SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 22
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ระบบปฏิบัติการ
(Operating System)
Krusine_com
ความหมายของระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS) คือโปรแกรมที่ทาหน้าที่
ในการจัดการระบบเพื่อติดต่อระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ประเภทต่างๆ
ให้สะดวกมากขึ้น เปรียบเสมือนเป็นตัวกลางคอยจัดการระบบคอมพิวเตอร์
ระหว่างโปรแกรมกับฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์บางครั้งเราอาจเห็น
ระบบปฏิบัติการเป็น เฟิร์มแวร์ ก็ได้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและ
เป็นที่รู้จักกันดี เช่น ดอส วินโดวส์ ยูนิกซ์ ลีนุกซ์ และแมคอินทอช
เป็นต้น
ประเภทของระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1. ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (Stan-alone Operating System) เป็น
ระบบปฏิบัติการที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการแก่ผู้ใช้เพียงคนเดียว
เช่น การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ภายในบ้าน หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ภายใน
สานักงานในการพิมพ์เอกสาร การดูหนัง ฟังเพลง หรือการนาไปเชื่อมต่อ
กับระบบอินเทอร์เน็ต เป็นต้น ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้ เช่น DOS,
Windows XP, Windows Vista เป็นต้น
ประเภทของระบบปฏิบัติการ (ต่อ)
2. ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (Network Operating System) เป็น
ระบบปฏิบัติการที่รองรับการทางานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มี
รูปแบบการทางานแบบ Multi user ใช้สาหรับการปฏิบัติงานภายในองค์กร
หรือหน่วยงานทั่วๆ ไป โดยการติดตั้งระบบปฏิบัติการชนิดนี้จะใช้สาหรับ
ระบบเครือข่ายแบบไคลเอนท์เซิร์ฟเวอร์ (Client/Server) ติดตั้ง
ระบบปฏิบัติการไว้ที่เครื่องเซิร์ฟเวอร์ (Server) เพื่อทาหน้าที่เป็นผู้ให้บริการ
ข้อมูล ส่งข้อมูลไปยังผู้ใช้แต่ละคนภายในระบบ ระบบปฏิบัติการที่นิยม
ใช้ เช่น Unix, Linux, Windows เป็นต้น
ประเภทของระบบปฏิบัติการ (ต่อ)
3. ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (Embeded Operating System) เป็น
ระบบปฏิบัติการที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ชนิดพกพาทั่วๆ ไป เช่น Palm, Pocket,
Pc, Smart Phone เป็นต้น อุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาปัจจุบันได้รับความ
นิยมอย่างแพร่หลาย เนื่องจากสามารถนามาใช้เป็นอุปกรณ์สื่อสาร
บันทึกข้อมูล ดูหนัง ฟังเพลง และเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ตได้อีกด้วย
ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้ เช่น Pocket PC OS, Palm OS เป็นต้น
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการจะอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์
ในลักษณะที่ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องทราบกลไกการทางานหรือฮาร์ดแวร์ของระบบ
แบ่งออกได้ดังนี้
1. ติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface) คือ ผู้ที่ใช้สามารถติดต่อหรือ
ควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านทางด้านระบบปฏิบัติการ
โดยที่ระบบปฏิบัติการนั้นจะส่งข้อความตอบโต้ไปยังผู้ใช้เพื่อที่จะให้ผู้ใช้ป้อน
คาสั่งหรือสั่งการด้วยอุปกรณ์รับข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่ ในขณะเดียวกัน
ก็ทาหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างโปรมแกรมประยุกต์ต่างๆ เพื่อติดต่อกับ
เครื่องคอมพิวเตอร์ขณะที่เราใช้งานด้วย
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ (ต่อ)
2. ควบคุมดูแลอุปกรณ์และการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์
เนื่องจากผู้ใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านทางระบบปฏิบัติการ อาจไม่จาเป็น
ต้องมีความรู้ความเข้าใจถึงหลักการทางานภายในเครื่องคอมพิวเตอร์
ดังนั้นระบบปฏิบัติการจึงต้องมีหน้าที่ควบคุมดูแลการทางานของอุปกรณ์
ต่างๆ เพื่อให้การทางานของระบบเป็นไปได้อย่างถูกต้องและสอดคล้อง
3. จัดสรรทรัพยากรต่างๆ ในระบบ
ทรัพยากร (Resource) คือ สิ่งที่ถูกใช้ไปเพื่อให้โปรแกรมดาเนินต่อไป
ได้ เช่น หน่วยประมวลผล (CPU) หน่วยความจา (Memory)
อุปกรณ์รับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ (ต่อ)
ดังนั้นระบบปฏิบัติการจะต้องจัดสรรทรัพยากรเหล่านี้เพื่อให้เกิดประโยชน์
สูงสุด ถ้าระบบปฏิบัติการสามารถจัดสรรทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ
แล้ว การทางานของโปรแกรมต่างๆ ก็สามารถทาให้ได้รวดเร็ว และได้
ปริมาณงานเพิ่มขึ้นด้วย
ระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยม
>> ดอส (Disk Operating System : DOS) เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงาน
ที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คาสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟต์แวร์
ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในอดีต ปัจจุบันระบบปฏิบัติการ
ดอสนั้นมีการใช้งานน้อยมาก
ระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยม (ต่อ)
>> วินโดวส์ (Windows) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส โดยให้
ผู้ใช้สามารถสั่งงานได้จากเมาส์มากขึ้นแทนการใช้แผงแป้นอักขระเพียงอย่าง
เดียว นอกจากนี้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ยังสามารถทางานหลายงานพร้อม
กันได้ โดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างบนจอภาพ การใช้งาน
เน้นรูปแบบกราฟิก ผู้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้เพื่อเลือกตาแหน่งที่
ปรากฏบนจอภาพ ทาให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่าย
ระบบปฏิบัติการวินโดวส์จึงได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน
ระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยม (ต่อ)
>> ยูนิกซ์ (Unix) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่อง
มินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์เป็นระบบปฏิบัติการที่เป็นเทคโนโลยี
แบบเปิด (open system) ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องผูกติดกับระบบใด
ระบบหนึ่งหรือใช้อุปกรณ์ที่มียี่ห้อเดียวกัน
ยูนิกซ์ยังถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองการใช้งานในลักษณะที่มีผู้ใช้ได้
หลายคนในเวลาเดียวกันที่เรียกว่า ระบบหลายผู้ใช้ (multiusers) และ
สามารถทางานได้หลายๆ งานในเวลาเดียวกันในลักษณะที่เรียกว่า
ระบบหลายภารกิจ (multitasking) ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์จึงนิยมใช้กับ
เครื่องที่เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายเพื่อใช้งานร่วมกันหลายๆ เครื่องพร้อมกัน
ระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยม (ต่อ)
>> ลีนุกซ์ (linux) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาจากระบบยูนิกซ์
เป็นระบบซึ่งมีการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนา
คุณสมบัติของระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากมี
โปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ที่ทางานบนระบบลีนุกซ์จานวนมาก โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งโปรแกรมในกลุ่มของกูส์นิว (GNU) และสิ่งที่สาคัญที่สุดก็คือ
ระบบลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการประเภทแจกฟรี (Free Ware)
ผู้ใช้สามารถใช้งานได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
ระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยม (ต่อ)
>> แมคอินทอช (macintosh) เป็นระบบปฏิบัติการสาหรับเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอช ส่วนมากนาไปใช้งานด้านกราฟิก
ออกแบบและจัดแต่งเอกสาร นิยมใช้ในสานักพิมพ์ต่างๆ
นอกจากระบบปฏิบัติการที่กล่าวมาแล้วยังมีระบบปฏิบัติการอีกมาก เช่น
ระบบปฏิบัติการที่ใช้ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางาน
ร่วมกันเป็นระบบ เช่น ระบบปฏิบัติการเน็ตแวร์ นอกจากนี้ยังมี
ระบบปฏิบัติการที่ใช้งานเฉพาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นมา
เพื่องานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในห้องปฏิบัติการ
คอมพิวเตอร์ในสถาบันการศึกษา
การใช้งานระบบปฏิบัติการ Windows 8
Windows 8 คือ ระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาจาก Windows 7 ซึ่ง
ระบบปฏิบัติการนี้จะมีคุณสมบัติที่เน้นการทางานกับอุปกรณ์ที่หลากหลายขึ้น
ซึ่งสามารถใช้กับโน๊ตบุ๊ค (Notebook) คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC)
แท็บเล็ต (Tablet) โทรศัพท์มือถือ (Smart Phone) และสามารถใช้งานใน
รูปแบบของจอสัมผัส (Touch Screen) ได้ด้วย
การใช้งานระบบปฏิบัติการ Windows 8 (ต่อ)
ระบบปฏิบัติการ Windows 8 สามารถรองรับกับเครื่องคอมพิวเตอร์
เครื่องเก่า หรือโน๊ตบุ๊คเครื่องเก่าได้ ซึ่งไม่มีปัญหาในการใช้งาน
เพราะระบบปฏิบัติการ Windows 8 รองรับได้ตั้งแต่ CPU RAM 1 GHz
ในแท็บเล็ต (Tablet) ทาให้ระบบปฏิบัติการที่ใช้ทรัพยากรเครื่องน้อยมาก
(น้อยกว่าระบบ Windows 7) และง่ายต่อการพัฒนา Application ซึ่ง
พัฒนา Application ในครั้งเดียว ยังสามารถใช้ได้กับทุกอุปกรณ์ได้
การใช้งานระบบปฏิบัติการ Windows 8 (ต่อ)
>> ส่วนประกอบต่างๆ ในหน้าจอ Start Screen
การใช้งานระบบปฏิบัติการ Windows 8 (ต่อ)
>> เริ่มต้นใช้งาน Windows 8 การใช้ Windows 8 มี Mode การใช้
งาน 2 Mode ดังนี้ 1. Start Screen
2. Windows
การใช้งานระบบปฏิบัติการ Windows 8 (ต่อ)
>> แนะนาการใช้สตาร์ทสกรีน (Start Screen)
เข้าสู่หน้าจอแบบ Start Screen โดย
วิธีที่ 1 : กดปุ่ม Windows (ที่คีย์บอร์ด)
วิธีที่ 2 : กดปุ่ม Ctrl + Esc
วิธีที่ 3 : เลื่อนเมาส์ไปที่บริเวณมุมซ้ายล่างสุดจะแสดงแถบ
Start Screen แล้วทาการคลิกหน้าจอ Start Screen ขนาดเล็ก
การใช้งานระบบปฏิบัติการ Windows 8 (ต่อ)
>> การ Shut down คอมพิวเตอร์
1. กดปุ่ม Windows เลื่อนเมาส์ไปแตะมุมบนขวาสุด
2. คลิกที่ Setting คลิกที่ Power > Shutdown
- คลิกหรือแตะ Brightness ปรับความสว่างให้กับหน้าจอ
- คลิกหรือแตะ Sound ปรับความดังให้กับหน้าจอ
- คลิกหรือแตะ Network ปรับการเชื่อมต่อระบบ Network
- คลิกหรือแตะ Notifications ปรับการแจ้งเตือนของ
Windows 8 Network
การใช้งานระบบปฏิบัติการ Windows 8 (ต่อ)
- คลิกหรือแตะ Power ปิดคอมพิวเตอร์ หรือล็อกเอาท์ออกจาก
User Account ของ Windows 8
- คลิกหรือแตะ Keyboard ปรับเปลี่ยนภาษาที่คีย์บอร์ด
การใช้งานระบบปฏิบัติการ Windows 8 (ต่อ)
>> การค้นหา Application โดยใช้ Charm Bar Search
1. เลื่อนเมาส์ไปที่ตาแหน่งขวาบนสุด หรือกดปุ่ม Windows + C
แสดง Charm Bar ขึ้นมา
2. คลิกในส่วนของ Search จะปรากฏหน้าจอส่วนด้านล่างนี้
3. ในส่วนของ Search แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ Application,
Settings, Files
ซึ่งผู้ใช้งานสามารถคลิกเลือกการค้นหาได้ตามต้องการ
และพิมพ์คาที่จะค้นหาตามต้องการ
การใช้งานระบบปฏิบัติการ Windows 8 (ต่อ)

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอร
Tay Atcharawan
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
Aungkana Na Na
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Noppakhun Suebloei
 
3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ
kasetpcc
 
สื่อการสอนคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น 1
สื่อการสอนคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น 1สื่อการสอนคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น 1
สื่อการสอนคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น 1
Chaiyaporn Puttachot
 
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
lek5899
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
Kanistha Chudchum
 
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้านโครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
Mo Taengmo
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
ปยล วชย.
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
พัน พัน
 

Was ist angesagt? (20)

โปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอร
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ
 
สื่อการสอนคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น 1
สื่อการสอนคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น 1สื่อการสอนคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น 1
สื่อการสอนคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น 1
 
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
คค
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
 
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
 
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตรชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
 
ใบงานที่ 6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
ใบงานที่  6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งานใบงานที่  6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
ใบงานที่ 6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
 
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
 
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้านโครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
 
Operating System Chapter 3
Operating System Chapter 3Operating System Chapter 3
Operating System Chapter 3
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 

Ähnlich wie ระบบปฏิบัติการ

องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
jiratchayalert
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
Lookked2122
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
Aphison Pukon
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
Aphison Pukon
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
Aphison Pukon
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
onthicha1993
 
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
wiratchadaporn
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
Rawiwan Kashornchan
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
onthicha1993
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
Wirot Chantharoek
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
Lookked2122
 
Powerpoint templat3 1_
Powerpoint templat3 1_Powerpoint templat3 1_
Powerpoint templat3 1_
preawywp
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
runjaun
 

Ähnlich wie ระบบปฏิบัติการ (20)

Work3-ศวิตา40
Work3-ศวิตา40Work3-ศวิตา40
Work3-ศวิตา40
 
Learnning 04
Learnning 04Learnning 04
Learnning 04
 
บทที่3-49
บทที่3-49บทที่3-49
บทที่3-49
 
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
 
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
 
iam
iamiam
iam
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
 
Work3 48
Work3 48Work3 48
Work3 48
 
Powerpoint templat3 1_
Powerpoint templat3 1_Powerpoint templat3 1_
Powerpoint templat3 1_
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 

Mehr von Krusine soyo

ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
Krusine soyo
 
ปฐมนิเทศ
ปฐมนิเทศปฐมนิเทศ
ปฐมนิเทศ
Krusine soyo
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Krusine soyo
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Krusine soyo
 
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)
Krusine soyo
 
ใบงาน เรื่อง อุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงาน  เรื่อง อุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบคอมพิวเตอร์ใบงาน  เรื่อง อุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงาน เรื่อง อุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบคอมพิวเตอร์
Krusine soyo
 
ใบงาน เรื่อง ฮาร์ดแวร์
ใบงาน  เรื่อง ฮาร์ดแวร์ใบงาน  เรื่อง ฮาร์ดแวร์
ใบงาน เรื่อง ฮาร์ดแวร์
Krusine soyo
 
การเข้าหัว RJ-45 (CAT5)
การเข้าหัว RJ-45 (CAT5) การเข้าหัว RJ-45 (CAT5)
การเข้าหัว RJ-45 (CAT5)
Krusine soyo
 

Mehr von Krusine soyo (9)

ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ปฐมนิเทศ
ปฐมนิเทศปฐมนิเทศ
ปฐมนิเทศ
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)
 
ใบงาน เรื่อง อุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงาน  เรื่อง อุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบคอมพิวเตอร์ใบงาน  เรื่อง อุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงาน เรื่อง อุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบคอมพิวเตอร์
 
ใบงาน เรื่อง ฮาร์ดแวร์
ใบงาน  เรื่อง ฮาร์ดแวร์ใบงาน  เรื่อง ฮาร์ดแวร์
ใบงาน เรื่อง ฮาร์ดแวร์
 
การเข้าหัว RJ-45 (CAT5)
การเข้าหัว RJ-45 (CAT5) การเข้าหัว RJ-45 (CAT5)
การเข้าหัว RJ-45 (CAT5)
 
Hardware
HardwareHardware
Hardware
 

ระบบปฏิบัติการ

  • 2. ความหมายของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS) คือโปรแกรมที่ทาหน้าที่ ในการจัดการระบบเพื่อติดต่อระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ประเภทต่างๆ ให้สะดวกมากขึ้น เปรียบเสมือนเป็นตัวกลางคอยจัดการระบบคอมพิวเตอร์ ระหว่างโปรแกรมกับฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์บางครั้งเราอาจเห็น ระบบปฏิบัติการเป็น เฟิร์มแวร์ ก็ได้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและ เป็นที่รู้จักกันดี เช่น ดอส วินโดวส์ ยูนิกซ์ ลีนุกซ์ และแมคอินทอช เป็นต้น
  • 3. ประเภทของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (Stan-alone Operating System) เป็น ระบบปฏิบัติการที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการแก่ผู้ใช้เพียงคนเดียว เช่น การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ภายในบ้าน หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ภายใน สานักงานในการพิมพ์เอกสาร การดูหนัง ฟังเพลง หรือการนาไปเชื่อมต่อ กับระบบอินเทอร์เน็ต เป็นต้น ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้ เช่น DOS, Windows XP, Windows Vista เป็นต้น
  • 4. ประเภทของระบบปฏิบัติการ (ต่อ) 2. ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (Network Operating System) เป็น ระบบปฏิบัติการที่รองรับการทางานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มี รูปแบบการทางานแบบ Multi user ใช้สาหรับการปฏิบัติงานภายในองค์กร หรือหน่วยงานทั่วๆ ไป โดยการติดตั้งระบบปฏิบัติการชนิดนี้จะใช้สาหรับ ระบบเครือข่ายแบบไคลเอนท์เซิร์ฟเวอร์ (Client/Server) ติดตั้ง ระบบปฏิบัติการไว้ที่เครื่องเซิร์ฟเวอร์ (Server) เพื่อทาหน้าที่เป็นผู้ให้บริการ ข้อมูล ส่งข้อมูลไปยังผู้ใช้แต่ละคนภายในระบบ ระบบปฏิบัติการที่นิยม ใช้ เช่น Unix, Linux, Windows เป็นต้น
  • 5. ประเภทของระบบปฏิบัติการ (ต่อ) 3. ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (Embeded Operating System) เป็น ระบบปฏิบัติการที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ชนิดพกพาทั่วๆ ไป เช่น Palm, Pocket, Pc, Smart Phone เป็นต้น อุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาปัจจุบันได้รับความ นิยมอย่างแพร่หลาย เนื่องจากสามารถนามาใช้เป็นอุปกรณ์สื่อสาร บันทึกข้อมูล ดูหนัง ฟังเพลง และเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ตได้อีกด้วย ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้ เช่น Pocket PC OS, Palm OS เป็นต้น
  • 6. หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการจะอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ในลักษณะที่ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องทราบกลไกการทางานหรือฮาร์ดแวร์ของระบบ แบ่งออกได้ดังนี้ 1. ติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface) คือ ผู้ที่ใช้สามารถติดต่อหรือ ควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านทางด้านระบบปฏิบัติการ โดยที่ระบบปฏิบัติการนั้นจะส่งข้อความตอบโต้ไปยังผู้ใช้เพื่อที่จะให้ผู้ใช้ป้อน คาสั่งหรือสั่งการด้วยอุปกรณ์รับข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่ ในขณะเดียวกัน ก็ทาหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างโปรมแกรมประยุกต์ต่างๆ เพื่อติดต่อกับ เครื่องคอมพิวเตอร์ขณะที่เราใช้งานด้วย
  • 7. หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ (ต่อ) 2. ควบคุมดูแลอุปกรณ์และการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เนื่องจากผู้ใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านทางระบบปฏิบัติการ อาจไม่จาเป็น ต้องมีความรู้ความเข้าใจถึงหลักการทางานภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้นระบบปฏิบัติการจึงต้องมีหน้าที่ควบคุมดูแลการทางานของอุปกรณ์ ต่างๆ เพื่อให้การทางานของระบบเป็นไปได้อย่างถูกต้องและสอดคล้อง 3. จัดสรรทรัพยากรต่างๆ ในระบบ ทรัพยากร (Resource) คือ สิ่งที่ถูกใช้ไปเพื่อให้โปรแกรมดาเนินต่อไป ได้ เช่น หน่วยประมวลผล (CPU) หน่วยความจา (Memory) อุปกรณ์รับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
  • 9. ระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยม >> ดอส (Disk Operating System : DOS) เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงาน ที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คาสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟต์แวร์ ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในอดีต ปัจจุบันระบบปฏิบัติการ ดอสนั้นมีการใช้งานน้อยมาก
  • 10. ระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยม (ต่อ) >> วินโดวส์ (Windows) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส โดยให้ ผู้ใช้สามารถสั่งงานได้จากเมาส์มากขึ้นแทนการใช้แผงแป้นอักขระเพียงอย่าง เดียว นอกจากนี้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ยังสามารถทางานหลายงานพร้อม กันได้ โดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างบนจอภาพ การใช้งาน เน้นรูปแบบกราฟิก ผู้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้เพื่อเลือกตาแหน่งที่ ปรากฏบนจอภาพ ทาให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่าย ระบบปฏิบัติการวินโดวส์จึงได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน
  • 11. ระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยม (ต่อ) >> ยูนิกซ์ (Unix) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่อง มินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์เป็นระบบปฏิบัติการที่เป็นเทคโนโลยี แบบเปิด (open system) ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องผูกติดกับระบบใด ระบบหนึ่งหรือใช้อุปกรณ์ที่มียี่ห้อเดียวกัน ยูนิกซ์ยังถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองการใช้งานในลักษณะที่มีผู้ใช้ได้ หลายคนในเวลาเดียวกันที่เรียกว่า ระบบหลายผู้ใช้ (multiusers) และ สามารถทางานได้หลายๆ งานในเวลาเดียวกันในลักษณะที่เรียกว่า ระบบหลายภารกิจ (multitasking) ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์จึงนิยมใช้กับ เครื่องที่เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายเพื่อใช้งานร่วมกันหลายๆ เครื่องพร้อมกัน
  • 12. ระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยม (ต่อ) >> ลีนุกซ์ (linux) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาจากระบบยูนิกซ์ เป็นระบบซึ่งมีการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนา คุณสมบัติของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากมี โปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ที่ทางานบนระบบลีนุกซ์จานวนมาก โดยเฉพาะ อย่างยิ่งโปรแกรมในกลุ่มของกูส์นิว (GNU) และสิ่งที่สาคัญที่สุดก็คือ ระบบลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการประเภทแจกฟรี (Free Ware) ผู้ใช้สามารถใช้งานได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
  • 13. ระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยม (ต่อ) >> แมคอินทอช (macintosh) เป็นระบบปฏิบัติการสาหรับเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอช ส่วนมากนาไปใช้งานด้านกราฟิก ออกแบบและจัดแต่งเอกสาร นิยมใช้ในสานักพิมพ์ต่างๆ นอกจากระบบปฏิบัติการที่กล่าวมาแล้วยังมีระบบปฏิบัติการอีกมาก เช่น ระบบปฏิบัติการที่ใช้ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางาน ร่วมกันเป็นระบบ เช่น ระบบปฏิบัติการเน็ตแวร์ นอกจากนี้ยังมี ระบบปฏิบัติการที่ใช้งานเฉพาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นมา เพื่องานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในห้องปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ในสถาบันการศึกษา
  • 14. การใช้งานระบบปฏิบัติการ Windows 8 Windows 8 คือ ระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาจาก Windows 7 ซึ่ง ระบบปฏิบัติการนี้จะมีคุณสมบัติที่เน้นการทางานกับอุปกรณ์ที่หลากหลายขึ้น ซึ่งสามารถใช้กับโน๊ตบุ๊ค (Notebook) คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC) แท็บเล็ต (Tablet) โทรศัพท์มือถือ (Smart Phone) และสามารถใช้งานใน รูปแบบของจอสัมผัส (Touch Screen) ได้ด้วย
  • 15. การใช้งานระบบปฏิบัติการ Windows 8 (ต่อ) ระบบปฏิบัติการ Windows 8 สามารถรองรับกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องเก่า หรือโน๊ตบุ๊คเครื่องเก่าได้ ซึ่งไม่มีปัญหาในการใช้งาน เพราะระบบปฏิบัติการ Windows 8 รองรับได้ตั้งแต่ CPU RAM 1 GHz ในแท็บเล็ต (Tablet) ทาให้ระบบปฏิบัติการที่ใช้ทรัพยากรเครื่องน้อยมาก (น้อยกว่าระบบ Windows 7) และง่ายต่อการพัฒนา Application ซึ่ง พัฒนา Application ในครั้งเดียว ยังสามารถใช้ได้กับทุกอุปกรณ์ได้
  • 16. การใช้งานระบบปฏิบัติการ Windows 8 (ต่อ) >> ส่วนประกอบต่างๆ ในหน้าจอ Start Screen
  • 17. การใช้งานระบบปฏิบัติการ Windows 8 (ต่อ) >> เริ่มต้นใช้งาน Windows 8 การใช้ Windows 8 มี Mode การใช้ งาน 2 Mode ดังนี้ 1. Start Screen 2. Windows
  • 18. การใช้งานระบบปฏิบัติการ Windows 8 (ต่อ) >> แนะนาการใช้สตาร์ทสกรีน (Start Screen) เข้าสู่หน้าจอแบบ Start Screen โดย วิธีที่ 1 : กดปุ่ม Windows (ที่คีย์บอร์ด) วิธีที่ 2 : กดปุ่ม Ctrl + Esc วิธีที่ 3 : เลื่อนเมาส์ไปที่บริเวณมุมซ้ายล่างสุดจะแสดงแถบ Start Screen แล้วทาการคลิกหน้าจอ Start Screen ขนาดเล็ก
  • 19. การใช้งานระบบปฏิบัติการ Windows 8 (ต่อ) >> การ Shut down คอมพิวเตอร์ 1. กดปุ่ม Windows เลื่อนเมาส์ไปแตะมุมบนขวาสุด 2. คลิกที่ Setting คลิกที่ Power > Shutdown - คลิกหรือแตะ Brightness ปรับความสว่างให้กับหน้าจอ - คลิกหรือแตะ Sound ปรับความดังให้กับหน้าจอ - คลิกหรือแตะ Network ปรับการเชื่อมต่อระบบ Network - คลิกหรือแตะ Notifications ปรับการแจ้งเตือนของ Windows 8 Network
  • 20. การใช้งานระบบปฏิบัติการ Windows 8 (ต่อ) - คลิกหรือแตะ Power ปิดคอมพิวเตอร์ หรือล็อกเอาท์ออกจาก User Account ของ Windows 8 - คลิกหรือแตะ Keyboard ปรับเปลี่ยนภาษาที่คีย์บอร์ด
  • 21. การใช้งานระบบปฏิบัติการ Windows 8 (ต่อ) >> การค้นหา Application โดยใช้ Charm Bar Search 1. เลื่อนเมาส์ไปที่ตาแหน่งขวาบนสุด หรือกดปุ่ม Windows + C แสดง Charm Bar ขึ้นมา 2. คลิกในส่วนของ Search จะปรากฏหน้าจอส่วนด้านล่างนี้ 3. ในส่วนของ Search แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ Application, Settings, Files ซึ่งผู้ใช้งานสามารถคลิกเลือกการค้นหาได้ตามต้องการ และพิมพ์คาที่จะค้นหาตามต้องการ