SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 12
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ควายโบ้
สรุปสาระสาคัญของหนังสือเรื่อง พลังงานหมุนเวียน กับ เศรษฐกิจพอเพียง
บทสรุปนี้ประกอบด้วย 3 บทความวิชาการ และ 1 รายงานวิชาการค้นคว้าอิสระ ซึ่งแสดงให้เห็นถึง
การใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์กับการใช้พลังงานในชีวิตประจาวัน ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
เพื่อตนเอง เพื่อชุมชน และเพื่อประเทศชาติ ซึ่งทั้ง 3 บทความวิชาการและ 1 รายงานวิชาการค้นคว้าอิสระ
นี้ แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ชุ ม ช น ตั ว อ ย่ า ง ที่ ส า ม า ร ถ น า ไ ป ใ ช้ ไ ด้ จ ริ ง
ทางผู้ศึกษาขอนาเสนอการสรุปสาระสาคัญออกเป็น 5 ประเด็นของแต่ละบทความวิชาการ คือ 1.ใคร
2.ทาอะไร 3.ที่ไหน 4.อย่างไร 5.อภิปรายบทความ
บทความที่ 1 แนวทางการวางแผนพลังงานชุมชนอย่างยั่งยืนของประเทศไทย โดย วิสาขา ภู่จินดา
ผู้อานวยการสานักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ใคร : กระทรวงพลังงานได้ร่วมกับรัฐบาลประเทศเดนมาร์ก จัดทาโครงการ Regional Energy Planning
( โ ค ร ง ก า ร ว า ง แ ผ น พ ลั ง ง า น ชุ ม ช น )
โดยมีชุมชนในส่วนภูมิภาคร่วมมือกันอย่างเพิ่มขึ้นต่อเนื่องนับตั้งแต่เริ่มจัดตั้งโครงการ
ท า อ ะ ไ ร : เกิ ด ก า ร ใ ช้ ท รัพ ย า ก ร ภ า ย ใ น ชุ ม ช น ใ น ก า ร ผ ลิ ต พ ลั ง ง า น เช่ น
1.การนาเศษไม้เหลือใช้จากสวนผลไม้ในครัวเรือนเพื่อมาผลิตเป็นถ่านไม้สาหรับหุงต้มประกอบอาหาร
โดยใช้เตาเผาถ่าน 200 ลิตร 2.การใช้เตาหุงต้มประสิทธิภาพสูง หรือ “เตาซุปเปอร์อั้งโล่”
3 . ก า ร น า ข ย ะ อิ น ท รี ย์ ม า ห มั ก เ พื่ อ ผ ลิ ต เ ป็ น ก๊ า ซ ชี ว ภ า พ
เนื่องจากก๊าซชีวภาพเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ด้วยวิธีการทางชีววิทยาในสภาว
ะไร้อากาศ กระบวนการในการย่อยสารอินทรีย์เหล่านี้ทาให้เกิดเป็นก๊าซมีเทนประมาณร้อยละ 50-70
และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทนเหล่านี้สามารถนาไปใช้เป็นพลังงานทดแทนก๊าซหุงต้มหรือ LPG
ที่ไหน : โครงการพลังงานยั่งยืนในพื้นที่ 5 จังหวัดนาร่อง ได้แก่ นครราชสีมา สุรินทร์ อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด
และขอนแก่น และชุมชนต่างๆโดยเฉพาะภาคอีสาน
อย่างไร : ขั้นตอนในการดาเนินโครงการวางแผนพลังงานชุมชนนั้นมี 10 ขั้นตอน ได้แก่
ขั้นที่ 1 สร้างความเข้าใจร่วมกันกับชุมชน เพื่อให้ชุมชนเข้าใจและยอมรับโครงการวางแผนพลังงานชุมชน
รวมทั้งมีความเข้าใจเรื่องของพลังงานเบื้องต้นและเกิดความตระหนักที่จะแก้ไขปัญหาร่วมกัน
ขั้ น ที่ 2 ส ร้ า ง ที ม ค ณ ะ ท า ง า น พ ลั ง ง า น ชุ ม ช น
โ ด ย เป็ น ก า ร ส ร้ า ง ค ณ ะ ท า ง า น โ ค ร ง ก า ร ว า ง แ ผ น พ ลั ง ง า น ชุ ม ช น ใ น พื้ น ที่
ซึ่งจะมีทั้งตัวแทนขององค์กรปกครองส่วนตัวท้องถิ่น และอาสาสมัครพลังงานชุมชน(อสพน.)
ในการเป็นตัวแทนเพื่อผลักดันให้โครงการวางแผนพลังงานชุมชนประสบผลสาเร็จ
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ควายโบ้
ขั้นที่ 3 เก็บข้อมูลพลังงานในพื้นที่ โดยการสารวจข้อมูลด้านพลังงานในระดับชุมชน
ขั้ น ที่ 4 ป ร ะ ม ว ล ผ ล ข้ อ มู ล จั ด ท า ส ถ า น ก า ร ณ์ พ ลั ง ง า น
เพื่อนาผลจากสถานการณ์ดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ในการกาหนดแผนพลังงานชุมชน
ขั้ น ที่ 5 ส ะ ท้ อ น ข้ อ มู ล คื น สู่ ชุ ม ช น
เพื่อให้ชุมชนได้รับรู้และตรวจสอบข้อมูลด้านพลังงานของชุมชนเองว่ามีปริมาณ เท่าใด
แ ล ะ สู ญ เสี ย เงิน ไ ป กั บ ก า ร บ ริโภ ค พ ลั ง ง า น ป ร ะ เภ ท ต่ า ง ๆ เป็ น มู ล ค่ า เท่ า ใด
ซึ่ ง ขั้ น ต อ น นี้ เ ป็ น ขั้ น ต อ น ที่ มี ค ว า ม ส า คั ญ
เพราะเป็นขั้นตอนที่ทาให้คนในชุมชนได้คิดทบทวนถึงสาเหตุของการใช้พลังงานอย่างสิ้นเปลือง
แ ล ะก่ อ ให้ เกิ ด ค ว าม ต ระห นั ก ว่ า มีค่ าใช้ จ่ าย ท างด้ าน พ ลังงาน เป็ น จ าน ว น ม าก
ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะเป็นสิ่งกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักถึงวิธีการในการลดค่าใช้จ่ายทางด้านพลังงานได้เป็นอ
ย่างดี
ขั้ น ที่ 6 ศึ ก ษ า ดู ง า น เ ท ค โ น โ ล ยี พ ลั ง ง า น ที่ ยั่ ง ยื น
เพื่อสร้างแรงบันดาลใจในการเลือกใช้พลังงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ขั้นที่ 7 ประชุมระดมความคิดเห็นและจัดทาแผนพลังงานชุมชน
ขั้นที่ 8 รับฟังความคิดเห็นของแผนจากประชาชนในชุมชนเพื่อให้เกิดการยอมรับแผนพลังงานชุมชน
ขั้นที่ 9 ปฎิบัติตามแผนพลังงานชุมชน ซึ่งเป็นโครงการนาร่อง และทาให้เกิดวิทยากรด้านพลังงานในชุมชน
ขั้นที่ 10 สรุปบทเรียนการทางานร่วมกัน
โ ด ย ร ะ ย ะ เ ว ล า ก า ร ด า เ นิ น โ ค ร ง ก า ร ทั้ ง สิ้ น 4 ปี โ ด ย ปี ที่ 1
เป็ น ก ารส ร้างก ระบ วน ก ารเพื่ อ ให้ เกิด แผ น พ ลังงาน ชุ ม ช น (10 ขั้น ต อ น ) ใน ปี ที่ 2
เ ป็ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ด า เ นิ น โ ค ร ง ก า ร ว า ง แ ผ น พ ลั ง ง า น ชุ ม ช น
แ ล ะเป็ น จุ ด เริ่ม ต้ น ก า รว างราก ฐ า น เพื่ อ ส่ งเส ริม ก า รใช้ พ ลังงา น ใน ชุ ม ช น เช่ น
การสร้างเป็นกลุ่มอาชีพด้านพลังงาน การบรรจุในหลักสูตรการเรียนการสอนเป็นต้น สาหรับในปีที่ 3
เป็นการขยายรากฐานโดยการพัฒนาวิทยากรพลังงานชุมชนและพัฒนาเทคโนโลยีในการผลิตพลังงานชุมชน
ใ ห้ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ม า ก ยิ่ ง ขึ้ น ปี ที่ 4 คื อ
มีการดาเนินกิจกรรมการวางแผนพลังงานชุมชนโดยชุมชนดาเนินการเองทั้งหมด
อภิปรายบทความ : ชุมชนเกิดการใช้พลังงานอย่างประหยัด ตระหนักในการใช้พลังงาน
และชุมชนเกิดการเพื่อเพิ่มการใช้พลังงานทางเลือกและลดการพึ่งพาพลังงานจากภายนอก
ซึ่งเป็นไปตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยสนองต่อความต้องการที่แท้จริงของชุมชน
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ควายโบ้
โดยสภาพทางกายภาพควรพิจารณาถึงความเพียงพอและความเหมาะสมของวัตถุดิบและทรัพยากรที่มีในชุ
ม ช น ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม ข อ ง พื้ น ที่
นอกจากนี้ชุมชนยังสามารถมีรายได้จากการจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนทางด้านพลังงาน เช่น
วิสาหกิจชุมชนเตาเอนกประสงค์ประหยัดพลังงาน หรือวิสาหกิจชุมชนปั้นเตาหุงต้มประสิทธิภาพสูง
ไ ป จ น ถึ ง ก า ร จั ด ตั้ ง เ ป็ น ศู น ย์ เ รี ย น รู้ ด้ า น พ ลั ง ง า น ข อ ง ชุ ม ช น
แต่ยังมีปัญหาและอุปสรรคที่ส่งผลให้โครงการหยุดชงักได้แก่ 1. ปัจจัยนาเข้า ได้แก่ งบประมาณ บุคลากร
เทคโนโลยีพลังงานที่ส่งเสริม 2.กระบวนการ ได้แก่ การบริหารจัดการและการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ
ในการดาเนินกิจกรรมด้านพลังงาน 3) บริบท ได้แก่ นโยบาย สภาพของเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบัน
บ ท ค ว า ม ที่ 2
การถอดบทเรียนความสาเร็จของการจัดการพลังงานชุมชนดดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดย
วิสาขา ภู่จินดา ผู้อานวยการสานักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ใคร : ประชากรในชุมชนต้นแบบจานวน 6 ชุมชน ได้แก่1. ประชากร 67 ครัวเรือน ชุมชนแหลมรุ่งเรือง 2.
ประชากร 539 ครัวเรือน ชุมชนตาบลคอทราย 3. ประชากร 612 ครัวเรือน ชุมชนตาบลหนองน้าส้ม 4.
ประชากร 2,278 ครัวเรือน ชุมชนตาบลบ้านบึง 5. ประชากร 14,289 ครัวเรือน ชุมชนตาบลดอนแก้ว และ
6. ประชากร 200 ครัวเรือน กลุ่มสหกรณ์ออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านสบสอย
ที่ไหน : 1. ชุมชนแหลมรุ่งเรือง จ.ระยอง 2. ชุมชนตาบลคอทราย จ.สิงห์บุรี 3. ชุมชนตาบลหนองน้าส้ม
จ.พระนครศรีอยุธยา 4. ชุมชนตาบลบ้านบึง จ.ราชบุรี 5. ชุมชนตาบลดอนแก้ว จ.เชียงใหม่ 6.
กลุ่มสหกรณ์ออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านสบสอย จ.แม่ฮ่องสอน
ท าอ ะไร/อย่างไร : 1. ชุ ม ชน แห ล ม รุ่งเรือ ง จ.ระยอง ป ระก อบ อาชีพ ป ระม งชายฝั่ง
เลี้ยงปลาและปูดาในธรรมชาติ เนื่องจากว่าภูมิทัศน์เป็นหาดทรายและมีแหลมยื่นไปในทะเล
มีพื้นที่โล่งและป่าชายเลน แต่เดิมไม่มีไฟฟ้าและน้าประปาใช้ จึงได้รับสนับสนุนแผงโซล่าเซลล์ โดยมีกติกา
เมื่อสมาชิกในชุมชนต้องการใช้ไฟฟ้ าจะนาแบตเตอรี่มาชาร์ตไฟเสียค่าใช้จ่ายครั้งละ 10 บาท
โ ด ย ใ ห้ ผู้ ดู แ ล ร ะ บ บ 5 บ า ท แ ล ะ น า เ ข้ า ก อ ง ทุ น ข อ ง ชุ ม ช น 5 บ า ท
นอกจากนี้ยังมีเครื่องปั่นไฟที่มีเชื้อเพลิงเป็นน้ามันแต่เนื่องจากน้ามันแพงจึงเป็นอุปสรรคในการผลิตพลังงาน
ไฟ ฟ้ า แ ล ะยังมีก ารใช้ พ ลังงาน ค ว าม ร้อ น จ าก ก ารเผ าข ย ะ เพื่ อ ใช้ ใน ก ารหุ งต้ ม
อย่างไรก็ตามสมาชิกภายในชุมชนส่วนใหญ่ต้องการเทคโนโลยีการผลิตพลังงานจากกังหันลมมากกว่า
เ นื่ อ ง จ า ก กั ง หั น ล ม จ ะ ส า ม า ร ถ ผ ลิ ต พ ลั ง ง า น ไ ด้ ม า ก ใ น ชุ ม ช น
เพราะพื้นที่ชุมชนเป็นแหลมยื่นไปในทะเลมีลมพัดแรงเกือบตลอดเวลา
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ควายโบ้
2 . ชุ ม ช น ต า บ ล ค อ ท ร า ย จ .สิ ง ห์ บุ รี มี ก า ร ผ ลิ ต เต า เ ผ า ถ่ า น 2 0 0 ลิ ต ร
การปั้นเตาถ่านประสิทธิภาพสูงมาใช้ในชุมชน โรงอบพลังงานแสงแดด เครื่องกลั่นน้ามันหอมระเหย
ซึ่งเกิดผลสาเร็จในการจัดการพลังงานในชุมชน คือ มีความเพียงพอกับปริมาณพลังงานที่ชุมชนต้องการ
และคนในชุมชน เกิดการปรับเปลี่ยนพ ฤติกรรมการบริโภคพ ลังงาน ก๊าซหุงต้มลดลง
โดยการนาเตาหุงต้มประสิทธิภาพสูงไปใช้ในครัวเรือนจานวน 231 เตา มีการสร้างเตาเผาถ่านถัง 200 ลิตร
จานวน 85 เตา สามารถผลิตถ่านประสิทธิภาพสูงสาหรับใช้ในครัวเรือนได้ประมาณปีละ 81,600
กิโลกรัมต่อปี
3. ชุมชนตาบลหนองน้าส้ม จ.พระนครศรีอยุธยา ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมคือ
ท า น า แ ล ะ เลี้ ย ง สั ต ว์ บ า ง ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ลู ก จ้ า ง โร ง ง า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม
ภายในชุมชนมีต้นสะแกเป็นจานวนมากแต่ไม่ได้นามาใช้ประโยชน์ จึงได้สร้างเตาเผาถ่านขนาด 200 ลิตร
แ ล ะ น า ไ ม้ ส ะ แ ก ม า เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ ท า ใ ห้ ไ ด้ ถ่ า น ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ สู ง
และสามารถนามาใช้กับเตาเผาถ่านประสิทธิภาพสูงได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อสร้างรายได้แก่ครัวเรือน
มีการนาโซล่าเซลล์มาใช้ในการสูบน้ าประปาภายในชุมชนเพื่อลดค่าไฟฟ้ าในการสูบน้ า
มีก ารรณ รงค์ ให้ นั ก เรีย น ใช้ จัก รย าน ไป โรงเรีย น เพื่ อ ล ด ก ารใช้ น้ ามัน เชื้ อ เพ ลิง
มี ก า ร ผ ลิ ต ก๊ า ซ ชี ว ภ า พ จ า ก เศ ษ อ า ห า ร โ ด ย ร่ ว ม มื อ กั บ วั ด แ ล ะ โ ร ง เรี ย น
นาเศษ อาหารมาผลิตก๊าซชีวภาพ ใช้ในการหุงต้มอาหารให้สัตว์เลี้ยงที่มีจานวนมาก
มีการผลิตไบโอดีเซลโดยใช้น้ามันพืชใช้แล้ว ซึ่งรับซื้อจากโรงงานอุตสาหกรรมใกล้เคียง
ซึ่ ง ต้ น ทุ น ก า ร ผ ลิ ต ป ร ะ ม า ณ 1 8 บ า ท ข า ย ใ น ชุ ม ช น ลิ ต ร ล ะ 2 7 บ า ท
และมีโครงการสร้างเตาอบพลังงานแสงแดด เพื่อใช้ในการแปรรูปอาหารของกลุ่มแม่บ้านในชุมชน
4. ชุมชนตาบลบ้านบึง จ.ราชบุรี ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมทาไร่สับปะรด ไร่อ้อย ไร่มันสาปะหลัง
ทาสวนผักและผลไม้ เลี้ยงสัตว์ และรับจ้าง พบว่าโดยทั่วไปเป็นพื้นที่ราบสูงและที่ราบเชิงเขา
แ ผ น พ ลั ง ง า น ชุ ม ช น ไ ด้ มุ่ ง เ น้ น ก า ร เ ผ ย แ พ ร่ ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์
และการจัดกิจกรรมกระตุ้นให้เกิดจิตสานึกและความตระหนัก เช่น การจัดกิจกรรมให้รู้ค่าของพลังงาน
ก า ร ป ร ะ ก ว ด บ้ า น อ นุ รั ก ษ์ พ ลั ง ง า น ดี เ ด่ น
และการสนับสนุนเทคโนโลยีด้านพลังงานที่เหมาะสมการผลิตก๊าซชีวภาพโดยใช้มูลสัตว์การผลิตเตาเผาถ่าน
ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ สู ง ก า ร ผ ลิ ต พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า โ ด ย ใ ช้ แ ผ ง โ ซ ล่ า เ ซ ล ล์
การนากังหันน้าภูมิปัญญาชาวบ้านมาใช้เป็นพลังงานทดแทนผลสาเร็จของการจัดการพลังงานชุมชน คือ
ท า ใ ห้ ล ด ก า ร ใ ช้ พ ลั ง ง า น ฟุ่ ม เ ฟื อ ย
ล ด ปัญ ห าสิ่งแ ว ด ล้อ ม เพ ราะมีก ารน าวัส ดุ ที่ ส ร้างปัญ ห าให้ ชุ ม ช น ม าใช้ ป ระโย ช น์
การเพิ่มรายได้และลดรายจ่าย
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ควายโบ้
5. ชุมชนตาบลดอนแก้ว จ.เชียงใหม่ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเลี้ยงสัตว์และทาสวนผลไม้
ได้มีการจัดท าโครงการก๊ าซ ชีวภ าพ ชุมชน เนื่ องจาก มีฟ าร์มสุกรแห่ งห นึ่ งใน ต าบ ล
สมาชิกในชุมชนเองที่มีความต้องการใช้ก๊าซชีวภาพได้ช่วยกันรวบรวมเงิน เพื่อเดินท่อก๊าซชีวภาพสู่ชุมชน
ทาให้ชุมชนได้ใช้ก๊าซชีวภาพ ฟ รีในการหุงต้ม เกิดการประหยัดพ ลังงานในครัวเรือน
ชุมชนสามารถพึ่งตนเองด้านพลังงาน ยังสามารถลดปัญหามลพิษได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แ ล ะยังล ด ปัญ ห าค ว าม ขัด แ ย้ ง ฟ าร์ม สุ ก รส าม ารถ อ ยู่ ใน ชุ ม ช น ได้ อ ย่ างสัน ติ สุ ข
โครงการผลิตก๊าซชีวภาพฟาร์มหมูมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เช่น การสร้างบ่อหมักเพิ่ม
ก า ร น า ภู มิ ปั ญ ญ า ช า ว บ้ า น ม า ใ ช้
โดยการนาท่อเหล็กมาเจาะรูเพื่อนามาทาเป็นหัวเตาพราะหัวเตาทั่วไปที่ใช้กับก๊าซชีวภาพจะอุดตันง่าย
ผลสาเร็จของการจัดการพลังงานชุมชนนี้สามารถลดค่าใช้จ่ายของครัวเรือนในการซื้อก๊าซหุงต้มได้ประมาณ
5,000 บาทต่อปี
6. กลุ่มสหกรณ์ออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านสบสอย จ.แม่ฮ่องสอน ส่วนใหญ่มีอาชีพผลิตงา
โดยเป็ นงาพันธุ์พื้นเมืองซึ่งขึ้นง่าย แล้วขายให้กับกลุ่มสหกรณ์ ออมทรัพย์เพื่อการผลิต
ในกระบวนการผลิตน้ามันงา โดยใช้พลังงานน้าในรูปของกังหันน้าและครกไม้ โดยในพื้นที่
มี แ ม่ น้ าไ ห ล ผ่ า น จึงน า แ รงดั น น้ าม าใช้ ป ระโย ช น์ ไม่ เกิ ด ม ล พิ ษ ต่ อ สิ่ งแ ว ด ล้ อ ม
เพราะเป็นพลังงานที่สะอาดลดการซื้อพลังงานภายนอก โดยครกหมุนด้วยพลังน้าเป็นวงกลม
สากจะคอยบดงาทาให้น้ามันงาค่อยๆ ไหลซึมออกมา ในการสกัดน้ามันงาต้องใช้งาสด 12 กิโลกรัม
สกัดเป็นน้ามันงาได้3 - 4 กิโลกรัม ส่วนกากงาที่เหลือจะนาไปเป็นอาหารสัตว์ เลี้ยงปลา เลี้ยงหมู
อ ภิ ป ร า ย บ ท ค ว า ม : - ค ว า ม ส า เ ร็ จ ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร พ ลั ง ง า น ชุ ม ช น
ในชุมชนแหลมรุ่งเรืองนั้นขึ้นอยู่กับความเข้มแข็งของผู้นา ความร่วมมือร่วมใจของสมาชิกในชุมชน
ในการเรียนรู้และนาพลังงานทดแทนมาใช้
- ค ว า ม ส า เ ร็ จ ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร พ ลั ง ง า น ชุ ม ช น ต า บ ล ค อ ท ร า ย
ขึ้นอยู่กับการได้ดาเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในรูปแบบของสภากาแฟและเสียง
ต า ม ส า ย ท า ใ ห้ มี ก า ร ป ร ะ ชุ ม ร่ ว ม กั น ร่ ว ม คิ ด แ ล ะ ร่ ว ม ตั ด สิ น ใ จ
การนาประชาชนในชุมชนไปศึกษาดูงานภายนอกชุมชนทาให้ประชาชนในชุมชนเห็นความสาคัญขอ
งการจัดทาแผนพลังงานชุมชน และมีความตระหนักว่าปัญหาด้านพลังงานเป็นเรื่องใกล้ตัว
- ความสาเร็จของการจัดการพลังงานชุมชนหนองน้าส้มนั้น ขึ้นกับการมีผู้นาเป็นตัวอย่าง
และสามารถถ่ายทอดให้ประชาชนในชุมชนรับทราบถึงผลประโยชน์ที่จะได้รับ
การทาประชาคมชุมชนแผนพลังงานชุมชน การประชุมอย่างสม่าเสมอเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ควายโบ้
การพิจารณาทรัพยากรและวัตถุดิบในท้องถิ่น เพื่อนามาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด การได้รับความรู้
อุปกรณ์ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมจากหน่วยงานภาครัฐ
- ค ว า ม ส า เ ร็ จ ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร พ ลั ง ง า น ชุ ม ช น ต า บ ล บ้ า น บึ ง
ขึ้ น กั บ ก า ร ส ร้ า ง ก ร ะ บ ว น ก า ร เ รี ย น รู้ ใ ห้ กั บ ป ร ะ ช า ช น ใ น ชุ ม ช น
ก า ร มี ผู้ น า ที่ จ ะ พั ฒ น า แ ผ น พ ลั ง ง า น ชุ ม ช น แ ล ะ จัด ก า ร พ ลั ง ง า น ชุ ม ช น
ต้นแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสมและผู้เชี่ยวชาญ การจัดหางบประมาณ ให้คาปรึกษา
และติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง
- ค ว า ม ส า เร็ จ ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร พ ลั ง ง า น ชุ ม ช น ด อ น แ ก้ ว นั้ น ขึ้ น อ ยู่ กั บ
การมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนในการช่วยกันแก้ไขปัญหาและร่วมกันตัดสินใจ
- ค ว า ม ส า เ ร็ จ ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร พ ลั ง ง า น ชุ ม ช น บ้ า น ส บ ส อ ย คื อ
การรวมกลุ่มกันในรูปของสหกรณ์ออมทรัพย์สมาชิกมีการนาเงินมาเข้าสหกรณ์ในรูปของหุ้นและรับเ
งินปันผลและกาไร ตามจานวนหุ้นที่มี
จ า ก ทั้ ง 6
ชุมชนนี้ได้นาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชุมชนซึ่งเป็นหลักสาคัญในการใช้พลังงานในชีวิตประจา
วันโดยสามารถสรุปได้ดังนี้
ห ลักความพ อป ระมาณ โดยการใช้พ ลังงานอย่างไม่ฟุ่ มเฟื อย ใช้พ ลังงาน อย่างรู้ค่ า
รู้ จั ก เ ลื อ ก ซื้ อ แ ล ะ เ ลื อ ก ใ ช้ เ ท่ า ที่ จ า เ ป็ น
ซึ่งสามารถลดการใช้พลังงานลงได้และลดรายจ่ายทางด้านพลังงานการผลิตพลังงานใช้เองตามกาลังทรัพยา
กรที่มีและสามารถบริหารจัดการพลังงานเองได้ที่เหลือสามารถขายให้ภายนอกได้
ห ลั ก ค ว า ม มี เ ห ตุ มี ผ ล
การตัดสินใจผลิตและเลือกใช้พลังงานอย่างพอประมาณจะต้องใช้หลักความมีเหตุมีผลมาพิจารณา
การเลือกใช้พลังงานให้เหมาะสมกับสภาวการณ์และสภาพแวดล้อมโดยควรเลือกพลังงานที่ชุมชนมีอยู่และส
า ม า ร ถ จั ด ห า ไ ด้ ง่ า ย เป็ น ล า ดั บ แ ร ก ก่ อ น เลื อ ก ใ ช้ พ ลั ง ง า น ที่ ต้ อ ง น า เข้ า
แ ล ะ ใช้ ท รัพ ย า ก ร ห รือ วั ต ถุ ดิ บ ให้ เกิ ด ป ร ะ โย ช น์ สู ง สุ ด ใน ก า ร ผ ลิ ต พ ลั ง ง า น
โดยลดการนาเข้าจากวัตถุดิบภายนอกหรือพึ่งพาพลังงานภายนอก
ห ลั ก ก า ร ส ร้ า ง ร ะ บ บ ภู มิ คุ้ ม กั น
การจัดการและพัฒนาพลังงานทดแทนจากฐานทรัพยากรหรือเศษวัสดุเหลือใช้ที่มีอยู่ในชุมชน
ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ผ ลิ ต พ ลั ง ง า น โ ด ย ใ ช้ ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น
การหาแหล่งพลังงานสารองไว้และสร้างความหลากหลายของแหล่งพลังงานในชุมชน
ไม่พึ่งพลังงานเพียงพลังงานเดียวเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันและความมั่นคงด้านพลังงาน
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ควายโบ้
เ งื่ อ น ไ ข ค ว า ม รู้ แ ล ะ คุ ณ ธ ร ร ม
การนาภูมิปัญญาชาวบ้านและท้องถิ่นมาใช้การพึ่งแรงงานคนในท้องถิ่นและให้โอกาสกับชุมชนในการสร้างง
าน แ ท น ก ารน าเข้ าเท ค โน โล ยีจ าก ภ าย น อ ก เป็ น ก ารช่ ว ย เห ลือ สังค ม ท างห นึ่ ง
การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนยังช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะมลพิษทางอากาศ
นอกจากนี้ จะเห็นว่าทั้ง 6 ชุมชนที่มีผลต่อการจัดการพ ลังงานชุมชนที่สาคัญ ที่สุด คือ
ก ารมีท รัพ ย าก รแ ล ะวัต ถุ ดิ บ ใน ท้ อ งถิ่ น ท าให้ ล ด ก ารน าเข้ าท รัพ ย าก รภ าย น อ ก
เป็นการพึ่งตนเองและใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุดและการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนเพื่อผลักดันการ
จัดการพลังงานชุมชนให้ยั่งยืน
บทความที่ 3 การประยุกต์หลักปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการพลังงานในชุมชน โดย
วิสาขา ภู่จินดา ผู้อานวยการสานักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ใคร : ประชากรในประเทศไทยทุกระดับตั้งแต่ระดับครัวเรือน ระดับชุมชน และระดับประเทศ
และตัวอย่างชุมชน 1. วัดพยัคฆาราม จังหวัดสุพรรณบุรี 2. ชุมชนนาท่ามเหนือ จังหวัดตรัง 3.
ชุมชนบ้านสามขา อาเภอแม่ทะ จังหวัดลาปาง 4. อบต. โพธิ์กระสังข์จังหวัดศรีษะเกษ
ท า อ ะ ไ ร : มี ก า ร ก า ห น ด ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ก า ร พั ฒ น า พ ลั ง ง า น ท ด แ ท น
เป้ า ห ม า ย ที่ ก ร ะ ท ร ว ง พ ลั ง ง า น ก า ห น ด ใ น ก า ร พั ฒ น า พ ลั ง ง า น ท ด แ ท น คื อ
“เพิ่มสัดส่วนพลังงานทดแทนจากเดิมในปี 2545 ที่มีสัดส่วนอยู่ที่ร้อยละ 0.5 ของพลังงานเชิงพาณิชย์
คิดเป็น 265 พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ เป็นร้อยละ 8 ของพลังงานเชิงพาณิชย์หรือคิดเป็น 6,540
พั น ตั น เ ที ย บ เ ท่ า น้ า มั น ดิ บ ภ า ย ใ น ปี 2 5 5 4 ” แ ล ะ ใ น ปี 2 5 5 1
กระทรวงพลังงานตั้งเป้าที่จะเพิ่มการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนทั้งสิ้น 3,273 กิโลวัตต์
ประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการพลังงานได้เป็น 2 ระดับ ดังนี้
- ในระดับชุมชนสามารถทาได้โดย
1. ก ารใช้ ท รัพ ย าก รธ รรม ช าติ ที่ มีอ ยู่ ใน แ ห ล่ งชุ ม ช น ให้ เกิ ด ป ระโย ช น์ สู งสุ ด เช่ น
การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนที่มีในท้องถิ่น เช่น พลังงานน้า พลังงานความร้อนใต้พิภพ
และการนาวัสดุเหลือใช้และขยะมาคัดแยกและนามาใช้ประโยชน์ต่างๆ ในการผลิตพลังงาน เช่น
เชื้อเพลิงเขียวโรงไฟฟ้าชุมชนพลังงานจากแกลบ
2.
การพึ่งแรงงานจากชุมชนเป็นหลักแทนการนาเข้าเทคโนโลยีรวมทั้งการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้
เช่น การผลิตไบโอดีเซลระดับชุมชน การสกัดน้ามันสบู่ดาโดยวิธีการบีบ
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ควายโบ้
3. ก ารส ร้างค ว าม มั่น ค งด้ าน ก ารจัด ห าพ ลังงาน โด ย ก ารพึ่ งพ ลังงาน จ าก ห ล าย ๆ
แหล่งภายในชุมชนที่มีศักยภาพโดยอาศัยเงื่อนไขความรู้
4. ก า ร ใ ห้ ชุ ม ช น บ ริ ห า ร จั ด ก า ร พ ลั ง ง า น เ อ ง
โดยมีการรวมกลุ่มและร่วมมือกันในการจัดหาแหล่งพลังงานเพิ่มขึ้น การวางแผนและการติดตามประเมินผล
- ระดับประเทศสามารถทาได้โดย
1. การมีนโยบายและมาตรการสนับสนุนให้หน่วยชุมชนพึ่งพาตนเองด้านการจัดการพลังงาน
2 . ก า ร ส นั บ ส นุ น บุ ค ล า ก ร ง บ ป ร ะ ม า ณ
และวัสดุอุปกรณ์ที่เหมาะสมกับชุมชนในระยะแรกและให้ความรู้กับชุมชนเพื่อให้ชุมชนพึ่งตนเองต่อไปได้อย่า
งต่อเนื่อง
3 . ก า ร ล ด ก า ร น า เ ข้ า พ ลั ง ง า น
โดยการหาแหล่งพลังงานในประเทศและสนับสนุนการใช้พลังงานที่สามารถผลิตในประเทศให้เพิ่มขึ้น
4. การสนับสนุ นภ าคเอกชนในการผลิตไฟ ฟ้ าใช้เองและขายให้ภ าครัฐโดยวิธีต่างๆ
เช่นสนับสนุนด้านราคาและด้านภาษี สนับสนุนด้านเทคโนโลยีและด้านบุคลากร
5. การใช้ทรัพ ยากรในประเทศให้เกิดประโยชน์ สูงสุด เช่น พ ลังงานน้ า พ ลังงานลม
พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานขยะ
ที่ไหน : ทุกชุมชนสามารถน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการจัดการพลังงานในชุมชนได้
อย่างไร : ตัวอย่างการนาพลังงานทดแทนมาใช้ประโยชน์ 1. การนาแก๊สโซฮอล์มาใช้แทนน้ามันเบนซิน
ภาครัฐได้มีการสนับสนุนการใช้เชื้อเพลิงแอลกอฮอล์มากขึ้นเพื่อลดการพึ่งพาการนาเข้าน้ามันจากต่างประเ
ทศให้มากขึ้น โดยสนับสนุนการใช้แก๊สโซฮอล์ E20 (เบนซิน 80% และเอทานอล 20%)
2. โรงงานอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพหรือวัตถุดิบ เช่น กากน้าตาล อ้อยที่เหลือจากการผลิตน้าตาล
มั น ส า ป ะ ห ลั ง ส า ม า ร ถ ผ ลิ ต เ อ ท า น อ ล
เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงภายในโรงงานได้และสามารถนาไปขายภายนอกโรงงาน
3. การใช้ไบโอดีเซลผสมกับน้ามันดีเซล โดยที่ไบโอดีเซลเป็นเชื้อเพลิงที่ผลิตจากพืชน้ามัน เช่น ปาล์มน้ามัน
ส บู่ ด า น้ า มั น พื ช ใ ช้ แ ล้ ว
ทาการส่งเสริมและสนับสนุนใช้พืชน้ามันซึ่งเป็นผลิตผลทางการเกษตรที่สามารถผลิตได้เองในประเทศเป็นเชื้
อ เ พ ลิ ง ท ด แ ท น ตั ว อ ย่ า ง เ ช่ น วั ด พ ยั ค ฆ า ร า ม จั ง ห วั ด สุ พ ร ร ณ บุ รี
แหล่งเรียนรู้และสาธิตการผลิตไบโอดีเซลระดับชุมชนแห่งแรกของประเทศโดยผลิตจากสบู่ดาและน้ามันพืชใ
ช้
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ควายโบ้
4. ชุมชนนาวัสดุเหลือใช้ เช่น เศษไม้ แกลบ กะลาปาล์ม วัชพืช มาทาเป็นถ่านอัดแท่งเชื้อเพลิง
แ ล้ ว น า ม า ใ ช้ เป็ น เชื้ อ เพ ลิ ง ภ า ย ใ น ชุ ม ช น เป็ น ก า ร พึ่ ง ต น เอ ง อ ย่ า ง ชั ด เจ น
ซึ่งสามารถช่วยลดรายจ่ายที่ต้องนาไปซื้อเชื้อเพลิง และยังสามารถผลิตเพื่อขายภายในชุมชนได้
ตัวอย่างเช่น ชุมชนนาท่ามเหนือ จังหวัดตรัง มีการหุงต้มโดยเปลื่ยนใช้เตาแก๊สมาใช้เตาซุปเปอร์อั้งโล่
สาหรับถ่านที่นามาเป็นเชื้อเพลิงก็เผาเองโดยเตาเผาถ่านประสิทธิภาพสูง
5. ใช้พลังงานชีวมวล เป็นพลังงานที่ได้จากพืชและสัตว์ เช่น ไม้ฟืน แกลบ กากอ้อย กากปาล์ม
ซังข้าวโพดและกาบมะพร้าว ในการผลิตกระแสไฟฟ้า
6. การผลิตกระแสไฟฟ้าจากขยะ โดยการนาไปเผา หรือ ผลิตก๊าซชีวภาพ
7.การใช้ประโยชน์จากก๊าซชีวภาพ ก๊าซชีวภาพสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ตั้งแต่ ครัวเรือน ชุมชน
ฟาร์มปศุสัตว์จนถึงภาคอุตสาหกรรม ตัวอย่างเช่น มชนบ้านสามขา อาเภอแม่ทะ จังหวัดลาปาง
สร้างบ่อหมักก๊าซชีวภาพ จากมูลสุกร มูลไก่ มูลวัว เพื่อนาก๊าซชีวภาพมาใช้ทดแทนก๊าซหุงต้ม (LPG)
8 . ก า ร ผ ลิ ต ไ ฟ ฟ้ า จ า ก พ ลั ง ง า น ห มุ น เ วี ย น
ท า ง ภ าค รัฐ มี น โย บ าย ส นั บ ส นุ น ก ารผ ลิ ต ไฟ ฟ้ า ใช้ เอ ง จ าก พ ลั ง ง า น ห มุ น เวีย น
โ ด ย เ น้ น ม า ต ร ก า ร จู ง ใ จ ด้ า น ร า ค า เ พื่ อ ใ ห้ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
และชุมชนหันมาผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานหมุนเวียนซึ่งสามารถขายให้ภาครัฐได้ในราคาที่สูง
โดยภาครัฐจะมีแรงจูงใจด้านภาษีและด้านราคา โดยการกาหนดอัตรารับซื้อไฟฟ้าส่วนเพิ่มพิเศษหรือ Adder
หากมีการใช้พลังงานหมุนเวียนในการผลิตไฟฟ้า
อภิปรายบทความ : การประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการพลังงาน
สามารถท าได้กับทุ กระดับชั้นไม่ว่าจะเป็ น ระดับ บุคค ล ระดับ ชุมชน ระดับป ระเท ศ
ซึ่งทั้งหมดนี้แสดงให้เห็นถึงการร่วมมือร่วมใจกันของคนทุกระดับชั้นเพื่อพัฒนาการใช้พลังงานทดแทนในชีวิ
ตประจาวัน ซึ่งทั้งหมดนี้เกิดจากการน้อมนาหลักการเศรษฐกิจพอเพียงโดยมี 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ได้แก่
หลักความพอประมาณ หลักความมีเหตุมีผล หลักการสร้างระบบภูมิคุ้มกัน และ ความรู้และคุณธรรม
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ควายโบ้
รายงานวิชาการค้นคว้าอิสระ การพัฒนาอย่างยั่งยืนตามกระบวนทัศน์เศรษฐกิจพอเพียง โดย
นางสาวนวพร เทพสุท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อม)
ร า ย ง า น วิ ช า ก า ร ค้ น ค ว้ า อิ ส ร ะ
นี้เรียบเรียงหลักการและเหตุผลที่ทาให้เชื่อว่าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถทาให้เกิดการพัฒนาทาง
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
อธิบายกระบวนทัศน์เศรษฐกิจพอเพียงที่นาไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนและเปรียบเทียบการพัฒนาตามกระบวนทัศน์เ
ศรษฐกิจพอเพียง กับการพัฒนาตามกระบวนทัศน์เศรษฐศาสตร์กระแสหลัก
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ
ตั้ ง แ ต่ ร ะ ดั บ ค ร อ บ ค รั ว ร ะ ดั บ ชุ ม ช น จ น ถึ ง ร ะ ดั บ รั ฐ
ทั้ ง ใ น ก า ร พั ฒ น า บ ริ ห า ร ป ร ะ เ ท ศ ใ ห้ ด า เ นิ น ไ ป ใ น ท า ง ส า ย ก ล า ง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวหน้าต่อยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ
อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ
ความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผน และการดาเนินการทุกขั้นตอน
ขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่รัฐ นักทฤษฎี
และนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม
ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน มีความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุล
และพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม
และวัฒธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี โดยได้อธิบายหลักการสาคัญของเศรษฐกิจพอเพียงมีอยู่ 3
ประการ ได้แก่
1. ความพอประมาณ (Sufficiency) เป็นแนวคิดเรื่องทางสายกลางในพุทธศาสนากล่าวคือ
เป็นทางที่ไม่สุดโต่ง และไม่ข้องแวะกับสิ่งที่เป็นกิเลส เน้นปัญญาเป็นฐานที่สาคัญ
และความพอประมาณ ออกมาในรูปแบบของเศรษฐกิจก็ได้ ก็คือว่าไม่ฟุ้ งเฟ้อจนเกินไป
แต่มันก็ไม่ถึงขนาดจะต้องกระเหม็ดกระแหม่ อดหอมรอมริบจนชีวิตไม่มีความสุข
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ควายโบ้
2. ความมีเหตุผล (Reasonable) ความไม่โลภจนเกินไป ความซื่อสัตย์สุจริตความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
ทาให้สังคมมีความสุข ซึ่งแตกต่างจากความหมายทางเศรษฐศาสตร์ทั่วไป ที่แปล ความมีเหตุผลว่า
ค ก า ร ที่ ทุ ก ค น พ ย า ย า ม ก ร ะ ท า เพื่ อ แ ส ว ง ห า ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ ส่ ว น ต น
ซึ่งทาให้เกิดปัญหาว่าสังคมจะอยู่ได้อย่างไร เพราะถ้าสังคมอยู่ไม่ได้ แต่ละคนก็จะอยู่ไม่ได้ด้วย
3. การมีภูมิคุ้มกัน (Immunity)ความพอประมาณ ความมีเหตุผล ถึงที่สุดแล้วสิ่งที่สาคัญก็คือ
ก า ร ส ร้ า ง ภู มิ คุ้ ม กั น โ ด ย มี จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ใ ห้ ป ร ะ เ ท ศ อ ยู่ ไ ด้
เพื่อที่จะอยู่ได้ในสถานการณ์ที่มีความเปลี่ยนแปลงทั้งภายใน และภายนอก ที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน
การมีภูมิคุ้มกันนจึงเป็นการสร้างความมั่นคง
แ ล ะ จ ะ ต้ อ ง ตั้ง อ ยู่ ภ า ย ใต้ ส อ ง เงื่ อ น ไ ข ค ว า ม รู้ นั่น คื อ ค ว า ม รู้จ ริง รู้ร อ บ รู้ลึ ก
ซึ่ ง เ ป็ น ค ว า ม ห ม า ย เ ดี ย ว กั บ ค ว า ม มี ปั ญ ญ า ใ น พุ ท ธ ธ ร ร ม
ที่จะเข้าใจทุกสิ่งทุกอย่างตามความเป็นจริงส่วนเงื่อนไขที่สอง คือ เรื่องคุณธรรม ความหมายที่แท้จริงก็คือ
ความยั้งคิด คือทาแต่สิ่งที่ดี หรือมีกุศลจิต ซึ่งก็คือ การมีสติ
- ก ารพั ฒ น าบ น พื้ น ฐาน ข อ งเศ รษ ฐศ าส ต ร์ก ระแส ห ลัก นั้น มีเป้ าห ม ายที่ จะมุ่ งเน้ น
และให้ความสาคัญอยู่กับการเพิ่มขึ้นของตัวเลข หรือดัชนีชี้วัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นหลัก
เน้นการวัดผลทางด้านการ
เจ ริญ เติ บ โต ท างเศ รษ ฐกิจ ก ารเพิ่ ม ผ ล ผ ลิต แ ล ะค ว าม ก้ าว ห น้ าท างเท ค โน โล ยี
ผ่ า น ตั ว เ ล ข ผ ล ผ ลิ ต ม ว ล ร ว ม ใ น ป ร ะ เ ท ศ ( Gross Domestic Products-GDP)
โดยคานึงถึงปัจจัยการขยายตัวที่จากัด ละเลยประเด็นในเรื่องของทุนทางสังคม และทุนทางสิ่งแวดล้อม
เ นื่ อ ง จ า ก ไ ม่ ส า ม า ร ถ วั ด อ อ ก ม า เ ป็ น เ ชิ ง ป ริ ม า ณ ไ ด้
ซึ่ ง แ ต ก ต่ า ง จ า ก ก า ร พั ฒ น า ต า ม ก ร ะ บ ว น ทั ศ น์ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง
จะมีเป้าหมายอยู่ที่การสร้างความสมดุลของระบบ อันจะนาไปสู่ความมั่นคง และความยั่งยืนของระบบต่างๆ
ที่สัมพันธ์กัน โดยมองความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ ภายใต้บริบททางสังคมอย่างบูรณาการ
ซึ่ ง ก า ร พั ฒ น า ทั้ ง ห ม ด ต้ อ ง อ ยู่ ภ า ย ใ ต้ ก ร อ บ ข อ ง จ ริ ย ธ ร ร ม
ไม่เน้นหรือให้ความความสัมพันธ์ในด้านใดด้านหนึ่งมากเกินไปเพื่อให้เกิความสามารถในการพัฒนาของทุก
ๆ ร ะ บ บ ไ ป พ ร้ อ ม กั น เ น้ น บ ท บ า ท ข อ ง ภ า ค รั ฐ แ ล ะ ภ า ค ป ร ะ ช า ช น
ซึ่ ง จ ะ เ น้ น ก า ร พั ฒ น า โ ด ย ก า ร ส ร้ า ง พื้ น ฐ า น ใ ห้ มั่ น ค ง
โ ด ย มุ่ ง เ น้ น ไ ป ที่ ก า ร ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ ก า ร พั ฒ น า ตั้ ง แ ต่ ร ะ ดั บ บุ ค ค ล
การกระจายทรัพยากรตามกระบวนทัศน์เศรษฐกิจพอเพียงนั้น ตั้งอยู่บนฐานของความสมดุล พอประมาณ
และไม่ประมาท อีกทั้งยังมีศีลธรรม และจริยธรรมกากับ จึงทาให้การพัฒ นาที่เกิดขึ้น
อ ยู่ บ น ฐ า น ข อ ง ค ว า ม เ อื้ อ อ า ท ร
แล ะค านึ งถึงผ ล ก ระท บ ที่ อ าจเกิด ขึ้น จาก ก ารด าเนิ น กิจก รรม ข อ งต น เอ งต่ อ ผู้ อื่ น
สร้างแนวทางการพัฒ นาที่ให้ความสาคัญ กับการสร้างรากฐานที่มั่นคงทางเศรษ ฐกิจ
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ควายโบ้
ก็ ท า ใ ห้ แ น ว โ น้ ม ที่ เป็ น ไ ป ใ น แ น ว ท า ง เดี ย ว กั บ แ น ว คิ ด ข อ ง Thomas et al.
ที่ ม อ ง ว่ า คุ ณ ภ า พ ข อ ง ก า ร เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ( Quality of Growth) นั้ น
ต้องเป็นการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่มีลักษณะ และดาเนินไปพร้อมกับสิ่งต่างๆ เหล่านี้ ได้แก่
ก า ร เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ที่ ส ม่ า เ ส ม อ ( Steady Growth)
มิใช่เป็นการเจริญเติบโตที่สูงแต่เกิดขึ้นชั่วครั้งชั่วคราว การเจริญเติบโตนี้ต้องช่วยให้เกิดความกินดีอยู่ดี
(Well-being) ของประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ ต้องเป็นการเจริญเติบโตที่ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม
แ ล ะ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ พ ร้ อ ม ทั้ ง มุ่ ง รั ก ษ า สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ใ ห้ ยั่ ง ยื น
นอกจากนี้ยังต้องมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจที่ดี สามารถรับมือกับปัจจัยเสี่ยงจากโลกภายนอก (Global
Risk) ที่เข้ามากระทบได้
การพัฒนาตามกระบวนทัศน์เศรษฐกิจพอเพียง พบว่า สามารถทาให้เกิดการพัฒนาได้ในทุกๆ มิติ
ไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม และการเมืองจึงควรส่งเสริมและเผยแพร่
เพื่อเป็นการขยายมุมมองในการพัฒนา
ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมากขึ้นกว่ามุมมองในการปฏิบัติทางด้านเกษตรกรรม
หรือแนวทางการดาเนินชีวิตในเบื้องต้น
หรือการพัฒนาในระดับบุคคลเท่านั้นควรมีการศึกษาลงในรายละเอียดการพัฒนาในแต่ละมิติ
ในแง่มุมที่หลากหลายมากขึ้นกว่ามุมมองทางเศรษฐศาสตร์ เนื่องจากการพัฒนาที่ยั่งยืน
จาเป็นต้องพิจารณาความจริงบนพื้นฐานในหลากหลายแง่มุม
เพื่อให้เกิดการบูรณาการความรู้จากหลายสาขาและเกิดความเป็นไปได้และเกิดการยอมรับ
ในการสร้างแนวทางการพัฒนาตามกระบวนทัศน์เศรษฐกิจพอเพียง
นอกจากนี้ยังควรมีการศึกษาเปรียบเทียบกระบวนทัศน์เศรษฐกิจพอเพียง และเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก
ในระดับของทฤษฏีเพื่อให้สามารถวิเคราะห์ วิพากษ์แนวความคิดทั้งสอง ได้ในระดับที่เข้าใจได้ง่าย
และเห็นภาพที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ

เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตjeabjeabloei
 
Newsletter 08
Newsletter 08Newsletter 08
Newsletter 08nnnstda
 
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่มโครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่มSudarat Sangsuriya
 
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_Rattanathon Phetthom
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green Weerachat Martluplao
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตmook_suju411
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลjeabjeabloei
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองbenya_28030
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองbenya2013
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานtongkesmanee
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒mahaoath พระมหาโอ๊ท
 

Ähnlich wie กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ (20)

เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
002
002002
002
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
Newsletter 08
Newsletter 08Newsletter 08
Newsletter 08
 
ดร.เจษฎา ชาตรี
ดร.เจษฎา  ชาตรีดร.เจษฎา  ชาตรี
ดร.เจษฎา ชาตรี
 
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่มโครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
 
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชล
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
Thailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_tsThailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_ts
 
JFEs
JFEsJFEs
JFEs
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Is pre
Is preIs pre
Is pre
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
 

Mehr von freelance

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management freelance
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionfreelance
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsfreelance
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classfreelance
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education gamefreelance
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentfreelance
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsfreelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster educationfreelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentfreelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazardfreelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardfreelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survivalfreelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsfreelance
 

Mehr von freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 

กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ

  • 1. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ควายโบ้ สรุปสาระสาคัญของหนังสือเรื่อง พลังงานหมุนเวียน กับ เศรษฐกิจพอเพียง บทสรุปนี้ประกอบด้วย 3 บทความวิชาการ และ 1 รายงานวิชาการค้นคว้าอิสระ ซึ่งแสดงให้เห็นถึง การใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์กับการใช้พลังงานในชีวิตประจาวัน ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อตนเอง เพื่อชุมชน และเพื่อประเทศชาติ ซึ่งทั้ง 3 บทความวิชาการและ 1 รายงานวิชาการค้นคว้าอิสระ นี้ แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ชุ ม ช น ตั ว อ ย่ า ง ที่ ส า ม า ร ถ น า ไ ป ใ ช้ ไ ด้ จ ริ ง ทางผู้ศึกษาขอนาเสนอการสรุปสาระสาคัญออกเป็น 5 ประเด็นของแต่ละบทความวิชาการ คือ 1.ใคร 2.ทาอะไร 3.ที่ไหน 4.อย่างไร 5.อภิปรายบทความ บทความที่ 1 แนวทางการวางแผนพลังงานชุมชนอย่างยั่งยืนของประเทศไทย โดย วิสาขา ภู่จินดา ผู้อานวยการสานักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ใคร : กระทรวงพลังงานได้ร่วมกับรัฐบาลประเทศเดนมาร์ก จัดทาโครงการ Regional Energy Planning ( โ ค ร ง ก า ร ว า ง แ ผ น พ ลั ง ง า น ชุ ม ช น ) โดยมีชุมชนในส่วนภูมิภาคร่วมมือกันอย่างเพิ่มขึ้นต่อเนื่องนับตั้งแต่เริ่มจัดตั้งโครงการ ท า อ ะ ไ ร : เกิ ด ก า ร ใ ช้ ท รัพ ย า ก ร ภ า ย ใ น ชุ ม ช น ใ น ก า ร ผ ลิ ต พ ลั ง ง า น เช่ น 1.การนาเศษไม้เหลือใช้จากสวนผลไม้ในครัวเรือนเพื่อมาผลิตเป็นถ่านไม้สาหรับหุงต้มประกอบอาหาร โดยใช้เตาเผาถ่าน 200 ลิตร 2.การใช้เตาหุงต้มประสิทธิภาพสูง หรือ “เตาซุปเปอร์อั้งโล่” 3 . ก า ร น า ข ย ะ อิ น ท รี ย์ ม า ห มั ก เ พื่ อ ผ ลิ ต เ ป็ น ก๊ า ซ ชี ว ภ า พ เนื่องจากก๊าซชีวภาพเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ด้วยวิธีการทางชีววิทยาในสภาว ะไร้อากาศ กระบวนการในการย่อยสารอินทรีย์เหล่านี้ทาให้เกิดเป็นก๊าซมีเทนประมาณร้อยละ 50-70 และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทนเหล่านี้สามารถนาไปใช้เป็นพลังงานทดแทนก๊าซหุงต้มหรือ LPG ที่ไหน : โครงการพลังงานยั่งยืนในพื้นที่ 5 จังหวัดนาร่อง ได้แก่ นครราชสีมา สุรินทร์ อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด และขอนแก่น และชุมชนต่างๆโดยเฉพาะภาคอีสาน อย่างไร : ขั้นตอนในการดาเนินโครงการวางแผนพลังงานชุมชนนั้นมี 10 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นที่ 1 สร้างความเข้าใจร่วมกันกับชุมชน เพื่อให้ชุมชนเข้าใจและยอมรับโครงการวางแผนพลังงานชุมชน รวมทั้งมีความเข้าใจเรื่องของพลังงานเบื้องต้นและเกิดความตระหนักที่จะแก้ไขปัญหาร่วมกัน ขั้ น ที่ 2 ส ร้ า ง ที ม ค ณ ะ ท า ง า น พ ลั ง ง า น ชุ ม ช น โ ด ย เป็ น ก า ร ส ร้ า ง ค ณ ะ ท า ง า น โ ค ร ง ก า ร ว า ง แ ผ น พ ลั ง ง า น ชุ ม ช น ใ น พื้ น ที่ ซึ่งจะมีทั้งตัวแทนขององค์กรปกครองส่วนตัวท้องถิ่น และอาสาสมัครพลังงานชุมชน(อสพน.) ในการเป็นตัวแทนเพื่อผลักดันให้โครงการวางแผนพลังงานชุมชนประสบผลสาเร็จ
  • 2. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ควายโบ้ ขั้นที่ 3 เก็บข้อมูลพลังงานในพื้นที่ โดยการสารวจข้อมูลด้านพลังงานในระดับชุมชน ขั้ น ที่ 4 ป ร ะ ม ว ล ผ ล ข้ อ มู ล จั ด ท า ส ถ า น ก า ร ณ์ พ ลั ง ง า น เพื่อนาผลจากสถานการณ์ดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ในการกาหนดแผนพลังงานชุมชน ขั้ น ที่ 5 ส ะ ท้ อ น ข้ อ มู ล คื น สู่ ชุ ม ช น เพื่อให้ชุมชนได้รับรู้และตรวจสอบข้อมูลด้านพลังงานของชุมชนเองว่ามีปริมาณ เท่าใด แ ล ะ สู ญ เสี ย เงิน ไ ป กั บ ก า ร บ ริโภ ค พ ลั ง ง า น ป ร ะ เภ ท ต่ า ง ๆ เป็ น มู ล ค่ า เท่ า ใด ซึ่ ง ขั้ น ต อ น นี้ เ ป็ น ขั้ น ต อ น ที่ มี ค ว า ม ส า คั ญ เพราะเป็นขั้นตอนที่ทาให้คนในชุมชนได้คิดทบทวนถึงสาเหตุของการใช้พลังงานอย่างสิ้นเปลือง แ ล ะก่ อ ให้ เกิ ด ค ว าม ต ระห นั ก ว่ า มีค่ าใช้ จ่ าย ท างด้ าน พ ลังงาน เป็ น จ าน ว น ม าก ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะเป็นสิ่งกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักถึงวิธีการในการลดค่าใช้จ่ายทางด้านพลังงานได้เป็นอ ย่างดี ขั้ น ที่ 6 ศึ ก ษ า ดู ง า น เ ท ค โ น โ ล ยี พ ลั ง ง า น ที่ ยั่ ง ยื น เพื่อสร้างแรงบันดาลใจในการเลือกใช้พลังงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ขั้นที่ 7 ประชุมระดมความคิดเห็นและจัดทาแผนพลังงานชุมชน ขั้นที่ 8 รับฟังความคิดเห็นของแผนจากประชาชนในชุมชนเพื่อให้เกิดการยอมรับแผนพลังงานชุมชน ขั้นที่ 9 ปฎิบัติตามแผนพลังงานชุมชน ซึ่งเป็นโครงการนาร่อง และทาให้เกิดวิทยากรด้านพลังงานในชุมชน ขั้นที่ 10 สรุปบทเรียนการทางานร่วมกัน โ ด ย ร ะ ย ะ เ ว ล า ก า ร ด า เ นิ น โ ค ร ง ก า ร ทั้ ง สิ้ น 4 ปี โ ด ย ปี ที่ 1 เป็ น ก ารส ร้างก ระบ วน ก ารเพื่ อ ให้ เกิด แผ น พ ลังงาน ชุ ม ช น (10 ขั้น ต อ น ) ใน ปี ที่ 2 เ ป็ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ด า เ นิ น โ ค ร ง ก า ร ว า ง แ ผ น พ ลั ง ง า น ชุ ม ช น แ ล ะเป็ น จุ ด เริ่ม ต้ น ก า รว างราก ฐ า น เพื่ อ ส่ งเส ริม ก า รใช้ พ ลังงา น ใน ชุ ม ช น เช่ น การสร้างเป็นกลุ่มอาชีพด้านพลังงาน การบรรจุในหลักสูตรการเรียนการสอนเป็นต้น สาหรับในปีที่ 3 เป็นการขยายรากฐานโดยการพัฒนาวิทยากรพลังงานชุมชนและพัฒนาเทคโนโลยีในการผลิตพลังงานชุมชน ใ ห้ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ม า ก ยิ่ ง ขึ้ น ปี ที่ 4 คื อ มีการดาเนินกิจกรรมการวางแผนพลังงานชุมชนโดยชุมชนดาเนินการเองทั้งหมด อภิปรายบทความ : ชุมชนเกิดการใช้พลังงานอย่างประหยัด ตระหนักในการใช้พลังงาน และชุมชนเกิดการเพื่อเพิ่มการใช้พลังงานทางเลือกและลดการพึ่งพาพลังงานจากภายนอก ซึ่งเป็นไปตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยสนองต่อความต้องการที่แท้จริงของชุมชน
  • 3. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ควายโบ้ โดยสภาพทางกายภาพควรพิจารณาถึงความเพียงพอและความเหมาะสมของวัตถุดิบและทรัพยากรที่มีในชุ ม ช น ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม ข อ ง พื้ น ที่ นอกจากนี้ชุมชนยังสามารถมีรายได้จากการจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนทางด้านพลังงาน เช่น วิสาหกิจชุมชนเตาเอนกประสงค์ประหยัดพลังงาน หรือวิสาหกิจชุมชนปั้นเตาหุงต้มประสิทธิภาพสูง ไ ป จ น ถึ ง ก า ร จั ด ตั้ ง เ ป็ น ศู น ย์ เ รี ย น รู้ ด้ า น พ ลั ง ง า น ข อ ง ชุ ม ช น แต่ยังมีปัญหาและอุปสรรคที่ส่งผลให้โครงการหยุดชงักได้แก่ 1. ปัจจัยนาเข้า ได้แก่ งบประมาณ บุคลากร เทคโนโลยีพลังงานที่ส่งเสริม 2.กระบวนการ ได้แก่ การบริหารจัดการและการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ในการดาเนินกิจกรรมด้านพลังงาน 3) บริบท ได้แก่ นโยบาย สภาพของเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบัน บ ท ค ว า ม ที่ 2 การถอดบทเรียนความสาเร็จของการจัดการพลังงานชุมชนดดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดย วิสาขา ภู่จินดา ผู้อานวยการสานักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ใคร : ประชากรในชุมชนต้นแบบจานวน 6 ชุมชน ได้แก่1. ประชากร 67 ครัวเรือน ชุมชนแหลมรุ่งเรือง 2. ประชากร 539 ครัวเรือน ชุมชนตาบลคอทราย 3. ประชากร 612 ครัวเรือน ชุมชนตาบลหนองน้าส้ม 4. ประชากร 2,278 ครัวเรือน ชุมชนตาบลบ้านบึง 5. ประชากร 14,289 ครัวเรือน ชุมชนตาบลดอนแก้ว และ 6. ประชากร 200 ครัวเรือน กลุ่มสหกรณ์ออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านสบสอย ที่ไหน : 1. ชุมชนแหลมรุ่งเรือง จ.ระยอง 2. ชุมชนตาบลคอทราย จ.สิงห์บุรี 3. ชุมชนตาบลหนองน้าส้ม จ.พระนครศรีอยุธยา 4. ชุมชนตาบลบ้านบึง จ.ราชบุรี 5. ชุมชนตาบลดอนแก้ว จ.เชียงใหม่ 6. กลุ่มสหกรณ์ออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านสบสอย จ.แม่ฮ่องสอน ท าอ ะไร/อย่างไร : 1. ชุ ม ชน แห ล ม รุ่งเรือ ง จ.ระยอง ป ระก อบ อาชีพ ป ระม งชายฝั่ง เลี้ยงปลาและปูดาในธรรมชาติ เนื่องจากว่าภูมิทัศน์เป็นหาดทรายและมีแหลมยื่นไปในทะเล มีพื้นที่โล่งและป่าชายเลน แต่เดิมไม่มีไฟฟ้าและน้าประปาใช้ จึงได้รับสนับสนุนแผงโซล่าเซลล์ โดยมีกติกา เมื่อสมาชิกในชุมชนต้องการใช้ไฟฟ้ าจะนาแบตเตอรี่มาชาร์ตไฟเสียค่าใช้จ่ายครั้งละ 10 บาท โ ด ย ใ ห้ ผู้ ดู แ ล ร ะ บ บ 5 บ า ท แ ล ะ น า เ ข้ า ก อ ง ทุ น ข อ ง ชุ ม ช น 5 บ า ท นอกจากนี้ยังมีเครื่องปั่นไฟที่มีเชื้อเพลิงเป็นน้ามันแต่เนื่องจากน้ามันแพงจึงเป็นอุปสรรคในการผลิตพลังงาน ไฟ ฟ้ า แ ล ะยังมีก ารใช้ พ ลังงาน ค ว าม ร้อ น จ าก ก ารเผ าข ย ะ เพื่ อ ใช้ ใน ก ารหุ งต้ ม อย่างไรก็ตามสมาชิกภายในชุมชนส่วนใหญ่ต้องการเทคโนโลยีการผลิตพลังงานจากกังหันลมมากกว่า เ นื่ อ ง จ า ก กั ง หั น ล ม จ ะ ส า ม า ร ถ ผ ลิ ต พ ลั ง ง า น ไ ด้ ม า ก ใ น ชุ ม ช น เพราะพื้นที่ชุมชนเป็นแหลมยื่นไปในทะเลมีลมพัดแรงเกือบตลอดเวลา
  • 4. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ควายโบ้ 2 . ชุ ม ช น ต า บ ล ค อ ท ร า ย จ .สิ ง ห์ บุ รี มี ก า ร ผ ลิ ต เต า เ ผ า ถ่ า น 2 0 0 ลิ ต ร การปั้นเตาถ่านประสิทธิภาพสูงมาใช้ในชุมชน โรงอบพลังงานแสงแดด เครื่องกลั่นน้ามันหอมระเหย ซึ่งเกิดผลสาเร็จในการจัดการพลังงานในชุมชน คือ มีความเพียงพอกับปริมาณพลังงานที่ชุมชนต้องการ และคนในชุมชน เกิดการปรับเปลี่ยนพ ฤติกรรมการบริโภคพ ลังงาน ก๊าซหุงต้มลดลง โดยการนาเตาหุงต้มประสิทธิภาพสูงไปใช้ในครัวเรือนจานวน 231 เตา มีการสร้างเตาเผาถ่านถัง 200 ลิตร จานวน 85 เตา สามารถผลิตถ่านประสิทธิภาพสูงสาหรับใช้ในครัวเรือนได้ประมาณปีละ 81,600 กิโลกรัมต่อปี 3. ชุมชนตาบลหนองน้าส้ม จ.พระนครศรีอยุธยา ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมคือ ท า น า แ ล ะ เลี้ ย ง สั ต ว์ บ า ง ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ลู ก จ้ า ง โร ง ง า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ภายในชุมชนมีต้นสะแกเป็นจานวนมากแต่ไม่ได้นามาใช้ประโยชน์ จึงได้สร้างเตาเผาถ่านขนาด 200 ลิตร แ ล ะ น า ไ ม้ ส ะ แ ก ม า เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ ท า ใ ห้ ไ ด้ ถ่ า น ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ สู ง และสามารถนามาใช้กับเตาเผาถ่านประสิทธิภาพสูงได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อสร้างรายได้แก่ครัวเรือน มีการนาโซล่าเซลล์มาใช้ในการสูบน้ าประปาภายในชุมชนเพื่อลดค่าไฟฟ้ าในการสูบน้ า มีก ารรณ รงค์ ให้ นั ก เรีย น ใช้ จัก รย าน ไป โรงเรีย น เพื่ อ ล ด ก ารใช้ น้ ามัน เชื้ อ เพ ลิง มี ก า ร ผ ลิ ต ก๊ า ซ ชี ว ภ า พ จ า ก เศ ษ อ า ห า ร โ ด ย ร่ ว ม มื อ กั บ วั ด แ ล ะ โ ร ง เรี ย น นาเศษ อาหารมาผลิตก๊าซชีวภาพ ใช้ในการหุงต้มอาหารให้สัตว์เลี้ยงที่มีจานวนมาก มีการผลิตไบโอดีเซลโดยใช้น้ามันพืชใช้แล้ว ซึ่งรับซื้อจากโรงงานอุตสาหกรรมใกล้เคียง ซึ่ ง ต้ น ทุ น ก า ร ผ ลิ ต ป ร ะ ม า ณ 1 8 บ า ท ข า ย ใ น ชุ ม ช น ลิ ต ร ล ะ 2 7 บ า ท และมีโครงการสร้างเตาอบพลังงานแสงแดด เพื่อใช้ในการแปรรูปอาหารของกลุ่มแม่บ้านในชุมชน 4. ชุมชนตาบลบ้านบึง จ.ราชบุรี ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมทาไร่สับปะรด ไร่อ้อย ไร่มันสาปะหลัง ทาสวนผักและผลไม้ เลี้ยงสัตว์ และรับจ้าง พบว่าโดยทั่วไปเป็นพื้นที่ราบสูงและที่ราบเชิงเขา แ ผ น พ ลั ง ง า น ชุ ม ช น ไ ด้ มุ่ ง เ น้ น ก า ร เ ผ ย แ พ ร่ ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ และการจัดกิจกรรมกระตุ้นให้เกิดจิตสานึกและความตระหนัก เช่น การจัดกิจกรรมให้รู้ค่าของพลังงาน ก า ร ป ร ะ ก ว ด บ้ า น อ นุ รั ก ษ์ พ ลั ง ง า น ดี เ ด่ น และการสนับสนุนเทคโนโลยีด้านพลังงานที่เหมาะสมการผลิตก๊าซชีวภาพโดยใช้มูลสัตว์การผลิตเตาเผาถ่าน ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ สู ง ก า ร ผ ลิ ต พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า โ ด ย ใ ช้ แ ผ ง โ ซ ล่ า เ ซ ล ล์ การนากังหันน้าภูมิปัญญาชาวบ้านมาใช้เป็นพลังงานทดแทนผลสาเร็จของการจัดการพลังงานชุมชน คือ ท า ใ ห้ ล ด ก า ร ใ ช้ พ ลั ง ง า น ฟุ่ ม เ ฟื อ ย ล ด ปัญ ห าสิ่งแ ว ด ล้อ ม เพ ราะมีก ารน าวัส ดุ ที่ ส ร้างปัญ ห าให้ ชุ ม ช น ม าใช้ ป ระโย ช น์ การเพิ่มรายได้และลดรายจ่าย
  • 5. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ควายโบ้ 5. ชุมชนตาบลดอนแก้ว จ.เชียงใหม่ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเลี้ยงสัตว์และทาสวนผลไม้ ได้มีการจัดท าโครงการก๊ าซ ชีวภ าพ ชุมชน เนื่ องจาก มีฟ าร์มสุกรแห่ งห นึ่ งใน ต าบ ล สมาชิกในชุมชนเองที่มีความต้องการใช้ก๊าซชีวภาพได้ช่วยกันรวบรวมเงิน เพื่อเดินท่อก๊าซชีวภาพสู่ชุมชน ทาให้ชุมชนได้ใช้ก๊าซชีวภาพ ฟ รีในการหุงต้ม เกิดการประหยัดพ ลังงานในครัวเรือน ชุมชนสามารถพึ่งตนเองด้านพลังงาน ยังสามารถลดปัญหามลพิษได้อย่างมีประสิทธิภาพ แ ล ะยังล ด ปัญ ห าค ว าม ขัด แ ย้ ง ฟ าร์ม สุ ก รส าม ารถ อ ยู่ ใน ชุ ม ช น ได้ อ ย่ างสัน ติ สุ ข โครงการผลิตก๊าซชีวภาพฟาร์มหมูมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เช่น การสร้างบ่อหมักเพิ่ม ก า ร น า ภู มิ ปั ญ ญ า ช า ว บ้ า น ม า ใ ช้ โดยการนาท่อเหล็กมาเจาะรูเพื่อนามาทาเป็นหัวเตาพราะหัวเตาทั่วไปที่ใช้กับก๊าซชีวภาพจะอุดตันง่าย ผลสาเร็จของการจัดการพลังงานชุมชนนี้สามารถลดค่าใช้จ่ายของครัวเรือนในการซื้อก๊าซหุงต้มได้ประมาณ 5,000 บาทต่อปี 6. กลุ่มสหกรณ์ออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านสบสอย จ.แม่ฮ่องสอน ส่วนใหญ่มีอาชีพผลิตงา โดยเป็ นงาพันธุ์พื้นเมืองซึ่งขึ้นง่าย แล้วขายให้กับกลุ่มสหกรณ์ ออมทรัพย์เพื่อการผลิต ในกระบวนการผลิตน้ามันงา โดยใช้พลังงานน้าในรูปของกังหันน้าและครกไม้ โดยในพื้นที่ มี แ ม่ น้ าไ ห ล ผ่ า น จึงน า แ รงดั น น้ าม าใช้ ป ระโย ช น์ ไม่ เกิ ด ม ล พิ ษ ต่ อ สิ่ งแ ว ด ล้ อ ม เพราะเป็นพลังงานที่สะอาดลดการซื้อพลังงานภายนอก โดยครกหมุนด้วยพลังน้าเป็นวงกลม สากจะคอยบดงาทาให้น้ามันงาค่อยๆ ไหลซึมออกมา ในการสกัดน้ามันงาต้องใช้งาสด 12 กิโลกรัม สกัดเป็นน้ามันงาได้3 - 4 กิโลกรัม ส่วนกากงาที่เหลือจะนาไปเป็นอาหารสัตว์ เลี้ยงปลา เลี้ยงหมู อ ภิ ป ร า ย บ ท ค ว า ม : - ค ว า ม ส า เ ร็ จ ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร พ ลั ง ง า น ชุ ม ช น ในชุมชนแหลมรุ่งเรืองนั้นขึ้นอยู่กับความเข้มแข็งของผู้นา ความร่วมมือร่วมใจของสมาชิกในชุมชน ในการเรียนรู้และนาพลังงานทดแทนมาใช้ - ค ว า ม ส า เ ร็ จ ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร พ ลั ง ง า น ชุ ม ช น ต า บ ล ค อ ท ร า ย ขึ้นอยู่กับการได้ดาเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในรูปแบบของสภากาแฟและเสียง ต า ม ส า ย ท า ใ ห้ มี ก า ร ป ร ะ ชุ ม ร่ ว ม กั น ร่ ว ม คิ ด แ ล ะ ร่ ว ม ตั ด สิ น ใ จ การนาประชาชนในชุมชนไปศึกษาดูงานภายนอกชุมชนทาให้ประชาชนในชุมชนเห็นความสาคัญขอ งการจัดทาแผนพลังงานชุมชน และมีความตระหนักว่าปัญหาด้านพลังงานเป็นเรื่องใกล้ตัว - ความสาเร็จของการจัดการพลังงานชุมชนหนองน้าส้มนั้น ขึ้นกับการมีผู้นาเป็นตัวอย่าง และสามารถถ่ายทอดให้ประชาชนในชุมชนรับทราบถึงผลประโยชน์ที่จะได้รับ การทาประชาคมชุมชนแผนพลังงานชุมชน การประชุมอย่างสม่าเสมอเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  • 6. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ควายโบ้ การพิจารณาทรัพยากรและวัตถุดิบในท้องถิ่น เพื่อนามาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด การได้รับความรู้ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมจากหน่วยงานภาครัฐ - ค ว า ม ส า เ ร็ จ ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร พ ลั ง ง า น ชุ ม ช น ต า บ ล บ้ า น บึ ง ขึ้ น กั บ ก า ร ส ร้ า ง ก ร ะ บ ว น ก า ร เ รี ย น รู้ ใ ห้ กั บ ป ร ะ ช า ช น ใ น ชุ ม ช น ก า ร มี ผู้ น า ที่ จ ะ พั ฒ น า แ ผ น พ ลั ง ง า น ชุ ม ช น แ ล ะ จัด ก า ร พ ลั ง ง า น ชุ ม ช น ต้นแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสมและผู้เชี่ยวชาญ การจัดหางบประมาณ ให้คาปรึกษา และติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง - ค ว า ม ส า เร็ จ ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร พ ลั ง ง า น ชุ ม ช น ด อ น แ ก้ ว นั้ น ขึ้ น อ ยู่ กั บ การมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนในการช่วยกันแก้ไขปัญหาและร่วมกันตัดสินใจ - ค ว า ม ส า เ ร็ จ ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร พ ลั ง ง า น ชุ ม ช น บ้ า น ส บ ส อ ย คื อ การรวมกลุ่มกันในรูปของสหกรณ์ออมทรัพย์สมาชิกมีการนาเงินมาเข้าสหกรณ์ในรูปของหุ้นและรับเ งินปันผลและกาไร ตามจานวนหุ้นที่มี จ า ก ทั้ ง 6 ชุมชนนี้ได้นาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชุมชนซึ่งเป็นหลักสาคัญในการใช้พลังงานในชีวิตประจา วันโดยสามารถสรุปได้ดังนี้ ห ลักความพ อป ระมาณ โดยการใช้พ ลังงานอย่างไม่ฟุ่ มเฟื อย ใช้พ ลังงาน อย่างรู้ค่ า รู้ จั ก เ ลื อ ก ซื้ อ แ ล ะ เ ลื อ ก ใ ช้ เ ท่ า ที่ จ า เ ป็ น ซึ่งสามารถลดการใช้พลังงานลงได้และลดรายจ่ายทางด้านพลังงานการผลิตพลังงานใช้เองตามกาลังทรัพยา กรที่มีและสามารถบริหารจัดการพลังงานเองได้ที่เหลือสามารถขายให้ภายนอกได้ ห ลั ก ค ว า ม มี เ ห ตุ มี ผ ล การตัดสินใจผลิตและเลือกใช้พลังงานอย่างพอประมาณจะต้องใช้หลักความมีเหตุมีผลมาพิจารณา การเลือกใช้พลังงานให้เหมาะสมกับสภาวการณ์และสภาพแวดล้อมโดยควรเลือกพลังงานที่ชุมชนมีอยู่และส า ม า ร ถ จั ด ห า ไ ด้ ง่ า ย เป็ น ล า ดั บ แ ร ก ก่ อ น เลื อ ก ใ ช้ พ ลั ง ง า น ที่ ต้ อ ง น า เข้ า แ ล ะ ใช้ ท รัพ ย า ก ร ห รือ วั ต ถุ ดิ บ ให้ เกิ ด ป ร ะ โย ช น์ สู ง สุ ด ใน ก า ร ผ ลิ ต พ ลั ง ง า น โดยลดการนาเข้าจากวัตถุดิบภายนอกหรือพึ่งพาพลังงานภายนอก ห ลั ก ก า ร ส ร้ า ง ร ะ บ บ ภู มิ คุ้ ม กั น การจัดการและพัฒนาพลังงานทดแทนจากฐานทรัพยากรหรือเศษวัสดุเหลือใช้ที่มีอยู่ในชุมชน ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ผ ลิ ต พ ลั ง ง า น โ ด ย ใ ช้ ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น การหาแหล่งพลังงานสารองไว้และสร้างความหลากหลายของแหล่งพลังงานในชุมชน ไม่พึ่งพลังงานเพียงพลังงานเดียวเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันและความมั่นคงด้านพลังงาน
  • 7. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ควายโบ้ เ งื่ อ น ไ ข ค ว า ม รู้ แ ล ะ คุ ณ ธ ร ร ม การนาภูมิปัญญาชาวบ้านและท้องถิ่นมาใช้การพึ่งแรงงานคนในท้องถิ่นและให้โอกาสกับชุมชนในการสร้างง าน แ ท น ก ารน าเข้ าเท ค โน โล ยีจ าก ภ าย น อ ก เป็ น ก ารช่ ว ย เห ลือ สังค ม ท างห นึ่ ง การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนยังช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะมลพิษทางอากาศ นอกจากนี้ จะเห็นว่าทั้ง 6 ชุมชนที่มีผลต่อการจัดการพ ลังงานชุมชนที่สาคัญ ที่สุด คือ ก ารมีท รัพ ย าก รแ ล ะวัต ถุ ดิ บ ใน ท้ อ งถิ่ น ท าให้ ล ด ก ารน าเข้ าท รัพ ย าก รภ าย น อ ก เป็นการพึ่งตนเองและใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุดและการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนเพื่อผลักดันการ จัดการพลังงานชุมชนให้ยั่งยืน บทความที่ 3 การประยุกต์หลักปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการพลังงานในชุมชน โดย วิสาขา ภู่จินดา ผู้อานวยการสานักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ใคร : ประชากรในประเทศไทยทุกระดับตั้งแต่ระดับครัวเรือน ระดับชุมชน และระดับประเทศ และตัวอย่างชุมชน 1. วัดพยัคฆาราม จังหวัดสุพรรณบุรี 2. ชุมชนนาท่ามเหนือ จังหวัดตรัง 3. ชุมชนบ้านสามขา อาเภอแม่ทะ จังหวัดลาปาง 4. อบต. โพธิ์กระสังข์จังหวัดศรีษะเกษ ท า อ ะ ไ ร : มี ก า ร ก า ห น ด ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ก า ร พั ฒ น า พ ลั ง ง า น ท ด แ ท น เป้ า ห ม า ย ที่ ก ร ะ ท ร ว ง พ ลั ง ง า น ก า ห น ด ใ น ก า ร พั ฒ น า พ ลั ง ง า น ท ด แ ท น คื อ “เพิ่มสัดส่วนพลังงานทดแทนจากเดิมในปี 2545 ที่มีสัดส่วนอยู่ที่ร้อยละ 0.5 ของพลังงานเชิงพาณิชย์ คิดเป็น 265 พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ เป็นร้อยละ 8 ของพลังงานเชิงพาณิชย์หรือคิดเป็น 6,540 พั น ตั น เ ที ย บ เ ท่ า น้ า มั น ดิ บ ภ า ย ใ น ปี 2 5 5 4 ” แ ล ะ ใ น ปี 2 5 5 1 กระทรวงพลังงานตั้งเป้าที่จะเพิ่มการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนทั้งสิ้น 3,273 กิโลวัตต์ ประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการพลังงานได้เป็น 2 ระดับ ดังนี้ - ในระดับชุมชนสามารถทาได้โดย 1. ก ารใช้ ท รัพ ย าก รธ รรม ช าติ ที่ มีอ ยู่ ใน แ ห ล่ งชุ ม ช น ให้ เกิ ด ป ระโย ช น์ สู งสุ ด เช่ น การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนที่มีในท้องถิ่น เช่น พลังงานน้า พลังงานความร้อนใต้พิภพ และการนาวัสดุเหลือใช้และขยะมาคัดแยกและนามาใช้ประโยชน์ต่างๆ ในการผลิตพลังงาน เช่น เชื้อเพลิงเขียวโรงไฟฟ้าชุมชนพลังงานจากแกลบ 2. การพึ่งแรงงานจากชุมชนเป็นหลักแทนการนาเข้าเทคโนโลยีรวมทั้งการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ เช่น การผลิตไบโอดีเซลระดับชุมชน การสกัดน้ามันสบู่ดาโดยวิธีการบีบ
  • 8. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ควายโบ้ 3. ก ารส ร้างค ว าม มั่น ค งด้ าน ก ารจัด ห าพ ลังงาน โด ย ก ารพึ่ งพ ลังงาน จ าก ห ล าย ๆ แหล่งภายในชุมชนที่มีศักยภาพโดยอาศัยเงื่อนไขความรู้ 4. ก า ร ใ ห้ ชุ ม ช น บ ริ ห า ร จั ด ก า ร พ ลั ง ง า น เ อ ง โดยมีการรวมกลุ่มและร่วมมือกันในการจัดหาแหล่งพลังงานเพิ่มขึ้น การวางแผนและการติดตามประเมินผล - ระดับประเทศสามารถทาได้โดย 1. การมีนโยบายและมาตรการสนับสนุนให้หน่วยชุมชนพึ่งพาตนเองด้านการจัดการพลังงาน 2 . ก า ร ส นั บ ส นุ น บุ ค ล า ก ร ง บ ป ร ะ ม า ณ และวัสดุอุปกรณ์ที่เหมาะสมกับชุมชนในระยะแรกและให้ความรู้กับชุมชนเพื่อให้ชุมชนพึ่งตนเองต่อไปได้อย่า งต่อเนื่อง 3 . ก า ร ล ด ก า ร น า เ ข้ า พ ลั ง ง า น โดยการหาแหล่งพลังงานในประเทศและสนับสนุนการใช้พลังงานที่สามารถผลิตในประเทศให้เพิ่มขึ้น 4. การสนับสนุ นภ าคเอกชนในการผลิตไฟ ฟ้ าใช้เองและขายให้ภ าครัฐโดยวิธีต่างๆ เช่นสนับสนุนด้านราคาและด้านภาษี สนับสนุนด้านเทคโนโลยีและด้านบุคลากร 5. การใช้ทรัพ ยากรในประเทศให้เกิดประโยชน์ สูงสุด เช่น พ ลังงานน้ า พ ลังงานลม พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานขยะ ที่ไหน : ทุกชุมชนสามารถน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการจัดการพลังงานในชุมชนได้ อย่างไร : ตัวอย่างการนาพลังงานทดแทนมาใช้ประโยชน์ 1. การนาแก๊สโซฮอล์มาใช้แทนน้ามันเบนซิน ภาครัฐได้มีการสนับสนุนการใช้เชื้อเพลิงแอลกอฮอล์มากขึ้นเพื่อลดการพึ่งพาการนาเข้าน้ามันจากต่างประเ ทศให้มากขึ้น โดยสนับสนุนการใช้แก๊สโซฮอล์ E20 (เบนซิน 80% และเอทานอล 20%) 2. โรงงานอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพหรือวัตถุดิบ เช่น กากน้าตาล อ้อยที่เหลือจากการผลิตน้าตาล มั น ส า ป ะ ห ลั ง ส า ม า ร ถ ผ ลิ ต เ อ ท า น อ ล เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงภายในโรงงานได้และสามารถนาไปขายภายนอกโรงงาน 3. การใช้ไบโอดีเซลผสมกับน้ามันดีเซล โดยที่ไบโอดีเซลเป็นเชื้อเพลิงที่ผลิตจากพืชน้ามัน เช่น ปาล์มน้ามัน ส บู่ ด า น้ า มั น พื ช ใ ช้ แ ล้ ว ทาการส่งเสริมและสนับสนุนใช้พืชน้ามันซึ่งเป็นผลิตผลทางการเกษตรที่สามารถผลิตได้เองในประเทศเป็นเชื้ อ เ พ ลิ ง ท ด แ ท น ตั ว อ ย่ า ง เ ช่ น วั ด พ ยั ค ฆ า ร า ม จั ง ห วั ด สุ พ ร ร ณ บุ รี แหล่งเรียนรู้และสาธิตการผลิตไบโอดีเซลระดับชุมชนแห่งแรกของประเทศโดยผลิตจากสบู่ดาและน้ามันพืชใ ช้
  • 9. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ควายโบ้ 4. ชุมชนนาวัสดุเหลือใช้ เช่น เศษไม้ แกลบ กะลาปาล์ม วัชพืช มาทาเป็นถ่านอัดแท่งเชื้อเพลิง แ ล้ ว น า ม า ใ ช้ เป็ น เชื้ อ เพ ลิ ง ภ า ย ใ น ชุ ม ช น เป็ น ก า ร พึ่ ง ต น เอ ง อ ย่ า ง ชั ด เจ น ซึ่งสามารถช่วยลดรายจ่ายที่ต้องนาไปซื้อเชื้อเพลิง และยังสามารถผลิตเพื่อขายภายในชุมชนได้ ตัวอย่างเช่น ชุมชนนาท่ามเหนือ จังหวัดตรัง มีการหุงต้มโดยเปลื่ยนใช้เตาแก๊สมาใช้เตาซุปเปอร์อั้งโล่ สาหรับถ่านที่นามาเป็นเชื้อเพลิงก็เผาเองโดยเตาเผาถ่านประสิทธิภาพสูง 5. ใช้พลังงานชีวมวล เป็นพลังงานที่ได้จากพืชและสัตว์ เช่น ไม้ฟืน แกลบ กากอ้อย กากปาล์ม ซังข้าวโพดและกาบมะพร้าว ในการผลิตกระแสไฟฟ้า 6. การผลิตกระแสไฟฟ้าจากขยะ โดยการนาไปเผา หรือ ผลิตก๊าซชีวภาพ 7.การใช้ประโยชน์จากก๊าซชีวภาพ ก๊าซชีวภาพสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ตั้งแต่ ครัวเรือน ชุมชน ฟาร์มปศุสัตว์จนถึงภาคอุตสาหกรรม ตัวอย่างเช่น มชนบ้านสามขา อาเภอแม่ทะ จังหวัดลาปาง สร้างบ่อหมักก๊าซชีวภาพ จากมูลสุกร มูลไก่ มูลวัว เพื่อนาก๊าซชีวภาพมาใช้ทดแทนก๊าซหุงต้ม (LPG) 8 . ก า ร ผ ลิ ต ไ ฟ ฟ้ า จ า ก พ ลั ง ง า น ห มุ น เ วี ย น ท า ง ภ าค รัฐ มี น โย บ าย ส นั บ ส นุ น ก ารผ ลิ ต ไฟ ฟ้ า ใช้ เอ ง จ าก พ ลั ง ง า น ห มุ น เวีย น โ ด ย เ น้ น ม า ต ร ก า ร จู ง ใ จ ด้ า น ร า ค า เ พื่ อ ใ ห้ อุ ต ส า ห ก ร ร ม และชุมชนหันมาผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานหมุนเวียนซึ่งสามารถขายให้ภาครัฐได้ในราคาที่สูง โดยภาครัฐจะมีแรงจูงใจด้านภาษีและด้านราคา โดยการกาหนดอัตรารับซื้อไฟฟ้าส่วนเพิ่มพิเศษหรือ Adder หากมีการใช้พลังงานหมุนเวียนในการผลิตไฟฟ้า อภิปรายบทความ : การประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการพลังงาน สามารถท าได้กับทุ กระดับชั้นไม่ว่าจะเป็ น ระดับ บุคค ล ระดับ ชุมชน ระดับป ระเท ศ ซึ่งทั้งหมดนี้แสดงให้เห็นถึงการร่วมมือร่วมใจกันของคนทุกระดับชั้นเพื่อพัฒนาการใช้พลังงานทดแทนในชีวิ ตประจาวัน ซึ่งทั้งหมดนี้เกิดจากการน้อมนาหลักการเศรษฐกิจพอเพียงโดยมี 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ได้แก่ หลักความพอประมาณ หลักความมีเหตุมีผล หลักการสร้างระบบภูมิคุ้มกัน และ ความรู้และคุณธรรม
  • 10. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ควายโบ้ รายงานวิชาการค้นคว้าอิสระ การพัฒนาอย่างยั่งยืนตามกระบวนทัศน์เศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาวนวพร เทพสุท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อม) ร า ย ง า น วิ ช า ก า ร ค้ น ค ว้ า อิ ส ร ะ นี้เรียบเรียงหลักการและเหตุผลที่ทาให้เชื่อว่าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถทาให้เกิดการพัฒนาทาง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อธิบายกระบวนทัศน์เศรษฐกิจพอเพียงที่นาไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนและเปรียบเทียบการพัฒนาตามกระบวนทัศน์เ ศรษฐกิจพอเพียง กับการพัฒนาตามกระบวนทัศน์เศรษฐศาสตร์กระแสหลัก เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้ ง แ ต่ ร ะ ดั บ ค ร อ บ ค รั ว ร ะ ดั บ ชุ ม ช น จ น ถึ ง ร ะ ดั บ รั ฐ ทั้ ง ใ น ก า ร พั ฒ น า บ ริ ห า ร ป ร ะ เ ท ศ ใ ห้ ด า เ นิ น ไ ป ใ น ท า ง ส า ย ก ล า ง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวหน้าต่อยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ ความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผน และการดาเนินการทุกขั้นตอน ขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่รัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน มีความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุล และพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี โดยได้อธิบายหลักการสาคัญของเศรษฐกิจพอเพียงมีอยู่ 3 ประการ ได้แก่ 1. ความพอประมาณ (Sufficiency) เป็นแนวคิดเรื่องทางสายกลางในพุทธศาสนากล่าวคือ เป็นทางที่ไม่สุดโต่ง และไม่ข้องแวะกับสิ่งที่เป็นกิเลส เน้นปัญญาเป็นฐานที่สาคัญ และความพอประมาณ ออกมาในรูปแบบของเศรษฐกิจก็ได้ ก็คือว่าไม่ฟุ้ งเฟ้อจนเกินไป แต่มันก็ไม่ถึงขนาดจะต้องกระเหม็ดกระแหม่ อดหอมรอมริบจนชีวิตไม่มีความสุข
  • 11. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ควายโบ้ 2. ความมีเหตุผล (Reasonable) ความไม่โลภจนเกินไป ความซื่อสัตย์สุจริตความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ทาให้สังคมมีความสุข ซึ่งแตกต่างจากความหมายทางเศรษฐศาสตร์ทั่วไป ที่แปล ความมีเหตุผลว่า ค ก า ร ที่ ทุ ก ค น พ ย า ย า ม ก ร ะ ท า เพื่ อ แ ส ว ง ห า ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ ส่ ว น ต น ซึ่งทาให้เกิดปัญหาว่าสังคมจะอยู่ได้อย่างไร เพราะถ้าสังคมอยู่ไม่ได้ แต่ละคนก็จะอยู่ไม่ได้ด้วย 3. การมีภูมิคุ้มกัน (Immunity)ความพอประมาณ ความมีเหตุผล ถึงที่สุดแล้วสิ่งที่สาคัญก็คือ ก า ร ส ร้ า ง ภู มิ คุ้ ม กั น โ ด ย มี จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ใ ห้ ป ร ะ เ ท ศ อ ยู่ ไ ด้ เพื่อที่จะอยู่ได้ในสถานการณ์ที่มีความเปลี่ยนแปลงทั้งภายใน และภายนอก ที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน การมีภูมิคุ้มกันนจึงเป็นการสร้างความมั่นคง แ ล ะ จ ะ ต้ อ ง ตั้ง อ ยู่ ภ า ย ใต้ ส อ ง เงื่ อ น ไ ข ค ว า ม รู้ นั่น คื อ ค ว า ม รู้จ ริง รู้ร อ บ รู้ลึ ก ซึ่ ง เ ป็ น ค ว า ม ห ม า ย เ ดี ย ว กั บ ค ว า ม มี ปั ญ ญ า ใ น พุ ท ธ ธ ร ร ม ที่จะเข้าใจทุกสิ่งทุกอย่างตามความเป็นจริงส่วนเงื่อนไขที่สอง คือ เรื่องคุณธรรม ความหมายที่แท้จริงก็คือ ความยั้งคิด คือทาแต่สิ่งที่ดี หรือมีกุศลจิต ซึ่งก็คือ การมีสติ - ก ารพั ฒ น าบ น พื้ น ฐาน ข อ งเศ รษ ฐศ าส ต ร์ก ระแส ห ลัก นั้น มีเป้ าห ม ายที่ จะมุ่ งเน้ น และให้ความสาคัญอยู่กับการเพิ่มขึ้นของตัวเลข หรือดัชนีชี้วัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นหลัก เน้นการวัดผลทางด้านการ เจ ริญ เติ บ โต ท างเศ รษ ฐกิจ ก ารเพิ่ ม ผ ล ผ ลิต แ ล ะค ว าม ก้ าว ห น้ าท างเท ค โน โล ยี ผ่ า น ตั ว เ ล ข ผ ล ผ ลิ ต ม ว ล ร ว ม ใ น ป ร ะ เ ท ศ ( Gross Domestic Products-GDP) โดยคานึงถึงปัจจัยการขยายตัวที่จากัด ละเลยประเด็นในเรื่องของทุนทางสังคม และทุนทางสิ่งแวดล้อม เ นื่ อ ง จ า ก ไ ม่ ส า ม า ร ถ วั ด อ อ ก ม า เ ป็ น เ ชิ ง ป ริ ม า ณ ไ ด้ ซึ่ ง แ ต ก ต่ า ง จ า ก ก า ร พั ฒ น า ต า ม ก ร ะ บ ว น ทั ศ น์ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง จะมีเป้าหมายอยู่ที่การสร้างความสมดุลของระบบ อันจะนาไปสู่ความมั่นคง และความยั่งยืนของระบบต่างๆ ที่สัมพันธ์กัน โดยมองความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ ภายใต้บริบททางสังคมอย่างบูรณาการ ซึ่ ง ก า ร พั ฒ น า ทั้ ง ห ม ด ต้ อ ง อ ยู่ ภ า ย ใ ต้ ก ร อ บ ข อ ง จ ริ ย ธ ร ร ม ไม่เน้นหรือให้ความความสัมพันธ์ในด้านใดด้านหนึ่งมากเกินไปเพื่อให้เกิความสามารถในการพัฒนาของทุก ๆ ร ะ บ บ ไ ป พ ร้ อ ม กั น เ น้ น บ ท บ า ท ข อ ง ภ า ค รั ฐ แ ล ะ ภ า ค ป ร ะ ช า ช น ซึ่ ง จ ะ เ น้ น ก า ร พั ฒ น า โ ด ย ก า ร ส ร้ า ง พื้ น ฐ า น ใ ห้ มั่ น ค ง โ ด ย มุ่ ง เ น้ น ไ ป ที่ ก า ร ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ ก า ร พั ฒ น า ตั้ ง แ ต่ ร ะ ดั บ บุ ค ค ล การกระจายทรัพยากรตามกระบวนทัศน์เศรษฐกิจพอเพียงนั้น ตั้งอยู่บนฐานของความสมดุล พอประมาณ และไม่ประมาท อีกทั้งยังมีศีลธรรม และจริยธรรมกากับ จึงทาให้การพัฒ นาที่เกิดขึ้น อ ยู่ บ น ฐ า น ข อ ง ค ว า ม เ อื้ อ อ า ท ร แล ะค านึ งถึงผ ล ก ระท บ ที่ อ าจเกิด ขึ้น จาก ก ารด าเนิ น กิจก รรม ข อ งต น เอ งต่ อ ผู้ อื่ น สร้างแนวทางการพัฒ นาที่ให้ความสาคัญ กับการสร้างรากฐานที่มั่นคงทางเศรษ ฐกิจ
  • 12. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่ม ควายโบ้ ก็ ท า ใ ห้ แ น ว โ น้ ม ที่ เป็ น ไ ป ใ น แ น ว ท า ง เดี ย ว กั บ แ น ว คิ ด ข อ ง Thomas et al. ที่ ม อ ง ว่ า คุ ณ ภ า พ ข อ ง ก า ร เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ( Quality of Growth) นั้ น ต้องเป็นการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่มีลักษณะ และดาเนินไปพร้อมกับสิ่งต่างๆ เหล่านี้ ได้แก่ ก า ร เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ที่ ส ม่ า เ ส ม อ ( Steady Growth) มิใช่เป็นการเจริญเติบโตที่สูงแต่เกิดขึ้นชั่วครั้งชั่วคราว การเจริญเติบโตนี้ต้องช่วยให้เกิดความกินดีอยู่ดี (Well-being) ของประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ ต้องเป็นการเจริญเติบโตที่ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม แ ล ะ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ พ ร้ อ ม ทั้ ง มุ่ ง รั ก ษ า สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ใ ห้ ยั่ ง ยื น นอกจากนี้ยังต้องมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจที่ดี สามารถรับมือกับปัจจัยเสี่ยงจากโลกภายนอก (Global Risk) ที่เข้ามากระทบได้ การพัฒนาตามกระบวนทัศน์เศรษฐกิจพอเพียง พบว่า สามารถทาให้เกิดการพัฒนาได้ในทุกๆ มิติ ไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม และการเมืองจึงควรส่งเสริมและเผยแพร่ เพื่อเป็นการขยายมุมมองในการพัฒนา ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมากขึ้นกว่ามุมมองในการปฏิบัติทางด้านเกษตรกรรม หรือแนวทางการดาเนินชีวิตในเบื้องต้น หรือการพัฒนาในระดับบุคคลเท่านั้นควรมีการศึกษาลงในรายละเอียดการพัฒนาในแต่ละมิติ ในแง่มุมที่หลากหลายมากขึ้นกว่ามุมมองทางเศรษฐศาสตร์ เนื่องจากการพัฒนาที่ยั่งยืน จาเป็นต้องพิจารณาความจริงบนพื้นฐานในหลากหลายแง่มุม เพื่อให้เกิดการบูรณาการความรู้จากหลายสาขาและเกิดความเป็นไปได้และเกิดการยอมรับ ในการสร้างแนวทางการพัฒนาตามกระบวนทัศน์เศรษฐกิจพอเพียง นอกจากนี้ยังควรมีการศึกษาเปรียบเทียบกระบวนทัศน์เศรษฐกิจพอเพียง และเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก ในระดับของทฤษฏีเพื่อให้สามารถวิเคราะห์ วิพากษ์แนวความคิดทั้งสอง ได้ในระดับที่เข้าใจได้ง่าย และเห็นภาพที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น