SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
Downloaden Sie, um offline zu lesen
บทที่ 8
การคัดแยกอาการและการจัดลาดับความสาคัญในภาวะฉุกเฉิน
8.1 ความสาคัญของเวลาในการให้ความช่วยเหลือต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน
ในการปฏิบัติการฉุกเฉินแต่ละครั้ง “เวลา” ตั้งแต่การรับรู้การเจ็บป่วยฉุกเฉินถึงชุดปฏิบัติการ
ฉุกเฉินไปถึงที่เกิดเหตุ (ระยะเวลาตอบสนอง หรือ Response time) เป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลต่อการ
เสียชีวิต ความพิการ และการบาดเจ็บที่รุนแรงมากขึ้นของผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินได้ ในงานวิจัยของ
ต่างประเทศได้ให้ความสาคัญของระยะเวลาตอบสนองนี้ไว้เช่น จากการศึกษาในรัฐแคลฟอร์เนีย
ประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่ามีการกาหนดเกณฑ์มาตรฐานของระยะเวลาตอบสนองนี้ไว้ที่ 12-15 นาที
และรัฐนิวยอร์ก กาหนดไว้ที่ 10 นาที โดยระยะเวลาตอบสนองนี้มความสาคัญต่อผู้ป่วยอย่างมาก
สมาคมแพทย์โรคหัวใจของประเทศสหรัฐอเมริกาได้ทาการศึกษาพบว่าสมองของคนไข้ที่หัวใจหยุดเต้น
จะตายภายใน 4-6 นาที หากไม่ได้รับการช่วยเหลือ รวมทั้งอัตราการรอดชีวิตจะลดลง 7-10% ทุก ๆ 1
นาทีไม่ได้รับการช่วยเหลือ (อ้างใน วโรรส อินทรศิริพงษ์, 2557) ในการบาดเจ็บรุนแรงพบว่าระหว่าง
อัตราการตายและเวลาการบาดเจ็บมีการตายมากอยู่ 3 ช่วง คือ (กาญจนา เซ็นนันท์, อรพรรณ โตสิงห์,
ศิริอร สินธุ, 2551)1
1) Immediate death ประมาณร้อยละ 50% ผู้บาดเจ็บจะเสียชีวิตทันทีหรือภายใน
2-3 นาทีหลังเกิดอุบัติเหตุ สาเหตุจากการฉีกขาดของสมองไขสันหลังหัวใจหรือหลอดเลือดใหญ่ เป็นการ
ยากที่จะรักษาชีวิตผู้บาดเจ็บไว้ได้ ผู้บาดเจ็บมักเสียชีวิต ณ ที่เกิดเหตุ
2) Early deaths ประมาณร้อยละ 30 จะเสียชีวิตภายใน 2-3 ชั่วโมงแรกหลังเกิดอุบัติเหตุ
สาเหตุการตายจากภาวะขาดออกซิเจน การเสียเลือดตามส่วนต่างๆ ของร่างกายทั้งภายในและภายนอก
ผู้บาดเจ็บกลุ่มนี้ต้องการการรักษาที่รวดเร็วและถูกต้องเพื่อช่วยชีวิต
3) Late deaths ประมาณร้อยละ 20 จะเสียชีวิตหลังเกิดอุบัติเหตุแล้วหลายวัน หรือเป็นสัปดาห์
ขณะอยู่ใน โรงพยาบาล สาเหตุการเสียชีวิตมักเกิดจากภาวะแทรกซ้อนเช่น การติดเชื้อ อวัยวะล้มเหลว
การตายช่วงนี้มีความสัมพันธ์กับการรักษาเบื้องต้น และการช่วยชีวิต
8.2 การจาแนกประเภทผู้ป่วย
การคัดกรอง คัดแยกผู้ป่วย (Triage อ่านว่า ทรี-อาจ) คือ การคัดกรอง คัดแยกผู้ป่วยตาม
อาการเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บตามลาดับความเร่งด่วน เพื่อให้การรักษาหรือปฏิบัติการที่ถูกต้อง การคัด
แยกผู้ป่วยตามลาดับ ”ความรีบด่วน” ของการรักษา ไม่ใช่ “ความรุนแรง” หรือ “ความซับซ้อน” ของ
ผู้ป่วย เช่น ผู้ป่วยที่รุนแรง (เช่นโรคมะเร็ง) หรือ ซับซ้อน (มีโรคร่วมหลายโรค) อาจไม่ต้องการความ
รีบด่วนของการรักษาในห้องฉุกเฉิน
1 กาญจนา เซ็นนันท์, อรพรรณ โตสิงห์, ศิริอร สินธุ (2551). การช่วยของผู้บาดเจ็บในระยะเร่งด่วนฉุกเฉิน : การวิเคราะห์วรรณกรรม.
วารสารการพยาบาล, 23(3), 26-39.
การคัดแยกผู้ป่วยมักจะเกิดขึ้นสองครั้งคือ ที่หน้าห้องฉุกเฉิน (ER triage) เพื่อจาแนกว่าใครควร
จะได้รับการตรวจรักษาในห้องฉุกเฉินก่อนตามลาดับความรีบด่วนในแง่การรักษาพยาบาล
ส่วนการคัดแยกในที่เกิดเหตุ (Prehospital triage) จะแยกตามเป้าหมายว่าใครควรได้รับการ
จัดส่งความช่วยเหลือทางการแพทย์ตามลาดับความรีบด่วนในแง่การรักษาพยาบาล ระดับของการคัด
แยกผู้ป่วยที่จุดเกิดเหตุจะแยกได้ 5 ระดับคือ
ระดับ สี ประเภท เวลา
1 แดง
ป่วยวิกฤติฉุกเฉิน
(Resustication)
ต้องให้ความช่วยเหลือภายใน 1-4 นาทีม่งั้นจะเสียชีวิต
เช่น ผู้ป่วยช๊อคเสียเลือด เจ็บหน้าอกหัวใจขาดเลือด
2 เหลือง
ป่วยปานกลาง
(Urgent)
ต้องผ่าตัดหรือรักษาเพื่อช่วยชีวิตภายใน 2-4 ชั่วโมง
เช่น กระดูกหัก ปวดท้องมาก บาดแผล เหนื่อยหอบ
3 เขียว
ป่วยเล็กน้อย
(Less-Urgent)
ผู้ป่วยที่รอได้นานกว่า 4 ชั่วโมงโดยไม่เกิดอันตราย
เช่น แผลถลอก ปวดท้องเรื้อรัง ปวดหลัง
4 ขาว เจ็บป่วยไม่ฉุกเฉิน อาการป่วยทั่วไป เช่น เป็นหวัดเรื้อรัง ผื่นคัน
5 ดา
เสียชีวิต /
อาการหนักไม่สามารถ
ช่วยให้รอดได้
อาการหนักไม่สามารถช่วยให้รอดได้ หากเลือกรักษาจะทา
ให้คนอื่นเสียโอกาสที่จะรอด
วิธีเช็คเมื่อพบผู้ป่วยในสถานที่
1) เรียกผู้ป่วยว่าหมดสติจริงหรือไม่
2) เรียกผู้ป่วยด้วยเสียงดัง เขย่าตัว ไม่เขย่าศีรษะ
3) ร้องหาความช่วยเหลือจากผู้อื่น รวมทั้งหาคนที่กู้ชีพเป็น รวมทั้งหาเครื่องกระตุกหัวใจ
4) ให้เปิดลาโพง hand free
5) เน้นย้าให้ตั้งใจฟัง ถ้าผู้แจ้งไม่พร้อม กระตุ้นให้พร้อมที่จะช่วยเหลือ!!
6) จัดท่าให้นอนหงาย
7) เปลื้อง/ปลดเสื้อผ้าให้เห็นทรวงอก
8) คุกเข่าลงข้างผู้ป่วย ใข้มือยกคางผู้ป่วยขึ้น ให้ศีรษะแหงนไปข้างหลัง
การซักคาถามผู้ป่วยฉุกเฉินทางโทรศัพท์สิ่งที่จาเป็นต้องรู้ประกอบด้วย
• ผู้ป่วยมีอาการอย่างไร
• ผู้ป่วยอยู่ที่ไหน
• คุณโทรศัพท์จากหมายเลขใด
• คุณชื่ออะไร (อยู่กับผู้ป่วยหรือไม่)
• ผู้ป่วยรู้สติหรือไม่
• ผู้ป่วยหายใจปกติหรือไม่
• หากมีอาการวิกฤติมาก : ผู้แจ้งต้องถือสายไว้ ห้ามวาง
เมื่อซักอาการแล้วถ้าผู้ป่วยมีภาวะที่คุกคามต่อชีวิต ต้องได้รับความช่วยเหลือทางการแพทย์โดย
ทันที!! ผู้ป่วยจะมีอัตราตายหรือเกิดภาวะแทรกซ้อนในเวลาเป็น”นาที” อาการที่สาคัญคือ
1) Airway ภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจ เช่น ติดคอ ภูมิแพ้ หอบ
2) Breathing ภาวะการหายใจบกพร่อง(Respiratory failure), ภาวะพร่องอ็อกซิเจน
(Oxygenation failure) ภาวะหายใจไม่เพียงพอ (Ventilatory failure) เช่น ไม่หายใจ หายใจ
ลาบาก (มีเสียงดัง, เร็ว, แรง, ลึก, ไม่มีเสียงพูด, พูดได้ประโยคสั้นๆ) ไม่รู้สติ, ระดับความรู้สติ
ลดลง เขียว วิธีนับการหายใจ ให้นับ 1-6 ว่าหายใจได้กี่ครั้งแล้ว คูณ 10 จานวนที่นับได้จะเท่ากับ
จานวนครั้งของการหายใจต่อนานที
3) Circulation ภาวะพร่องสารน้าหรือโลหิต Hypovolemic shock ภาวะที่ตัวหัวใจบีบเลือดไป
เลี้ยงร่างกายไม่ได้ Cardiogenic shock ภาวะหลอดเลือดขยายตัวทั่วร่างกาย อาการคือ ผิวซีด
เย็น เหงื่อออก ไม่รู้สติ, ระดับความรู้สึกตัวลดลง เป็นลม หน้ามืด (อาจมีเฉพาะเวลาเปลี่ยนท่า
เป็นนั่งหรือยืน) ถ้ามีอาการเหล่านี้ ให้ตอบสนองด้วยรหัสแดง พร้อมกับให้คาสั่งแนะนา
ปฏิบัติการก่อนหน่วยปฏิบัติการไปถึง
สิ่งที่ผู้แจ้งเหตุต้องทาคือ จะต้องเล่ารายละเอียดเหตุการณ์ที่ชี้นาถึงภาวะที่คุกคามต่อชีวิต
(Airway, breathing, circulation) ตามอาการสาคัญต่างๆ เพื่อที่ทีมผู้ให้บริการทางการแพทย์ฉุกเฉินจะ
ได้ให้คาสั่งแนะนาปฏิบัติการก่อนไปถึงการคัดแยกผู้ป่วยมีผลต่อการจัดส่งหน่วยช่วยเหลือ ทั้งด้านความ
รีบด่วนเครื่องมืออุปกรณ์ ยา เวชภัณฑ์ และขีดความสามารถของบุคลากรที่ออกไป
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (2556)2 ได้ใช้หลักเกณฑ์ในการคัดแยกระดับความฉุกเฉิน
และมาตรฐานปฏิบัติการตามประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉินในปี 2555 ไว้ดังนี้
1) ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติ ได้แก่ บุคคลซึ่งได้รับบาดเจ็บหรือมีอาการป่วยกะทันหันซึ่งมีภาวะ
คุกคามต่อชีวิต เช่น ไม่รู้สึกตัว ไม่หายใจ ไม่มีชีพจร เลือดออกมาก บาดเจ็บหนัก เจ็บหน้าอก ชักถี่/
เขียว คลอด ซึ่งหากไม่ได้รับปฏิบัติการแพทย์ทันทีเพื่อแก้ไขระบบการหายใจ ระบบไหลเวียนเลือดหรือ
ระบบประสาทแล้ว ผู้ป่วยจะมีโอกาสเสียชีวิตได้สูง หรือทาให้การบาดเจ็บหรืออาการป่วยของผู้ป่วย
2 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ, 2556. คู่มือแนวทางการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ และวิธีปฏิบัติการคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉินและจัดลาดับ
การบริบาล ณ ห้องฉุกเฉินตามหลักเกณฑ์ที่ กพฉ.กาหนด. จาก http://www.niems.go.th/th/Upload/File/ 255609301415116 117_
ETGSsAcX8Jpn1XPQ.pdf
ฉุกเฉินนั้นรุนแรงขึ้นหรือเกิดภาวะแทรกซ้อนได้อย่างฉับไว ในกรณีนี้ให้ใช้สัญลักษณ์ “สีแดง” สาหรับ
ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต
2) ผู้ป่วยฉุกเฉินเร่งด่วน มีอาการที่ต้องรีบช่วยเหลือ เช่น ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง หายใจ
ช้า/เร็ว เลือดออก บาดแผลใหญ่/หลายแห่ง/ตาแหน่งสาคัญ ชัก ไข้สูง งูกัด อาการแพ้ ได้แก่ บุคคลที่
ได้รับบาดเจ็บหรือมีอาการป่วยซึ่งมีภาวะเฉียบพลันมากหรือเจ็บปวดรุนแรงอันจาเป็นต้องได้รับปฏิบัติ
การแพทย์อย่างรีบด่วน มิฉะนั้น จะทาให้การบาดเจ็บ หรืออาการป่วยของผู้ป่วยฉุกเฉินนั้นรุนแรงขึ้น
หรือเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้น ซึ่งส่งผลให้เสียชีวิต หรือพิการในระยะต่อมาได้ ให้ใช้สัญลักษณ์ "สีเหลือง”
สาหรับผู้ป่วยฉุกเฉินเร่งด่วน
3) ผู้ป่ วยฉุกเฉินไม่รุนแรง ได้แก่ บุคคลซึ่งได้รับบาดเจ็บ หรือมีอาการป่วยซึ่งมีภาวะ
เฉียบพลันไม่รุนแรง อาจรอรับปฏิบัติการแพทย์ได้ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง หรือเดินทางไปรับบริการ
สาธารณสุขด้วยตนเองได้ แต่จาเป็นต้องใช้ทรัพยากรและหากปล่อยไว้เกินเวลาอันสมควรแล้วจะทาให้
การบาดเจ็บหรืออาการป่วยของผู้ป่วยฉุกเฉินนั้นรุนแรงขึ้น หรือเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้นได้ เช่น บาดเจ็บ
เล็กน้อย แผลถลอก ปวดศีรษะ ปวดท้อง แขนขาหักไม่เสียเลือด ท้องร่วง ภาวะจิตใจ ให้ใช้สัญลักษณ์ “สี
เขียว” สาหรับผู้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรง
4) ผู้ป่วยทั่วไป ได้แก่ บุคคลที่เจ็บป่วยแต่ไม่ใช่ผู้ป่วยฉุกเฉิน ซึ่งอาจรอรับหรือเลือกสรรบริการ
สาธารณสุขในเวลาทาาการปกติได้ โดยไม่ก่อให้เกิดอาการที่รุนแรงขึ้นหรือภาวะแทรกซ้อนตามมา ให้ใช้
สัญลักษณ์ “สีขาว” สาหรับผู้ป่วยทั่วไป
5) ผู้รับบริการสาธารณสุขอื่น ได้แก่ บุคคลซึ่งมารับบริการสาธารณสุขหรือบริการอื่น
โดยไม่จาเป็นต้องใช้ทรัพยากร ให้ใช้สัญลักษณ์ “สีดา” สาหรับผู้รับบริการสาธารณสุขอื่น
8.4 การวัดระดับอาการผู้ผู้ป่วย มาตรากลาสโกวโคม่า (Glasgow Coma Scale: GCS)
มาตรกลาสโกวโคม่า คือ วิธีประเมินความผิดปกติและความรุนแรงทางระบบประสาทวิธีหนึ่งที่
นิยมใช้ทางการแพทย์ เนื่องจากเป็นวิธีที่ไม่ยุงยาก ง่ายต่อการใช้ และสามารถให้บุคลากรทางการแพทย์
ที่ไม่ใช่แพทย์ประเมินได้ โดยประเมินลักษณะทางคลินิกในการรู้สึกตัวของผู้ป่วยเป็นคะแนน ทั้งนี้ การ
ประเมินประกอบด้วย
E (Eye opening)
การประเมินการลืมตา
V (Verbal response)
การประเมินการพูด
M (Motor response)
การประเมินการเคลื่อนไหว
แบ่งเป็น
4 ระดับคะแนน คือ
1 คะแนน ไม่ลืมตา
ไม่ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นใดๆ
2 คะแนน ลืมตาเมื่อเจ็บ
3 คะแนน ลืมตาเมื่อเรียก
4 คะแนน ลืมตาได้เอง
แบ่งเป็น 5 ระดับคะแนน คือ
1 คะแนน ไม่พูด ไม่ส่งเสียงใดๆ
2 คะแนน ส่งเสียงอือ อา ไม่เป็น
คาพูด
3 คะแนน ส่งเสียงพูดเป็นคาๆ
แต่ฟังไม่รู้เรื่อง
4 คะแนน พูดเป็นคาๆ แต่ไม่
ถูกต้องกับเหตุการณ์
แบ่งเป็น 6 ระดับคะแนน คือ
1 คะแนน ไม่มีการเคลื่อนไหว
ใดๆต่อสิ่งกระตุ้น ไม่ตอบสนองต่อ
ความเจ็บปวด
2 คะแนน ตอบสนองต่อการ
กระตุ้นที่ทาให้เจ็บ โดย แขน ขา
เหยียดเกร็ง
5 คะแนน ถามตอบรู้เรื่องปกติ 3 คะแนน ตอบสนองต่อการ
กระตุ้นที่ทาให้เจ็บ โดย แขน ขางอ
เข้าผิดปกติ
4 คะแนน ตอบสนองต่อการทา
ให้เจ็บแบบปกติ เช่น เคลื่อนแขนขา
หนี
5 คะแนน ตอบสนองต่อการทา
ให้เจ็บ ถูกตาแหน่งที่ทาให้เจ็บ เช่น
การปัดสิ่งกระตุ้น
6 คะแนน เคลื่อนไหวได้ตาม
คาสั่งถูกต้อง
การประเมินระดับอาการคร่าวๆ จากรหัสสี
คะแนน รหัสสี สภาพ
13-15 ขาว ปกติดี
9-12 เขียว บาดเจ็บเล็กน้อย
6-8 เหลือง บาดเจ็บปานกลาง
4-5 แดง วิกฤติต่อชีวิต
<3 ดา สาหัส มีโอกาสรอดยาก
ประโยชน์ของการคัดกรองผู้ป่วย
 การมี Prehospital triage ที่ดีช่วยให้ผู้ป่วยมีโอกาสรอดชีวิตและลดอัตราทุพพลภาพได้มาก
เนื่องจากได้รับความช่วยเหลืออย่างทันท่วงที และลดความสิ้นเปลืองทรัพยากร
 การคัดกรองทางโทรศัพท์มุ่งเน้นการให้ความช่วยเหลือแก่ภาวะคุกคามชีวิต (Airway,
Breathing, Circulation)เพื่อการตอบสนองของหน่วยปฏิบัติงานอย่างรวดเร็วและเพียบพร้อมทั้ง
อุปกรณ์ ยา เวชภัณฑ์ และศักยภาพของบุคคล

8.5 นโยบาย “เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิ์ทุกที่
นโยบาย “เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤติ มีสิทธิ์ทุกที่” (Universal Coverage Emergency Patients :
UCEP) มาจากการที่รัฐบาลที่ผ่านมาร่วมกับสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ร่วมกัน
แก้ปัญหาผู้ป่วยฉุกเฉินบางส่วนที่เข้ารับการดูแลรักษาในโรงพยาบาลเอกชนบางแห่งถูกเรียกเก็บค่า
รักษาพยาบาล หรือถูกนาเอาเงื่อนไขค่ารักษาพยาบาลที่มีราคาแพง ส่งผลต่อการรักษา กระทรวง
สาธารณสุข สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)
สานักงานประกันสังคม (สปส.) และกรมบัญชีกลางและสมาคมโรงพยาบาลเอกชน ได้ร่วมกันหาทาง
แก้ปัญหาดังกล่าวด้วยการเห็นสมควรกาหนดให้มีแนวทางการปฏิบัติในการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยฉุกเฉิน
วิกฤตขึ้นใหม่ ตามนโยบาย “เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่” โดยไม่มีเงื่อนไขในการเรียกเก็บค่า
รักษาพยาบาล เพื่อให้ไม่เป็นอุปสรรคและความเสี่ยงของการดูแลรักษา (สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน,
2560)
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติได้จัดตั้งศูนย์ประสานคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต
(UCEP coordinating Center) และเป็นศูนย์กลางประสานการย้ายกลับผู้ป่วยให้กับ โรงพยาบาล
คู่สัญญา แจ้งกองทุนเจ้าของสิทธิเพื่อดาเนินการรับย้ายตามแนวทางของกองทุน รวมถึงเป็นศูนย์รับเรื่อง
ร้องเรียนและให้คาปรึกษาแก่ประชาชน ตลอด 24 ชั่วโมง ตามนโยบายรัฐบาล
คุณลักษณะของUCEP คือ ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตจะสามารถใช้สิทธิ์เข้ารักษาในโรงพยาบาล
เอกชนในพื้นที่ใกล้ที่อยู่อาศัย และเป็นโรงพยาบาลเอกชนนอกคู่สัญญากับกองทุนที่ผู้ป่วยมีสิทธิ์เริ่มจาก
สามกองทุนคือ สปสช. สานักงานประกันสังคมและกรมบัญชีกลาง ใน 72 ชั่วโมงแรก ผู้ป่วยไม่ต้องเสีย
ค่าใช้จ่าย เพื่อให้ได้รับความช่วยเหลืออย่างปลอดภัยโดยไม่มีเงื่อนไข หลังจากนั้นผู้ป่วยสามารถย้าย
กลับรพ.คู่สัญญาภายในเวลา 72 ชั่วโมง หรือรพ.เอกชน กลุ่มที่สมัครใจเป็นรพ.รับย้ายได้เมื่อผู้ป่วย
พร้อมและก่อนครบ 72 ชั่วโมง ซึ่งหลัง 72 ชั่วโมง หากย้ายไม่ได้ ให้คิดค่าบริการได้ตามปกติ เว้นแต่มี
ข้อตกลงอื่นกับกองทุน หรือหากไม่ใช่ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต การคิดค่าใช้จ่ายให้เป็นไปตามระบบปกติ
8.6 การคัดแยกผู้ป่วยในเหตุอุบัติภัยหมู่
อุบัติเหตุหมู่ (mass casualty) หมายถึง การบาดเจ็บอุบัติเหตุคราวเดียวกันเป็นจานวนมากเกิน
ขีดความสามารถของโรงพยาบาลที่จะให้การรักษาตามปกติได้
บทบาทของชุดปฏิบัติการฉุกเฉินเบื้องต้นชุดแรกที่มาถึงจุดเกิดเหตุกรณีอุบัติภัยหมู่คือ
1) ช่วยจัดเตรียมพื้นที่จุดต่างๆตามการสั่งการของ commander
2) ป้องกันตัวเองและควบคุมสถานการณ์ให้ปลอดภัยร่วมกับทีมตารวจกู้ภัยดับเพลิง
3) สื่อสารข้อมูลสถานการณ์ไปยังจุดรับแจ้งเหตุและสั่งการ
4) ช่วยประเมินสถานการณ์
5) นาผู้บาดเจ็บออกจากซากรถหรือซากปรักหักพัง
6) ช่วยคัดแยกผู้บาดเจ็บจากจุดเกิดเหตุ
7) ช่วยเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บจากจุดเกิดเหตุมายังจุดรักษาพยาบาล
8) ช่วยปฐมพยาบาลณจุดรักษาพยาบาล
9) ช่วยเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บจากจุดรักษาพยาบาลนาขึ้นรถพยาบาลฉุกเฉินและนาส่งโรงพยาบาล
แนวคิดในการปรับเปลี่ยนใการควบคุมสถานการณ์ด้านสาธารณภัย
1) ทีมกู้ชีพทีมแรกต้องไม่ด่วนเข้าช่วยผู้ป่วย
2) ต้องมีการกาหนดให้มีพื้นที่สาคัญเพื่อปฏิบัติงานควบคุมสถานการณ์
3) ต้องนาคนเจ็บมารวมกันที่จุดรักษาพยาบาล
4) ต้องคัดแยกก่อน ให้การเข้าช่วยที่จุดรักษาพยาบาล
5) ต้องกาหนดให้มีผู้ทาหน้าที่เป็น Field Commander
6) ต้องมีข้อมูลเพื่อการนาส่งคนไข้ไปยังเครือข่ายที่เหมาะสม
7) ผู้บริหารระดับสูงจะต้องสามารถบัญชาการได้โดยไม่ต้องมาณจุดเกิดเหตุ
8) ทีมงานทุกคนต้องมีความปลอดภัยในการทางาน
การกั้นแบ่งพื้นที่เป็นการกาหนดความชัดเจนของแต่ละพื้นที่ซึ่งอาจใช้แถบสีต่างๆของตารวจ
หรือวัสดุอย่างอื่นเพื่อแบ่งกัน และเลือกจะให้ใครเข้าออกบริเวณต่างๆโดย
1) เขตควบคุมชั้นใน จะล้อมรอบเหตุการณ์ทั้งหมดไว้มักใช้รถตารวจส่วนเขตควบคุมชั้นในใช้เป็น
พื้นที่คัดแยกผู้ป่วยณจุดเกิดเหตุและเจ้าหน้าที่จะได้รับการฝึกฝนมาอย่างเหมาะสมแล้วเท่านั้นใน
การทางานเข้าพื้นที่นี้ได้การทางานในพื้นที่นี้จะต้องรีบเข้าและออกจากพื้นที่ให้เร็วที่สุดเท่าที่
จาเป็น
2) เขตควบคุมชั้นนอก เป็นพื้นที่ที่ใช้คัดแยกผู้ป่วยเป็นครั้งที่ 2 ทาการปฐมพยาบาลและเป็นจุดรับ
ผู้ป่วยโดยรถพยาบาลภายใต้การควบคุมการเข้าออกพื้นที่และการจัดการจราจรโดยเคร่งครัดตาม
หลักปฏิบัติผู้บัญชาการเหตุจะทาหน้าที่ควบคุมการสั่งการจากพื้นที่ชั้นนี้และผู้ที่จะเข้าพื้นที่ส่วนนี้ได้
จะต้องเป็นผู้ได้รับอนุญาตจากการบัญชาการเหตุและมีเครื่องหมายแสดงประจาตัวอย่างชัดเจน
วิธีการคัดแยกผู้ป่วย ณ จุดเกิดเหตุ
แยกกลุ่มผู้ป่วยที่เดินได้ ประกาศว่า “ใครที่ได้ยินผมและต้องการความ่วยเหลือ
ขอให้เดินไปที่ธงสีเขียว”
แยกกลุ่มผู้ป่วยที่รู้ตัวและทาตามคาสั่งได้ บอกผู้บาดเจ็บที่เหลือ “ทุกคนที่ได้ยินผลให้ยกมือหรือเท้า
ขึ้น แล้วเราจะไปช่วยคุณ”
แยกแยะคนที่เหลือ เข้าไปประเมินผู้ป่วยที่เหลือทันทีแล้วให้การช่วยเหลือ
สรุปง่ายๆคือ
เรื่องควรรู้ : ระเบียบและกลไกการคลังในการให้การบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน
การสนับสนุนงบประมาณสาหรับการบริการการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาล(Prehospital
care) เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติในปี 2546 โดยมีการตั้งงบประมาณใน
ลักษณะรายหัวประชากร (10 บาท) และมีการส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามีบทบาทใน
การจัดให้มีหน่วยปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินระดับต้น
แต่หลังจากมีพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉินและมีสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ การ
สนับสนุนงบประมาณจากระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจึงยุติลง โดย สพฉ. เป็นหน่วยตั้ง
งบประมาณสนับสนุนแทนซึ่งงบประมาณที่ สพฉ. ได้รับสนับสนุนนั้นไม่ได้คิดในรูปเหมาจ่ายรายหัว
เหมือนของ สปสช. แต่เป็นการคาดการณ์จากจานวนการออกปฏิบัติการในปีที่ผ่านมา โดยใน
ปีงบประมาณ 2555 สพฉ.ได้รับงบสนับสนุนจากรัฐบาลจานวน 827.9 ล้านบาท แยกเป็นงบกองทุนหรือ
งบชดเชยปฏิบัติการร้อยละ 68.5 ร้อยละ 8.9 เป็นงบพัฒนาระบบ EMS ที่จัดสรรให้จังหวัด เป็นงบ
บริหารร้อยละ 21 และงบกลางซึ่งสวนใหญ่จะนาไปใช้ในการสนับสนุนค่าชดเชยปฏิบัติการที่ไม่เพียงพอ
ประเมินรายบุคคล
(Individual Assesment)
ประเมินตามรหัสสี
แดง
เหลือง
เขียว
แยกคร่าวๆ
(Global sort)
และกรณีที่เกิดภัยพิบัติต่างๆ ฯลฯ ร้อยละ 1.6 งบประมาณดังกล่าวไม่รวมเงินเดือนและค่าจ้างเจ้าหน้าที่
ด้านการแพทย์ฉุกเฉินซึ่งส่วนใหญ่จ้างโดยหน่วยงานสาธารณสุขหรือองค์กรปกครองท้องถิ่นนั้นๆ
ตารางที่ 7.1 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจ่ายเงินอุดหนุนหรือชดเชยปฏิบัติการฉุกเฉินทางบก
แหล่งข้อมูล : สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ, 2557
ทั้งนี้ในการบริหารงบประมาณชดเชยปฏิบัติการนั้น เป็นการจ่ายค่าบริการให้แก่หน่วย
ปฏิบัติการระดับตางๆ ตามจานวนครั้งที่ออกปฏิบัติการที่ผ่านระบบ 1669 ในอัตราที่ สพฉ. กาหนด ด้วย
การสนับสนุนทั้งจาก สปสช. ในระยะต้น และ สพฉ. ในระยะที่ผ่านมา ส่งผลให้มีการขยายจานวนหน่วย
ปฏิบัติการระดับต่างๆ เป็นอย่างมาก และจานวนการออกปฏิบัติการของหน่วยกู้ชีพระดับต่างๆ ก็เพิ่มขึ้น
อย่างรวดเร็วเช่นกัน แต่อีกด้านหนึ่งเมื่อพบว่ามีความแปรปรวนของอัตราการออกปฏิบัติการเมื่อเทียบ
กับจานวนประชากรรวมถึงอัตราการรับผู้ป่วยไว้รักษาตัวในโรงพยาบาลที่ต่างกันในแต่ละพื้นที่ ทาให้
เกิดคาถามถึงประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากรที่มีจากัดและทาให้ค่าใช้จ่ายในระบบเพิ่มสูงขึ้นจน
งบประมาณที่ได้รับไม่เพียงพอในการออกปฏิบัติการ ซึ่งหลักเกณ์และเงื่อนไขการจ่ายเงินอุดหนุนหรือ
ชดเชยการปฏิบัติการตามบัญชี ก.1 การเหมาจ่ายค่าพาหนะ ค่าปฏิบัติงาน ยา เวชภัณฑ์หรืออุปกรณ์
ต่างๆในการปฏิบัติงานตามระดับความรุนแรงของผู้ป่วยฉุกเฉิน
หมายเหตุ
(ก) กรณียกเลิก ไม่พบเหตุ เสียชีวิตก่อนไปถึง ให้หมายรวมถึง กรณีการคัดแยกป่วยโดยศูนย์ฯ
สั่งการเป็นผู้ป่วยฉุกเฉิน แต่ชุดปฏิบัติการนาส่งโดยไม่มีปฏิบัติการแพทย์ขั้นสูงและประเมิน ณ
สถานพยาบาล พบว่าเป็นผู้ป่วยทั่วไป
(ข) กรณีตาบลที่เกิดเหตุอยู่ห่างจากรพ.ที่รับผู้ป่วยมากกว่า 10 กิโลเมตร ให้จ่ายเพิ่มโดยคานวณ
ระยะทางเฉลี่ยจากทุกหมู่บ้านในตาบลนั้นไปยังโรงพยาบาลตามการอานวยการหรือคาสั่งของศูนย์สั่ง
การส่วนที่เกิน 10 กิโลเมตร ให้คิดเพิ่มกิโลเมตรละไม่เกิน 10 บาท แต่รวมแล้วไม่เกิน 100 บาท และ
เพื่อให้การดาเนินการเบิกจ่ายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและสะดวกกับผู้ปฏิบัติงานในแต่ละจังหวัด ควร
จัดทาข้อมูลอัตราการจ่ายเพิ่มของทุกตาบลที่มีระยะทางเฉลี่ยเกิน 10 กิโลเมตร โดยให้คณะอนุกรรมการ
การแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเห็นชอบ
(ค) กรณีมีความจาเป็นต้องระดมชุดปฏิบัติการนอกพื้นที่เข้าช่วยเหลือหรือร่วมซ้อมแผนเสมือน
จริงตาม คาสั่งของเลขาธิการ สพฉ. ให้จ่ายเงินเพิ่มเติมจากอัตราบัญชี ก 1 แก่หน่วยปฏิบัติการ
สถานพยาบาลหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดังนี้
- ระยะทางในการเดินทางไปและกลับจากนอกพื้นที่เข้าร่วมซ้อมแผนเสมือนจริง จ่ายตาม
ระยะทางในอัตรา 4 บาทต่อกิโลเมตร
- การดาเนินการเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉินยากลาบากหรือพื้นที่พิเศษ จาเป็นต้องใช้รถขับเคลื่อน 4
ล้อ จ่ายเงินเพิ่มอีก 100 บาทต่อครั้ง
- การดาเนินการเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉินยากลาบากหรือในพื้นที่พิเศษ จาเป็นต้องใช้รถ 6 ล้อขึ้นไป
จ่ายเงินเพิ่มอีก 400 บาทต่อครั้ง
คาอธิบาย
1) กรณีรักษาเสียชีวิตขณะนาส่ง/รักษาเสียชีวิตในที่เกิดเหตุให้ถือว่าเป็นผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต (สี
แดง)
2) ยกเลิก หมายถึง ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการจังหวัด สั่งยกเลิกการออกปฏิบัติงาน ขณะชุด
ปฏิบัติการของหน่วยปฏิบัติการออกจากฐานที่ตั้งไปแล้ว
3) ไม่พบเหตุ หมายถึง เมื่อชุดปฏิบัติการออกปฏิบัติการแล้วไม่พบเหตุ เนื่องจากมีการ
ช่วยเหลือไปก่อน หรือเป็นการแจ้งเหตุเท็จ
4) ผู้ป่วยเสียชีวิตก่อนไปถึง หมายถึง เมื่อชุดปฏิบัติการไปถึงที่เกิดเหตุพบว่าผู้ป่วยเสียชีวิตแล้ว
และไม่ได้ทาการช่วยพื้นคืนชีพ (CPR)
5) *หมายถึง ขณะสั่งการประเมินว่าเป็นผู้ป่วยวิกฤต (สีแดง) ผู้ป่วยเร่งด่วน (สีเหลือง)
ผู้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรง (สีเขียว) มีการนาส่ง เมื่อมีการประเมิน ณ สถานพยาบาล พบว่าเป็นป่วยทั่วไป
จ่ายตามอัตราหลักเกณฑ์ข้างต้นและให้หมายรวมถึงผู้ป่วยปฏิเสธการรักษา/ไม่ประสงค์จะไป
สถานพยาบาลด้วย
6) กรณีชุดปฏิบัติการฉุกเฉินทุกระดับ ปฐมพยาบาล ณ จุดเกิดเหตุ แล้วขอสนับสนุนชุด
ปฏิบัติการฉุกเฉินเพิ่มเติมตามความเหมาะสม จะจ่ายค่าชดเชยการปฏิบัติให้ชุดปฏิบัติการทั้งหมด ตาม
ระดับความรุนแรงของผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน
7) กรณีมีผู้บาดเจ็บฉุกเฉินหลายราย หรือกรณีเกิดอุบัติเหตุหมู่ จะจ่ายจริงตามจานวนเที่ยวการ
นาส่งผู้บาดเจ็บ โดยอยู่ในดุลพินิจของศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการจังหวัด ที่เป็นผู้พิจารณาในการนาส่ง
ผู้บาดเจ็บ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายชนิกานต์ บุญชู
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationNarenthorn EMS Center
 
Monitor traumatic shock 16 พค.58
Monitor traumatic shock  16 พค.58Monitor traumatic shock  16 พค.58
Monitor traumatic shock 16 พค.58Krongdai Unhasuta
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ pueniiz
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจKrongdai Unhasuta
 
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุหลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุAiman Sadeeyamu
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำPrathan Somrith
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuipiyarat wongnai
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองChutchavarn Wongsaree
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 Yanee Tongmanee
 

Was ist angesagt? (20)

การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
Monitor traumatic shock 16 พค.58
Monitor traumatic shock  16 พค.58Monitor traumatic shock  16 พค.58
Monitor traumatic shock 16 พค.58
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
Abdominal Trauma (Thai)
Abdominal Trauma (Thai)Abdominal Trauma (Thai)
Abdominal Trauma (Thai)
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
Shock (Thai)
Shock (Thai)Shock (Thai)
Shock (Thai)
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
 
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุหลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำ
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
 

Ähnlich wie Ch 8 basic emergency medical service and triage

Trauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurseTrauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurseKrongdai Unhasuta
 
คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย สีทิพย์
คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย  สีทิพย์คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย  สีทิพย์
คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย สีทิพย์taem
 
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfTraum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfKrongdai Unhasuta
 
Emergency Triage and BCLS ,ACLS 2015
Emergency Triage and BCLS ,ACLS 2015Emergency Triage and BCLS ,ACLS 2015
Emergency Triage and BCLS ,ACLS 2015karaket884
 
Ep and haz_mat-chantana
Ep and haz_mat-chantanaEp and haz_mat-chantana
Ep and haz_mat-chantanaAimmary
 
Hazmat response for Emergency physician
Hazmat response for Emergency physicianHazmat response for Emergency physician
Hazmat response for Emergency physiciantaem
 
CPR2010 update
CPR2010 updateCPR2010 update
CPR2010 updatetaem
 
รูปแบบการเขียนโครงร่างการวิจัย-อิอิ.pdf
รูปแบบการเขียนโครงร่างการวิจัย-อิอิ.pdfรูปแบบการเขียนโครงร่างการวิจัย-อิอิ.pdf
รูปแบบการเขียนโครงร่างการวิจัย-อิอิ.pdfpaweenpolYokaew
 
รูปแบบการเขียนโครงร่างการวิจัย-อิอิ.pdf
รูปแบบการเขียนโครงร่างการวิจัย-อิอิ.pdfรูปแบบการเขียนโครงร่างการวิจัย-อิอิ.pdf
รูปแบบการเขียนโครงร่างการวิจัย-อิอิ.pdfpaweenpolYokaew
 
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)taem
 

Ähnlich wie Ch 8 basic emergency medical service and triage (20)

Triage
TriageTriage
Triage
 
Introduction to em
Introduction to emIntroduction to em
Introduction to em
 
Trauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurseTrauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurse
 
คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย สีทิพย์
คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย  สีทิพย์คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย  สีทิพย์
คนฉุกเฉินตามทันมั๊ย ..อ.ศรีทัย สีทิพย์
 
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfTraum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
Triage
TriageTriage
Triage
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
Emergency Triage and BCLS ,ACLS 2015
Emergency Triage and BCLS ,ACLS 2015Emergency Triage and BCLS ,ACLS 2015
Emergency Triage and BCLS ,ACLS 2015
 
Ep and haz_mat-chantana
Ep and haz_mat-chantanaEp and haz_mat-chantana
Ep and haz_mat-chantana
 
Hazmat response for Emergency physician
Hazmat response for Emergency physicianHazmat response for Emergency physician
Hazmat response for Emergency physician
 
TRAUMA SYSTEM.pdf
TRAUMA SYSTEM.pdfTRAUMA SYSTEM.pdf
TRAUMA SYSTEM.pdf
 
TRAUMA SYSTEM.pdf
TRAUMA SYSTEM.pdfTRAUMA SYSTEM.pdf
TRAUMA SYSTEM.pdf
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
CPR2010 update
CPR2010 updateCPR2010 update
CPR2010 update
 
รูปแบบการเขียนโครงร่างการวิจัย-อิอิ.pdf
รูปแบบการเขียนโครงร่างการวิจัย-อิอิ.pdfรูปแบบการเขียนโครงร่างการวิจัย-อิอิ.pdf
รูปแบบการเขียนโครงร่างการวิจัย-อิอิ.pdf
 
รูปแบบการเขียนโครงร่างการวิจัย-อิอิ.pdf
รูปแบบการเขียนโครงร่างการวิจัย-อิอิ.pdfรูปแบบการเขียนโครงร่างการวิจัย-อิอิ.pdf
รูปแบบการเขียนโครงร่างการวิจัย-อิอิ.pdf
 
Emergency department triage
Emergency department triageEmergency department triage
Emergency department triage
 
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
 
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
 

Mehr von freelance

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management freelance
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionfreelance
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsfreelance
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classfreelance
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education gamefreelance
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentfreelance
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsfreelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster educationfreelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentfreelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazardfreelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardfreelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survivalfreelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsfreelance
 
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessmentWeek 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessmentfreelance
 

Mehr von freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessmentWeek 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
 

Ch 8 basic emergency medical service and triage

  • 1. บทที่ 8 การคัดแยกอาการและการจัดลาดับความสาคัญในภาวะฉุกเฉิน 8.1 ความสาคัญของเวลาในการให้ความช่วยเหลือต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน ในการปฏิบัติการฉุกเฉินแต่ละครั้ง “เวลา” ตั้งแต่การรับรู้การเจ็บป่วยฉุกเฉินถึงชุดปฏิบัติการ ฉุกเฉินไปถึงที่เกิดเหตุ (ระยะเวลาตอบสนอง หรือ Response time) เป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลต่อการ เสียชีวิต ความพิการ และการบาดเจ็บที่รุนแรงมากขึ้นของผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินได้ ในงานวิจัยของ ต่างประเทศได้ให้ความสาคัญของระยะเวลาตอบสนองนี้ไว้เช่น จากการศึกษาในรัฐแคลฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่ามีการกาหนดเกณฑ์มาตรฐานของระยะเวลาตอบสนองนี้ไว้ที่ 12-15 นาที และรัฐนิวยอร์ก กาหนดไว้ที่ 10 นาที โดยระยะเวลาตอบสนองนี้มความสาคัญต่อผู้ป่วยอย่างมาก สมาคมแพทย์โรคหัวใจของประเทศสหรัฐอเมริกาได้ทาการศึกษาพบว่าสมองของคนไข้ที่หัวใจหยุดเต้น จะตายภายใน 4-6 นาที หากไม่ได้รับการช่วยเหลือ รวมทั้งอัตราการรอดชีวิตจะลดลง 7-10% ทุก ๆ 1 นาทีไม่ได้รับการช่วยเหลือ (อ้างใน วโรรส อินทรศิริพงษ์, 2557) ในการบาดเจ็บรุนแรงพบว่าระหว่าง อัตราการตายและเวลาการบาดเจ็บมีการตายมากอยู่ 3 ช่วง คือ (กาญจนา เซ็นนันท์, อรพรรณ โตสิงห์, ศิริอร สินธุ, 2551)1 1) Immediate death ประมาณร้อยละ 50% ผู้บาดเจ็บจะเสียชีวิตทันทีหรือภายใน 2-3 นาทีหลังเกิดอุบัติเหตุ สาเหตุจากการฉีกขาดของสมองไขสันหลังหัวใจหรือหลอดเลือดใหญ่ เป็นการ ยากที่จะรักษาชีวิตผู้บาดเจ็บไว้ได้ ผู้บาดเจ็บมักเสียชีวิต ณ ที่เกิดเหตุ 2) Early deaths ประมาณร้อยละ 30 จะเสียชีวิตภายใน 2-3 ชั่วโมงแรกหลังเกิดอุบัติเหตุ สาเหตุการตายจากภาวะขาดออกซิเจน การเสียเลือดตามส่วนต่างๆ ของร่างกายทั้งภายในและภายนอก ผู้บาดเจ็บกลุ่มนี้ต้องการการรักษาที่รวดเร็วและถูกต้องเพื่อช่วยชีวิต 3) Late deaths ประมาณร้อยละ 20 จะเสียชีวิตหลังเกิดอุบัติเหตุแล้วหลายวัน หรือเป็นสัปดาห์ ขณะอยู่ใน โรงพยาบาล สาเหตุการเสียชีวิตมักเกิดจากภาวะแทรกซ้อนเช่น การติดเชื้อ อวัยวะล้มเหลว การตายช่วงนี้มีความสัมพันธ์กับการรักษาเบื้องต้น และการช่วยชีวิต 8.2 การจาแนกประเภทผู้ป่วย การคัดกรอง คัดแยกผู้ป่วย (Triage อ่านว่า ทรี-อาจ) คือ การคัดกรอง คัดแยกผู้ป่วยตาม อาการเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บตามลาดับความเร่งด่วน เพื่อให้การรักษาหรือปฏิบัติการที่ถูกต้อง การคัด แยกผู้ป่วยตามลาดับ ”ความรีบด่วน” ของการรักษา ไม่ใช่ “ความรุนแรง” หรือ “ความซับซ้อน” ของ ผู้ป่วย เช่น ผู้ป่วยที่รุนแรง (เช่นโรคมะเร็ง) หรือ ซับซ้อน (มีโรคร่วมหลายโรค) อาจไม่ต้องการความ รีบด่วนของการรักษาในห้องฉุกเฉิน 1 กาญจนา เซ็นนันท์, อรพรรณ โตสิงห์, ศิริอร สินธุ (2551). การช่วยของผู้บาดเจ็บในระยะเร่งด่วนฉุกเฉิน : การวิเคราะห์วรรณกรรม. วารสารการพยาบาล, 23(3), 26-39.
  • 2. การคัดแยกผู้ป่วยมักจะเกิดขึ้นสองครั้งคือ ที่หน้าห้องฉุกเฉิน (ER triage) เพื่อจาแนกว่าใครควร จะได้รับการตรวจรักษาในห้องฉุกเฉินก่อนตามลาดับความรีบด่วนในแง่การรักษาพยาบาล ส่วนการคัดแยกในที่เกิดเหตุ (Prehospital triage) จะแยกตามเป้าหมายว่าใครควรได้รับการ จัดส่งความช่วยเหลือทางการแพทย์ตามลาดับความรีบด่วนในแง่การรักษาพยาบาล ระดับของการคัด แยกผู้ป่วยที่จุดเกิดเหตุจะแยกได้ 5 ระดับคือ ระดับ สี ประเภท เวลา 1 แดง ป่วยวิกฤติฉุกเฉิน (Resustication) ต้องให้ความช่วยเหลือภายใน 1-4 นาทีม่งั้นจะเสียชีวิต เช่น ผู้ป่วยช๊อคเสียเลือด เจ็บหน้าอกหัวใจขาดเลือด 2 เหลือง ป่วยปานกลาง (Urgent) ต้องผ่าตัดหรือรักษาเพื่อช่วยชีวิตภายใน 2-4 ชั่วโมง เช่น กระดูกหัก ปวดท้องมาก บาดแผล เหนื่อยหอบ 3 เขียว ป่วยเล็กน้อย (Less-Urgent) ผู้ป่วยที่รอได้นานกว่า 4 ชั่วโมงโดยไม่เกิดอันตราย เช่น แผลถลอก ปวดท้องเรื้อรัง ปวดหลัง 4 ขาว เจ็บป่วยไม่ฉุกเฉิน อาการป่วยทั่วไป เช่น เป็นหวัดเรื้อรัง ผื่นคัน 5 ดา เสียชีวิต / อาการหนักไม่สามารถ ช่วยให้รอดได้ อาการหนักไม่สามารถช่วยให้รอดได้ หากเลือกรักษาจะทา ให้คนอื่นเสียโอกาสที่จะรอด วิธีเช็คเมื่อพบผู้ป่วยในสถานที่ 1) เรียกผู้ป่วยว่าหมดสติจริงหรือไม่ 2) เรียกผู้ป่วยด้วยเสียงดัง เขย่าตัว ไม่เขย่าศีรษะ 3) ร้องหาความช่วยเหลือจากผู้อื่น รวมทั้งหาคนที่กู้ชีพเป็น รวมทั้งหาเครื่องกระตุกหัวใจ 4) ให้เปิดลาโพง hand free 5) เน้นย้าให้ตั้งใจฟัง ถ้าผู้แจ้งไม่พร้อม กระตุ้นให้พร้อมที่จะช่วยเหลือ!! 6) จัดท่าให้นอนหงาย 7) เปลื้อง/ปลดเสื้อผ้าให้เห็นทรวงอก 8) คุกเข่าลงข้างผู้ป่วย ใข้มือยกคางผู้ป่วยขึ้น ให้ศีรษะแหงนไปข้างหลัง การซักคาถามผู้ป่วยฉุกเฉินทางโทรศัพท์สิ่งที่จาเป็นต้องรู้ประกอบด้วย • ผู้ป่วยมีอาการอย่างไร
  • 3. • ผู้ป่วยอยู่ที่ไหน • คุณโทรศัพท์จากหมายเลขใด • คุณชื่ออะไร (อยู่กับผู้ป่วยหรือไม่) • ผู้ป่วยรู้สติหรือไม่ • ผู้ป่วยหายใจปกติหรือไม่ • หากมีอาการวิกฤติมาก : ผู้แจ้งต้องถือสายไว้ ห้ามวาง เมื่อซักอาการแล้วถ้าผู้ป่วยมีภาวะที่คุกคามต่อชีวิต ต้องได้รับความช่วยเหลือทางการแพทย์โดย ทันที!! ผู้ป่วยจะมีอัตราตายหรือเกิดภาวะแทรกซ้อนในเวลาเป็น”นาที” อาการที่สาคัญคือ 1) Airway ภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจ เช่น ติดคอ ภูมิแพ้ หอบ 2) Breathing ภาวะการหายใจบกพร่อง(Respiratory failure), ภาวะพร่องอ็อกซิเจน (Oxygenation failure) ภาวะหายใจไม่เพียงพอ (Ventilatory failure) เช่น ไม่หายใจ หายใจ ลาบาก (มีเสียงดัง, เร็ว, แรง, ลึก, ไม่มีเสียงพูด, พูดได้ประโยคสั้นๆ) ไม่รู้สติ, ระดับความรู้สติ ลดลง เขียว วิธีนับการหายใจ ให้นับ 1-6 ว่าหายใจได้กี่ครั้งแล้ว คูณ 10 จานวนที่นับได้จะเท่ากับ จานวนครั้งของการหายใจต่อนานที 3) Circulation ภาวะพร่องสารน้าหรือโลหิต Hypovolemic shock ภาวะที่ตัวหัวใจบีบเลือดไป เลี้ยงร่างกายไม่ได้ Cardiogenic shock ภาวะหลอดเลือดขยายตัวทั่วร่างกาย อาการคือ ผิวซีด เย็น เหงื่อออก ไม่รู้สติ, ระดับความรู้สึกตัวลดลง เป็นลม หน้ามืด (อาจมีเฉพาะเวลาเปลี่ยนท่า เป็นนั่งหรือยืน) ถ้ามีอาการเหล่านี้ ให้ตอบสนองด้วยรหัสแดง พร้อมกับให้คาสั่งแนะนา ปฏิบัติการก่อนหน่วยปฏิบัติการไปถึง สิ่งที่ผู้แจ้งเหตุต้องทาคือ จะต้องเล่ารายละเอียดเหตุการณ์ที่ชี้นาถึงภาวะที่คุกคามต่อชีวิต (Airway, breathing, circulation) ตามอาการสาคัญต่างๆ เพื่อที่ทีมผู้ให้บริการทางการแพทย์ฉุกเฉินจะ ได้ให้คาสั่งแนะนาปฏิบัติการก่อนไปถึงการคัดแยกผู้ป่วยมีผลต่อการจัดส่งหน่วยช่วยเหลือ ทั้งด้านความ รีบด่วนเครื่องมืออุปกรณ์ ยา เวชภัณฑ์ และขีดความสามารถของบุคลากรที่ออกไป สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (2556)2 ได้ใช้หลักเกณฑ์ในการคัดแยกระดับความฉุกเฉิน และมาตรฐานปฏิบัติการตามประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉินในปี 2555 ไว้ดังนี้ 1) ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติ ได้แก่ บุคคลซึ่งได้รับบาดเจ็บหรือมีอาการป่วยกะทันหันซึ่งมีภาวะ คุกคามต่อชีวิต เช่น ไม่รู้สึกตัว ไม่หายใจ ไม่มีชีพจร เลือดออกมาก บาดเจ็บหนัก เจ็บหน้าอก ชักถี่/ เขียว คลอด ซึ่งหากไม่ได้รับปฏิบัติการแพทย์ทันทีเพื่อแก้ไขระบบการหายใจ ระบบไหลเวียนเลือดหรือ ระบบประสาทแล้ว ผู้ป่วยจะมีโอกาสเสียชีวิตได้สูง หรือทาให้การบาดเจ็บหรืออาการป่วยของผู้ป่วย 2 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ, 2556. คู่มือแนวทางการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ และวิธีปฏิบัติการคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉินและจัดลาดับ การบริบาล ณ ห้องฉุกเฉินตามหลักเกณฑ์ที่ กพฉ.กาหนด. จาก http://www.niems.go.th/th/Upload/File/ 255609301415116 117_ ETGSsAcX8Jpn1XPQ.pdf
  • 4. ฉุกเฉินนั้นรุนแรงขึ้นหรือเกิดภาวะแทรกซ้อนได้อย่างฉับไว ในกรณีนี้ให้ใช้สัญลักษณ์ “สีแดง” สาหรับ ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต 2) ผู้ป่วยฉุกเฉินเร่งด่วน มีอาการที่ต้องรีบช่วยเหลือ เช่น ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง หายใจ ช้า/เร็ว เลือดออก บาดแผลใหญ่/หลายแห่ง/ตาแหน่งสาคัญ ชัก ไข้สูง งูกัด อาการแพ้ ได้แก่ บุคคลที่ ได้รับบาดเจ็บหรือมีอาการป่วยซึ่งมีภาวะเฉียบพลันมากหรือเจ็บปวดรุนแรงอันจาเป็นต้องได้รับปฏิบัติ การแพทย์อย่างรีบด่วน มิฉะนั้น จะทาให้การบาดเจ็บ หรืออาการป่วยของผู้ป่วยฉุกเฉินนั้นรุนแรงขึ้น หรือเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้น ซึ่งส่งผลให้เสียชีวิต หรือพิการในระยะต่อมาได้ ให้ใช้สัญลักษณ์ "สีเหลือง” สาหรับผู้ป่วยฉุกเฉินเร่งด่วน 3) ผู้ป่ วยฉุกเฉินไม่รุนแรง ได้แก่ บุคคลซึ่งได้รับบาดเจ็บ หรือมีอาการป่วยซึ่งมีภาวะ เฉียบพลันไม่รุนแรง อาจรอรับปฏิบัติการแพทย์ได้ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง หรือเดินทางไปรับบริการ สาธารณสุขด้วยตนเองได้ แต่จาเป็นต้องใช้ทรัพยากรและหากปล่อยไว้เกินเวลาอันสมควรแล้วจะทาให้ การบาดเจ็บหรืออาการป่วยของผู้ป่วยฉุกเฉินนั้นรุนแรงขึ้น หรือเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้นได้ เช่น บาดเจ็บ เล็กน้อย แผลถลอก ปวดศีรษะ ปวดท้อง แขนขาหักไม่เสียเลือด ท้องร่วง ภาวะจิตใจ ให้ใช้สัญลักษณ์ “สี เขียว” สาหรับผู้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรง 4) ผู้ป่วยทั่วไป ได้แก่ บุคคลที่เจ็บป่วยแต่ไม่ใช่ผู้ป่วยฉุกเฉิน ซึ่งอาจรอรับหรือเลือกสรรบริการ สาธารณสุขในเวลาทาาการปกติได้ โดยไม่ก่อให้เกิดอาการที่รุนแรงขึ้นหรือภาวะแทรกซ้อนตามมา ให้ใช้ สัญลักษณ์ “สีขาว” สาหรับผู้ป่วยทั่วไป 5) ผู้รับบริการสาธารณสุขอื่น ได้แก่ บุคคลซึ่งมารับบริการสาธารณสุขหรือบริการอื่น โดยไม่จาเป็นต้องใช้ทรัพยากร ให้ใช้สัญลักษณ์ “สีดา” สาหรับผู้รับบริการสาธารณสุขอื่น 8.4 การวัดระดับอาการผู้ผู้ป่วย มาตรากลาสโกวโคม่า (Glasgow Coma Scale: GCS) มาตรกลาสโกวโคม่า คือ วิธีประเมินความผิดปกติและความรุนแรงทางระบบประสาทวิธีหนึ่งที่ นิยมใช้ทางการแพทย์ เนื่องจากเป็นวิธีที่ไม่ยุงยาก ง่ายต่อการใช้ และสามารถให้บุคลากรทางการแพทย์ ที่ไม่ใช่แพทย์ประเมินได้ โดยประเมินลักษณะทางคลินิกในการรู้สึกตัวของผู้ป่วยเป็นคะแนน ทั้งนี้ การ ประเมินประกอบด้วย E (Eye opening) การประเมินการลืมตา V (Verbal response) การประเมินการพูด M (Motor response) การประเมินการเคลื่อนไหว แบ่งเป็น 4 ระดับคะแนน คือ 1 คะแนน ไม่ลืมตา ไม่ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นใดๆ 2 คะแนน ลืมตาเมื่อเจ็บ 3 คะแนน ลืมตาเมื่อเรียก 4 คะแนน ลืมตาได้เอง แบ่งเป็น 5 ระดับคะแนน คือ 1 คะแนน ไม่พูด ไม่ส่งเสียงใดๆ 2 คะแนน ส่งเสียงอือ อา ไม่เป็น คาพูด 3 คะแนน ส่งเสียงพูดเป็นคาๆ แต่ฟังไม่รู้เรื่อง 4 คะแนน พูดเป็นคาๆ แต่ไม่ ถูกต้องกับเหตุการณ์ แบ่งเป็น 6 ระดับคะแนน คือ 1 คะแนน ไม่มีการเคลื่อนไหว ใดๆต่อสิ่งกระตุ้น ไม่ตอบสนองต่อ ความเจ็บปวด 2 คะแนน ตอบสนองต่อการ กระตุ้นที่ทาให้เจ็บ โดย แขน ขา เหยียดเกร็ง
  • 5. 5 คะแนน ถามตอบรู้เรื่องปกติ 3 คะแนน ตอบสนองต่อการ กระตุ้นที่ทาให้เจ็บ โดย แขน ขางอ เข้าผิดปกติ 4 คะแนน ตอบสนองต่อการทา ให้เจ็บแบบปกติ เช่น เคลื่อนแขนขา หนี 5 คะแนน ตอบสนองต่อการทา ให้เจ็บ ถูกตาแหน่งที่ทาให้เจ็บ เช่น การปัดสิ่งกระตุ้น 6 คะแนน เคลื่อนไหวได้ตาม คาสั่งถูกต้อง การประเมินระดับอาการคร่าวๆ จากรหัสสี คะแนน รหัสสี สภาพ 13-15 ขาว ปกติดี 9-12 เขียว บาดเจ็บเล็กน้อย 6-8 เหลือง บาดเจ็บปานกลาง 4-5 แดง วิกฤติต่อชีวิต <3 ดา สาหัส มีโอกาสรอดยาก ประโยชน์ของการคัดกรองผู้ป่วย  การมี Prehospital triage ที่ดีช่วยให้ผู้ป่วยมีโอกาสรอดชีวิตและลดอัตราทุพพลภาพได้มาก เนื่องจากได้รับความช่วยเหลืออย่างทันท่วงที และลดความสิ้นเปลืองทรัพยากร  การคัดกรองทางโทรศัพท์มุ่งเน้นการให้ความช่วยเหลือแก่ภาวะคุกคามชีวิต (Airway, Breathing, Circulation)เพื่อการตอบสนองของหน่วยปฏิบัติงานอย่างรวดเร็วและเพียบพร้อมทั้ง อุปกรณ์ ยา เวชภัณฑ์ และศักยภาพของบุคคล  8.5 นโยบาย “เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิ์ทุกที่ นโยบาย “เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤติ มีสิทธิ์ทุกที่” (Universal Coverage Emergency Patients : UCEP) มาจากการที่รัฐบาลที่ผ่านมาร่วมกับสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ร่วมกัน แก้ปัญหาผู้ป่วยฉุกเฉินบางส่วนที่เข้ารับการดูแลรักษาในโรงพยาบาลเอกชนบางแห่งถูกเรียกเก็บค่า รักษาพยาบาล หรือถูกนาเอาเงื่อนไขค่ารักษาพยาบาลที่มีราคาแพง ส่งผลต่อการรักษา กระทรวง
  • 6. สาธารณสุข สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สานักงานประกันสังคม (สปส.) และกรมบัญชีกลางและสมาคมโรงพยาบาลเอกชน ได้ร่วมกันหาทาง แก้ปัญหาดังกล่าวด้วยการเห็นสมควรกาหนดให้มีแนวทางการปฏิบัติในการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยฉุกเฉิน วิกฤตขึ้นใหม่ ตามนโยบาย “เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่” โดยไม่มีเงื่อนไขในการเรียกเก็บค่า รักษาพยาบาล เพื่อให้ไม่เป็นอุปสรรคและความเสี่ยงของการดูแลรักษา (สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน, 2560) สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติได้จัดตั้งศูนย์ประสานคุ้มครองสิทธิผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต (UCEP coordinating Center) และเป็นศูนย์กลางประสานการย้ายกลับผู้ป่วยให้กับ โรงพยาบาล คู่สัญญา แจ้งกองทุนเจ้าของสิทธิเพื่อดาเนินการรับย้ายตามแนวทางของกองทุน รวมถึงเป็นศูนย์รับเรื่อง ร้องเรียนและให้คาปรึกษาแก่ประชาชน ตลอด 24 ชั่วโมง ตามนโยบายรัฐบาล คุณลักษณะของUCEP คือ ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตจะสามารถใช้สิทธิ์เข้ารักษาในโรงพยาบาล เอกชนในพื้นที่ใกล้ที่อยู่อาศัย และเป็นโรงพยาบาลเอกชนนอกคู่สัญญากับกองทุนที่ผู้ป่วยมีสิทธิ์เริ่มจาก สามกองทุนคือ สปสช. สานักงานประกันสังคมและกรมบัญชีกลาง ใน 72 ชั่วโมงแรก ผู้ป่วยไม่ต้องเสีย ค่าใช้จ่าย เพื่อให้ได้รับความช่วยเหลืออย่างปลอดภัยโดยไม่มีเงื่อนไข หลังจากนั้นผู้ป่วยสามารถย้าย กลับรพ.คู่สัญญาภายในเวลา 72 ชั่วโมง หรือรพ.เอกชน กลุ่มที่สมัครใจเป็นรพ.รับย้ายได้เมื่อผู้ป่วย พร้อมและก่อนครบ 72 ชั่วโมง ซึ่งหลัง 72 ชั่วโมง หากย้ายไม่ได้ ให้คิดค่าบริการได้ตามปกติ เว้นแต่มี ข้อตกลงอื่นกับกองทุน หรือหากไม่ใช่ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต การคิดค่าใช้จ่ายให้เป็นไปตามระบบปกติ 8.6 การคัดแยกผู้ป่วยในเหตุอุบัติภัยหมู่ อุบัติเหตุหมู่ (mass casualty) หมายถึง การบาดเจ็บอุบัติเหตุคราวเดียวกันเป็นจานวนมากเกิน ขีดความสามารถของโรงพยาบาลที่จะให้การรักษาตามปกติได้ บทบาทของชุดปฏิบัติการฉุกเฉินเบื้องต้นชุดแรกที่มาถึงจุดเกิดเหตุกรณีอุบัติภัยหมู่คือ 1) ช่วยจัดเตรียมพื้นที่จุดต่างๆตามการสั่งการของ commander 2) ป้องกันตัวเองและควบคุมสถานการณ์ให้ปลอดภัยร่วมกับทีมตารวจกู้ภัยดับเพลิง 3) สื่อสารข้อมูลสถานการณ์ไปยังจุดรับแจ้งเหตุและสั่งการ 4) ช่วยประเมินสถานการณ์ 5) นาผู้บาดเจ็บออกจากซากรถหรือซากปรักหักพัง 6) ช่วยคัดแยกผู้บาดเจ็บจากจุดเกิดเหตุ 7) ช่วยเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บจากจุดเกิดเหตุมายังจุดรักษาพยาบาล 8) ช่วยปฐมพยาบาลณจุดรักษาพยาบาล 9) ช่วยเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บจากจุดรักษาพยาบาลนาขึ้นรถพยาบาลฉุกเฉินและนาส่งโรงพยาบาล
  • 7. แนวคิดในการปรับเปลี่ยนใการควบคุมสถานการณ์ด้านสาธารณภัย 1) ทีมกู้ชีพทีมแรกต้องไม่ด่วนเข้าช่วยผู้ป่วย 2) ต้องมีการกาหนดให้มีพื้นที่สาคัญเพื่อปฏิบัติงานควบคุมสถานการณ์ 3) ต้องนาคนเจ็บมารวมกันที่จุดรักษาพยาบาล 4) ต้องคัดแยกก่อน ให้การเข้าช่วยที่จุดรักษาพยาบาล 5) ต้องกาหนดให้มีผู้ทาหน้าที่เป็น Field Commander 6) ต้องมีข้อมูลเพื่อการนาส่งคนไข้ไปยังเครือข่ายที่เหมาะสม 7) ผู้บริหารระดับสูงจะต้องสามารถบัญชาการได้โดยไม่ต้องมาณจุดเกิดเหตุ 8) ทีมงานทุกคนต้องมีความปลอดภัยในการทางาน
  • 8. การกั้นแบ่งพื้นที่เป็นการกาหนดความชัดเจนของแต่ละพื้นที่ซึ่งอาจใช้แถบสีต่างๆของตารวจ หรือวัสดุอย่างอื่นเพื่อแบ่งกัน และเลือกจะให้ใครเข้าออกบริเวณต่างๆโดย 1) เขตควบคุมชั้นใน จะล้อมรอบเหตุการณ์ทั้งหมดไว้มักใช้รถตารวจส่วนเขตควบคุมชั้นในใช้เป็น พื้นที่คัดแยกผู้ป่วยณจุดเกิดเหตุและเจ้าหน้าที่จะได้รับการฝึกฝนมาอย่างเหมาะสมแล้วเท่านั้นใน การทางานเข้าพื้นที่นี้ได้การทางานในพื้นที่นี้จะต้องรีบเข้าและออกจากพื้นที่ให้เร็วที่สุดเท่าที่ จาเป็น 2) เขตควบคุมชั้นนอก เป็นพื้นที่ที่ใช้คัดแยกผู้ป่วยเป็นครั้งที่ 2 ทาการปฐมพยาบาลและเป็นจุดรับ ผู้ป่วยโดยรถพยาบาลภายใต้การควบคุมการเข้าออกพื้นที่และการจัดการจราจรโดยเคร่งครัดตาม หลักปฏิบัติผู้บัญชาการเหตุจะทาหน้าที่ควบคุมการสั่งการจากพื้นที่ชั้นนี้และผู้ที่จะเข้าพื้นที่ส่วนนี้ได้ จะต้องเป็นผู้ได้รับอนุญาตจากการบัญชาการเหตุและมีเครื่องหมายแสดงประจาตัวอย่างชัดเจน
  • 9. วิธีการคัดแยกผู้ป่วย ณ จุดเกิดเหตุ แยกกลุ่มผู้ป่วยที่เดินได้ ประกาศว่า “ใครที่ได้ยินผมและต้องการความ่วยเหลือ ขอให้เดินไปที่ธงสีเขียว” แยกกลุ่มผู้ป่วยที่รู้ตัวและทาตามคาสั่งได้ บอกผู้บาดเจ็บที่เหลือ “ทุกคนที่ได้ยินผลให้ยกมือหรือเท้า ขึ้น แล้วเราจะไปช่วยคุณ” แยกแยะคนที่เหลือ เข้าไปประเมินผู้ป่วยที่เหลือทันทีแล้วให้การช่วยเหลือ สรุปง่ายๆคือ เรื่องควรรู้ : ระเบียบและกลไกการคลังในการให้การบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน การสนับสนุนงบประมาณสาหรับการบริการการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาล(Prehospital care) เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติในปี 2546 โดยมีการตั้งงบประมาณใน ลักษณะรายหัวประชากร (10 บาท) และมีการส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามีบทบาทใน การจัดให้มีหน่วยปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินระดับต้น แต่หลังจากมีพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉินและมีสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ การ สนับสนุนงบประมาณจากระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจึงยุติลง โดย สพฉ. เป็นหน่วยตั้ง งบประมาณสนับสนุนแทนซึ่งงบประมาณที่ สพฉ. ได้รับสนับสนุนนั้นไม่ได้คิดในรูปเหมาจ่ายรายหัว เหมือนของ สปสช. แต่เป็นการคาดการณ์จากจานวนการออกปฏิบัติการในปีที่ผ่านมา โดยใน ปีงบประมาณ 2555 สพฉ.ได้รับงบสนับสนุนจากรัฐบาลจานวน 827.9 ล้านบาท แยกเป็นงบกองทุนหรือ งบชดเชยปฏิบัติการร้อยละ 68.5 ร้อยละ 8.9 เป็นงบพัฒนาระบบ EMS ที่จัดสรรให้จังหวัด เป็นงบ บริหารร้อยละ 21 และงบกลางซึ่งสวนใหญ่จะนาไปใช้ในการสนับสนุนค่าชดเชยปฏิบัติการที่ไม่เพียงพอ ประเมินรายบุคคล (Individual Assesment) ประเมินตามรหัสสี แดง เหลือง เขียว แยกคร่าวๆ (Global sort)
  • 10. และกรณีที่เกิดภัยพิบัติต่างๆ ฯลฯ ร้อยละ 1.6 งบประมาณดังกล่าวไม่รวมเงินเดือนและค่าจ้างเจ้าหน้าที่ ด้านการแพทย์ฉุกเฉินซึ่งส่วนใหญ่จ้างโดยหน่วยงานสาธารณสุขหรือองค์กรปกครองท้องถิ่นนั้นๆ ตารางที่ 7.1 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจ่ายเงินอุดหนุนหรือชดเชยปฏิบัติการฉุกเฉินทางบก แหล่งข้อมูล : สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ, 2557 ทั้งนี้ในการบริหารงบประมาณชดเชยปฏิบัติการนั้น เป็นการจ่ายค่าบริการให้แก่หน่วย ปฏิบัติการระดับตางๆ ตามจานวนครั้งที่ออกปฏิบัติการที่ผ่านระบบ 1669 ในอัตราที่ สพฉ. กาหนด ด้วย การสนับสนุนทั้งจาก สปสช. ในระยะต้น และ สพฉ. ในระยะที่ผ่านมา ส่งผลให้มีการขยายจานวนหน่วย ปฏิบัติการระดับต่างๆ เป็นอย่างมาก และจานวนการออกปฏิบัติการของหน่วยกู้ชีพระดับต่างๆ ก็เพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็วเช่นกัน แต่อีกด้านหนึ่งเมื่อพบว่ามีความแปรปรวนของอัตราการออกปฏิบัติการเมื่อเทียบ กับจานวนประชากรรวมถึงอัตราการรับผู้ป่วยไว้รักษาตัวในโรงพยาบาลที่ต่างกันในแต่ละพื้นที่ ทาให้ เกิดคาถามถึงประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากรที่มีจากัดและทาให้ค่าใช้จ่ายในระบบเพิ่มสูงขึ้นจน งบประมาณที่ได้รับไม่เพียงพอในการออกปฏิบัติการ ซึ่งหลักเกณ์และเงื่อนไขการจ่ายเงินอุดหนุนหรือ ชดเชยการปฏิบัติการตามบัญชี ก.1 การเหมาจ่ายค่าพาหนะ ค่าปฏิบัติงาน ยา เวชภัณฑ์หรืออุปกรณ์ ต่างๆในการปฏิบัติงานตามระดับความรุนแรงของผู้ป่วยฉุกเฉิน หมายเหตุ (ก) กรณียกเลิก ไม่พบเหตุ เสียชีวิตก่อนไปถึง ให้หมายรวมถึง กรณีการคัดแยกป่วยโดยศูนย์ฯ สั่งการเป็นผู้ป่วยฉุกเฉิน แต่ชุดปฏิบัติการนาส่งโดยไม่มีปฏิบัติการแพทย์ขั้นสูงและประเมิน ณ สถานพยาบาล พบว่าเป็นผู้ป่วยทั่วไป (ข) กรณีตาบลที่เกิดเหตุอยู่ห่างจากรพ.ที่รับผู้ป่วยมากกว่า 10 กิโลเมตร ให้จ่ายเพิ่มโดยคานวณ ระยะทางเฉลี่ยจากทุกหมู่บ้านในตาบลนั้นไปยังโรงพยาบาลตามการอานวยการหรือคาสั่งของศูนย์สั่ง การส่วนที่เกิน 10 กิโลเมตร ให้คิดเพิ่มกิโลเมตรละไม่เกิน 10 บาท แต่รวมแล้วไม่เกิน 100 บาท และ
  • 11. เพื่อให้การดาเนินการเบิกจ่ายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและสะดวกกับผู้ปฏิบัติงานในแต่ละจังหวัด ควร จัดทาข้อมูลอัตราการจ่ายเพิ่มของทุกตาบลที่มีระยะทางเฉลี่ยเกิน 10 กิโลเมตร โดยให้คณะอนุกรรมการ การแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเห็นชอบ (ค) กรณีมีความจาเป็นต้องระดมชุดปฏิบัติการนอกพื้นที่เข้าช่วยเหลือหรือร่วมซ้อมแผนเสมือน จริงตาม คาสั่งของเลขาธิการ สพฉ. ให้จ่ายเงินเพิ่มเติมจากอัตราบัญชี ก 1 แก่หน่วยปฏิบัติการ สถานพยาบาลหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดังนี้ - ระยะทางในการเดินทางไปและกลับจากนอกพื้นที่เข้าร่วมซ้อมแผนเสมือนจริง จ่ายตาม ระยะทางในอัตรา 4 บาทต่อกิโลเมตร - การดาเนินการเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉินยากลาบากหรือพื้นที่พิเศษ จาเป็นต้องใช้รถขับเคลื่อน 4 ล้อ จ่ายเงินเพิ่มอีก 100 บาทต่อครั้ง - การดาเนินการเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉินยากลาบากหรือในพื้นที่พิเศษ จาเป็นต้องใช้รถ 6 ล้อขึ้นไป จ่ายเงินเพิ่มอีก 400 บาทต่อครั้ง คาอธิบาย 1) กรณีรักษาเสียชีวิตขณะนาส่ง/รักษาเสียชีวิตในที่เกิดเหตุให้ถือว่าเป็นผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต (สี แดง) 2) ยกเลิก หมายถึง ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการจังหวัด สั่งยกเลิกการออกปฏิบัติงาน ขณะชุด ปฏิบัติการของหน่วยปฏิบัติการออกจากฐานที่ตั้งไปแล้ว 3) ไม่พบเหตุ หมายถึง เมื่อชุดปฏิบัติการออกปฏิบัติการแล้วไม่พบเหตุ เนื่องจากมีการ ช่วยเหลือไปก่อน หรือเป็นการแจ้งเหตุเท็จ 4) ผู้ป่วยเสียชีวิตก่อนไปถึง หมายถึง เมื่อชุดปฏิบัติการไปถึงที่เกิดเหตุพบว่าผู้ป่วยเสียชีวิตแล้ว และไม่ได้ทาการช่วยพื้นคืนชีพ (CPR) 5) *หมายถึง ขณะสั่งการประเมินว่าเป็นผู้ป่วยวิกฤต (สีแดง) ผู้ป่วยเร่งด่วน (สีเหลือง) ผู้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรง (สีเขียว) มีการนาส่ง เมื่อมีการประเมิน ณ สถานพยาบาล พบว่าเป็นป่วยทั่วไป จ่ายตามอัตราหลักเกณฑ์ข้างต้นและให้หมายรวมถึงผู้ป่วยปฏิเสธการรักษา/ไม่ประสงค์จะไป สถานพยาบาลด้วย 6) กรณีชุดปฏิบัติการฉุกเฉินทุกระดับ ปฐมพยาบาล ณ จุดเกิดเหตุ แล้วขอสนับสนุนชุด ปฏิบัติการฉุกเฉินเพิ่มเติมตามความเหมาะสม จะจ่ายค่าชดเชยการปฏิบัติให้ชุดปฏิบัติการทั้งหมด ตาม ระดับความรุนแรงของผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน 7) กรณีมีผู้บาดเจ็บฉุกเฉินหลายราย หรือกรณีเกิดอุบัติเหตุหมู่ จะจ่ายจริงตามจานวนเที่ยวการ นาส่งผู้บาดเจ็บ โดยอยู่ในดุลพินิจของศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการจังหวัด ที่เป็นผู้พิจารณาในการนาส่ง ผู้บาดเจ็บ