรมดาที่จาเป็นต้องรู้ว่าวิธีการเหล่านั้นที่แน่นอนคืออะไร วิทยาศาสตร์ เปลี่ยนแปลงอย่างมากมายตามการเวลา ดังนั้นจึงไม่ควรยอมรับข้อสมมติฐานเบื้องต้นที่ว่ามี วิธีการ ทางวิทยาศาสตร์ที่แน่นอนตายตัวไม่เปลี่ยนแปลง และนาคาแย้งคากล่าวอ้างที่ว่าคาถามไม่สามารถ ตอบได้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ อย่างน้อย ก็ชวนให้คิดอยู่บางว่าข้อถกเถียงเกี่ยวกับวิทศาสตร์ นิยมอาจจะตั้งอยู่บนข้อสมมติล่วงหน้าที่ผิดพลาด
  • 21. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 20 อย่างไรก็ตามนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งที่ถูกสรุปมาจากหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์ในหัวข้อเรื่อง วิทยาศาสตร์นิยม นอกเหนือจากหนังสืออาจมีผู้คนอีกมากมายที่มีความคิดเห็นที่แตกต่างไปจากนี้ 2. วิทยาศาสตร์และศาสนา วิทยาศาสตร์และศาสนานั้นมีความตึงเครียดและความขัดแย้งกันมานานและมีเอกสารที่ บันทึกไว้เป็นหลักฐาน ตัวอย่างที่รู้จักกันดีคือกรณีที่กาลิเลโอปะทะกับศาสนจักรคาทอลิก โดยกาลิเล โอเชื่อเรื่องทฤษฎีของโคเปอร์นิคัสที่ว่า ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล หลังจากนั้นกาลิเลโอ ถูกดาเนินคดี และในการไต่สวยทางศาสนาบังคับกาลิเลโอประกาศต่อสาธารณชนว่าเขาไม่เห็นด้วย กับโคเปอร์นิคัสที่บอกว่าดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาลและตัดสินลงโทษกักบริเวณเขาไว้ใน บ้านพักจนกระทั่งเสียชีวิต แน่นอนที่เขาถูกดาเนินคดีเพราะทฤษฎีของโคเปอร์นิคัสฝ่าฝืนพระคริศต ธรรมคัมภีร์ การปะทะระหว่างวิทยาศาสตร์กับศาสนายังไม่จบเพียงเท่านั้น บังมีการขัดแย้งเกิดขึ้น ระหว่างทฤษฎีของดาร์วินกับฝ่ายที่เชื่อว่าพระเจ้าเป็นผู้สร้างโลก ซึ่งการเป็นศัตรูต่อทฤษฎีดาร์วิน ของฝ่ายเทววิทยาเพราะทฤษฎีของดาร์วินยืนยันว่าสายพันธุ์ทั้งหลายในปัจจุบันรวมทั้งมนุษย์ ล้วนสืบ เชื้อสายมาจากบรรพบุรุษร่วมกันผ่านกาลเวลาอันยาวนาน แต่ในทางศาสนาก็มีความขัดแย้งอย่าง ชัดเจน โดยคัมภีร์ว่าด้วยการกาเนิดของโลกและมนุษย์บอกว่า พระเจ้าเป็นผู้สร้างสัตว์โลกทั้งมวล ภายในเวลาหกวัน ซึ่งเป็นความขัดแย้งที่ชัดเจนมาก เป็นธรรมดาที่ต้องเลือกเชื่ออย่างใดอย่างหนึ่ง นักชีววิทยาจานวนหนึ่งได้พบวิธีประนีประนอมศรัทธาในคริสต์ศาสนากับการเชื่อเรื่องวิวัฒนาการวิธี หนึ่งคือ เถียงว่าไม่ควรตีความตามคัมภีร์ว่าด้วยกาเนิดของโลกและมนุษย์ตรงตามตัวอักษร แต่ควร มองในเชิงอุปมาอุปไมยหรือในเชิงสัญลักษณ์เพราะเมื่อพิจารณาให้ดีแล้ว ทฤษฎีวิวัฒนาการของดาร์ วินก็สอดคล้องกับการดารงอยู่ของพระเจ้าและหลักคาสอนอื่นๆของคริสต์ศาสนา เพียงแต่ว่าทฤษฎี ของดาร์วินปฏิเสธเรื่องราวเกี่ยวกับการสร้างโลกโดยพระเจ้า แต่อย่างไรก็ตามก็ ก็มีชาวโปรเตสแตนต์ที่เชื่อคาสอนของคริสต์ศาสนาและไม่ยอมปรับความ เชื่อให้เข้ากับการค้นพบทางวิทยาศาสตร์และยืนยันว่าเรื่องพระเจ้าสร้างโลกเป็นเรื่องจริง ซึ่ง ความเห็นนี้รู้จักกันในชื่อ ลัทธิว่าด้วยการสร้างโลก ซึ่งคนที่เชื่อในลัทธิว่าด้วยการสร้างโลกมีอิทธิพล
  • 22. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 21 ต่อการเมืองมากจึงทาให้วิชาชีววิทยาในโรงเรียนในอเมริกาไม่มีการสอนเรื่องวิวัฒนาการตามทฤษฎี ของดาร์วิน ต่อมาได้เกิดวิทยาศาสตร์ว่าด้วยการสร้างโลกเกิดขึ้น ซึ่งวิทยาศาสตร์นี้เป็นการสวมรอยเฉยๆ ของพวกที่คลั่งในศาสนาเพื่อให้ได้มีการเรียนการสอนในโรงเรียน เพื่อตอบโต้คนที่ไม่เห็นด้วย จึงบ่อน ทาลายทฤษฎีวิวัฒนาการของดาร์วิน โดยพวกเขาเถียงว่าหลักฐานที่ใช้สนับสนุนทฤษฎีของดาร์วินไม่ มีข้อพิสูจน์ที่แน่นอนฉะนั้นทฤษฎีของดาร์วินจึงเป็นแค่ทฤษฎี และนักวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยการสร้าง โลกยังพยายามแสดงให้เห็นว่า การไม่เห็นด้วยกับทฤษฎีวิวัฒนาการเป็นสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรมในทาง วิทยาศาสตร์ โดยมุ่งไปที่ข้อขัดแย้งภายในกลุ่มนักทฤษฎีแนวดาร์วินด้วยกันเอง ข้อโต้แย้งของนักวิทยาศาสตร์ว่าด้วยการสร้างโลกไม่สมเหตุสมผลเหมือนกันหมด การโต้เถียง ระหว่างฝ่ายที่เชื่อเรื่องการสร้างโลกกับฝ่ายที่เชื่อทฤษฎีของดาร์วินก็ได้ตั้งคาถามสาคัญๆเกี่ยวกับ การศึกษาวิทยาศาสตร์ อาทิ ควรจะจัดการอย่างไรกับการขัดกันระหว่างวิทยาศาสตร์กับศรัทธาทาง ศาสนาในระบบการศึกษาของฆราวาส ใครควรเป็นผู้กาหนดเนื้อหาของวิชาวิทยาศาสตร์ในระดับ มัธยมศึกษา 3. วิทยาศาสตร์ปลอดคุณค่าหรือไม่ ทุกคนล้วนรู้กันทั้งนั้นว่าวิทยาศาสตร์เหมือนดาบสองคม วิทยาศาสตร์สามารถสร้างคุณค่าได้ และสามารถสร้างความเสื่อมเสียได้ แต่หากจะกล่าวให้ถูกนั้นวิทยาศาสตร์นั้นไม่ได้ผิดมาตั้งแต่ทุนเดิม แต่สิ่งที่ผิดคือการนาความรู้ไปใช้ ซึ่งหากใช้ไปในทางที่ถูกต้องก็จะเป็นการสร้างคุณค่าแต่ถ้าใช่ในทาง ที่ไม่ควรก็ไม่เป็นการสร้างคุณค่าและอาจสร้างความเสียหายได้เช่นการสร้างระเบิดปรมาณู นักชีววิทยาสังคมมนุษย์ เชื่อว่าลักษณะพฤติกรรมในมนุษย์จานวนมากสามารถอธิบายได้ด้วย ทฤษฎีการปรับตัว ตัวอย่างที่ชัดเจนคือ การเลี้ยงมีเพศสัมพันธ์ระหว่างญาติสนิท หรือบุคคลที่มีเชื้อ สายเลือดเดียวกัน ซึ่งนอกจากจะผิดจารีตประเพณีแล้ว นักชีววิทยาสังคมมนุษย์ได้กล่าวไว้ว่า เด็กที่ เกิดจากการร่วมประเวณีระหว่างญาติสนิททางสายเลือดมักจะมีข้อบกพร่องทางพันธุกรรม ซึ่งจาก แนวโน้มในอดีตผู้ที่มีสัมพันธ์กับญาติสนิทสายเลือดเดียวกัน ลูกหลานของเขาจะมีอายุไม่นานหรือเกิด มามีข้อบกพร่อง
  • 23. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 22 อย่างไรก็ตามชีววิทยาสังคมก็ยังได้รับการวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากจากผู้รู้ในวงกว้าง การ วิพากษ์วิจารณ์บางเรื่องเป็นวิทยาศาสตร์แท้ๆ ผู้วิจารณ์ชี้ว่าข้อสมมุติของนักชีววิทยาสังคมยากแก่ การทดสอบอย่างยิ่ง จึงควรมองข้อสมมติฐานเหล่านั้นในฐานที่เป็นการคาดเดาที่น่าสนใจไม่ใช่ความ จริงที่แน่นอนแล้ว แต่ดูเหมือนว่านักชีววิทยาสังคมกาลังพูดว่า เราจะโทษผู้ข่มขืนกระทาชาเราได้ อย่างไร ถ้าหน่วยพันธุกรรมของเขาคือต้นเหตุของพฤติกรรมที่พวกเขาได้กระทา ซึ่งจะพูดเป็นนัยๆ เกี่ยวกับเรื่องของการเด็กที่เกิดมามีสีผิว และการเหยียดสีผิวในสังคม สุดท้ายอุตสาหกิจทางวิทยาศาสตร์ซึ่งมีบทบาทสาคัญยิ่งในสังคมสมัยใหม่ ที่ถือเงินสาธารณะ ไว้เป็นจานวนมาก ก็เลี่ยงการโดนวิพากษ์วิจารณ์จากแหล่งต่างๆไม่ได้ ซึ่งนั้นเป็นสิ่งที่ดีเพราะการ ยอมรับทุกสิ่งทุกอย่างที่นักวิทยาศาสตร์พูดหรือทาโดยไม่วิพากษ์วิจารณ์เลยนั้น ไม่ปลอดภัยและเป็น การวางหลักเกณฑ์อย่างปราศจากเหตุผล วิทยาศาสตร์เป็นสิ่งที่ดีหรือไม่ เราจะไม่สามารถตอบคาถามนี้ได้ตรงๆแต่ปรัชญาจะช่วยแยก ประเด็นสาคัญๆ และสนับสนุนให้มีการอภิปรายเกี่ยวกับประเด็นเหล่านั้นตามหลักเหตุผลอย่างมี ดุลพินิจ เพราะวิทยาศาสตร์มีการพัฒนาไปเรื่อยๆ
  • 24. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 23 จากหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป เมื่อนาไปเชื่อมโยงกับหลักแนวคิดทาง จริยศาสตร์ก็คงจะเกี่ยวเนื่องกับทุกหัวข้อของแนวคิดทางจริยศาสตร์เลย โดยกลุ่มของพวกเราได้มี การเชื่อมโยงในหัวข้อต่างดังนี้ อภิจริยศาสตร์ 1. ธรรมชาตินิยม ซึ่งนักปรัชญาในกลุ่มนี้ได้ให้ความเห็นไว้ว่า ความดีมีจริงโดยอาศัย ธรรมชาติ ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับหนังสือเล่มนี้โดยในหนังสือเล่มนี้ได้มีการกล่าวถึง วิทยาศาสตร์ที่นาพาความสะดวกสบายและความสุขมาให้แก่มวลมนุษย์ ซึ่งถ้ามองโดย ธรรมชาตินิยมแล้วนั้น การที่มนุษย์มีความสุขนั้นถือว่าเป็นเรื่องดี ดังนั้นในแนวคิด ธรรมชาตินิยมนี้จึงมองว่า วิทยาศาสตร์นั้นดี แต่ไม่ได้มาจากธรรมชาติเพราะมนุษย์สร้าง ขึ้น 2. อธรรมชาตินิยม ซึ่งนักปรัชญาในกลุ่มนี้ได้ให้ความเห็นไว้ว่า การกระทาที่ดีไม่จาเป็นต้อง ให้สังคมมีความสุข การกระทาที่ดีไม่จาเป็นต้องเป็นสิ่งที่คนส่วนใหญ่พอใจ ความดีก็คือ ความดี ไม่เกี่ยวข้องกับอะไร ซึ่งเราก็ต้องยอมรับว่าวิทยาศาสตร์นั้นไม่ได้ส่งผลดีกับมวล มนุษย์เพียงอย่างเดียวแต่มันก็มีข้อเสียอยู่ ถ้ามองตามแนวคิดของอธรรมชาตินิยมแล้วนั้น วิทยาศาสตร์ก็ยังถือว่าเป็นเรื่องดีอยู่ เพราะความรู้ทางวิทยาศาสตร์ถึงแม้ว่ามันจะสร้างสิ่ง ไม่ดี แต่ในสิ่งที่ดีที่มนุษย์สร้างขึ้นก็ทาให้มนุษย์บางกลุ่มมีความสุข แต่เราก็ต้อง นิยามได้ โดยอาศัยตัวมันเอง ว่าความสุขที่ได้รับนั้นถูกจารีต ประเพณีทางสังคมหรือไม่ 3. อารมณ์นิยม ซึ่งนักปรัชญาในกลุ่มนี้ได้ให้ความเห็นไว้ว่า การพูดว่าดี ไม่ดี ถูกไม่ถูก ควรไม่ควร เป็นเรื่องของอารมณ์แต่ละคน ซึ่งชัดเจนมากในหนังสือเล่มนี้อันจะเห็น ตัวอย่างบางส่วนได้จากบทที่ 7 ของหนังสือเล่มนี้ที่ว่าด้วยเรื่อง วิทยาศาสตร์และการ วิพากษ์วิจารณ์วิทยาศาสตร์ ซึ่งถ้าเรามองกลุ่มคนตามการวิจารณ์ วิทยาศาสตร์กับศาสนา กลุ่มคนที่เชื่อในวิทยาศาสตร์ก็จะมองเห็นว่าวิทยาศาสตร์นั้นเป็นสิ่งที่ดี แต่กลุ่มคนที่เชื่อ ในพระเจ้าก็จะมองว่าวิทยาศาสตร์นั้นเป็นสิ่งที่ขัดต่อพระคัมภีร์และเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง จึง ความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับแนวคิดทางจริยศาสตร์
  • 25. สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป 24 ทาให้เกิดอารมณ์และความเชื่อที่ไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่าเป็นเรื่องจริงหรือไม่จริง และใช้ จานวนคนหมู่มาก ในการกดดันและบีบคั่นคนที่เชื่อในวิทยาศาสตร์ ส่งผลให้เกิดความ ขัดแย้งอย่างชัดเจน อุดมคติของชีวิต 1. สุขนิยม ซึ่งนักปรัชญาในกลุ่มนี้ได้ให้ความเห็นไว้ว่า สิ่งที่ดีในชีวิตคือ ความสุข สิ่งอื่น อาจพอจะถือว่ามีความดีก็เพราะสิ่งนั้นพาความสุขมาให้คนเท่านั้น 2. อสุขนิยม ซึ่งนักปรัชญาในกลุ่มนี้ได้ให้ความเห็นไว้ว่า ทัศนะที่ถือว่าความสุขไม่ใช่สิ่งที่ดี ที่สุดของชีวิต มีสิ่งอื่นที่มีค่ามากกว่าความสุข เช่น ความสงบของจิตและปัญญาความรู้ พวกอสุขนิยมแบ่งเป็น 2 พวก i. ปัญญานิยม ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกย่อมมีลักษณะเฉพาะของมัน หาก พูดถึงลักษณะเฉพาะของเนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ อาจจะกล่าวถึง เนื้อหาที่กล่าวถึง วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคมศาสตร์ ซึ่งจากเนื้อหาที่ ปรากฏในหนังสือนั้น ได้มีการวิพากษ์วิจารณ์ไว้ว่า ในวิชา วิทยาศาสตร์นั้นก็มีลักษณะที่เป็นตัวมันเองคือมีลาดับเหตุผล มี ขั้นตอนวิธีการในกระบวนการการทางานหรือการพิสูจน์ แต่ในวิชา สังคมศาสตร์นั้นก็มีลักษณะอีกแบบที่ไม่เหมือนกับวิทยาศาสตร์ เพราะในสังคมศาสตร์นั้นเป็นวิชาที่เข้าใจยาก เพราะเป็นวิชาที่ว่าด้วย เรื่องสังคม จึงมีกระบวนการที่แตกต่างจากวิชาวิทยาศาสตร์อย่าง ชัดเจน แต่ก็มีบางส่วนที่คล้ายกัน ii. วิมุตินิยม ความหลุดพ้นจากความต้องการเป็นสิ่งที่ดีที่สุด หมายถึง จิตที่หลุดพ้นจากความต้องการ จิตสะอาดปราศจากกิเลสทั้งหลาย ซึ่ง จากแนวคิดนี้ก็อาจจะมองว่าวิทยาศาสตร์ไม่ใช่สิ่งดีเพราะ วิทยาศาสตร์นั้นนอกจากจะสร้างความสุขให้กับมวลมนุษย์แล้วแต่ก็ เป็นสิ่งที่เพิ่มกิเลสให้กับมนุษย์เช่นกัน ถึงแม้เนื้อหาไม่ได้กล่าวไว้อย่าง ชัดเจน แต่เมื่อตีความออกมาแล้วก็มีเนื้อหาที่ว่าวิทยาศาสตร์เพิ่ม กิเลสให้กับมวลมนุษย์ที่รักความสบาย