SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เปตองเปนกีฬากลางแจงประเภทหนึ่งซึ่งมีมาตั้งแตดกดําบรรพ ประวัติที่แนนอนไมมการบันทึกไว แตมีหลักฐานจากการ
                                                ึ                             ี
เลาสืบตอๆ กันมาวา กําเนิดขึ้นครั้งแรกในประเทศกรีซ เมื่อประมาณ 2,000 ปกอนคริสตกาล โดยเก็บกอนหินที่เปนทรง
กลมจากภูเขาและใตทะเลมาเลนกัน ตอมากีฬาประเภทนี้ไดแพรหลายเขามาในทวีปยุโรป เมื่ออาณาจักรโรมันครอง
อํานาจและเขายึดครองดินแดนของชนชาวกรีกไดสําเร็จ ชาวโรมันไดใชการกีฬาประเภทนี้เปนเครื่องทดสอบกําลังขอมือ
และกําลังกายของผูชายในสมัยนัน
                             ้



   ตอมาเมื่ออาณาจักรโรมันเขายึดครองดินแดนชาวโกลหรือประเทศฝรั่เศสในปจจุบัน ชาวโรมันก็ไดนําเอาการเลนลูกบูล
ประเภทนี้เขาไปเผยแพรทางตอนใตของประเทศฝรั่งเศส การเลนลูกบูลจึงไดพัฒนาขึ้นโดยเปลี่ยนมาใชไมเนื้อแข็งถากเปน
รูปทรงกลมแลวใชตะปูตอกรอบๆ เพื่อเพิ่มน้ําหนักของลูกใหเหมาะกับมือ



ในยุคกลางประมาณ ค.ศ. 400-1000 การเลนลูกบูลนี้จึงเปนที่นยมเลนกันแพรหลายในประเทศฝรั่งเศษ ครั้นพอสมัยของ
                                                         ิ
พระเจาหลุยสที่ 14 พระองคไดทรงประกาศสงวนกีฬาการเลนลูกบูลนี้ไวสําหรับผูสูงเกียรติ และใหเลนไดเฉพาะ
พระราชสํานักเทานั้น



ตอมาในสมัยพระเจานโปเลียนมหาราชขึ้นครองอํานาจพระองคไดทรงประกาศใหม ใหการเลนลูกบูลนี้เปนกีฬาประจําชาติ
ของฝรั่งเศสและเปดโอกาสใหประชาชนทัวๆ ไป ไดเลนกันอยางเสมอภาคทุกคน การเลนลูกบูลนี้จงไดมีการพัฒนาขึ้น
                                   ่                                                  ึ
เรื่อยๆ ตลอดมา เชน โดยการนําเอาลูกปนใหญทใชแลวมาเลนกันบางอยางสนุกสนามและเพลิดเพลิน จนมีการตังชื่อ
                                           ี่                                                      ้
เกมกีฬาประเภทนี้ขึ้นมาเลนอยางมากมายตางๆ กัน เชน บูลเบร-รอตรอง, บูลลิโยเนส, บูลเจอร เดอรลอง และบลู-โปรวัง
ซาล เปนตน



ในปลายศตวรรษที่ 19 ประเทศฝรั่งเศสก็ไดเปนประเทศแรกของโลกที่ไดออกกฎเกณฑขอบังคับกติกาการเลนกีฬาลูกบูล
โปรวังซาลขึ้น โดยใหวง 3 กาวกอนโยนลูกบูล การเลนกีฬาประเภทนี้จึงเปนที่นิยมเลนกันอยางแพรหลายทั่วไปในประเทศ
                     ิ่
ฝรั่งเศส และมีการแขงขันชิงแชมปกันขึ้นโดยทั่วไป



จนถึงตนศตวรรษที่ 20 ในป ค.ศ. 1910 ตําบลซิโอตาท เมืองทามารแชรด ซึงอยูทางตอนใตของฝรังเศส การเลนกีฬาลูก
                                                                       ่                   ่
บูล-โปรวังซาลไดมีการเปลี่ยนแปลงกติกาการเลนขึ้นใหม โดยนายจูลร-เลอนัวร ซึ่งเปนผูมีฝมือในการเลนกีฬาลูกบูล-โปร
วังซาลเกงกาจที่สุดในขณะนั้น และไดเปนแชมปโปรวังซาลในยุคนั้นดวยแตไดประสบอุบัติเหตุอยางรายแรงจนขาทังสอง
                                                                                                         ้
ขางพิการเดินไมไดไมสามารถจะเลนกีฬาโปรวังซาลเหมือนเดิมได ตองนั่งรถเข็นดูเพื่อนๆ เลนกันอยางสนุกสนาน โดยที่
ตนเองไมมีโอกาสไดรวมเลนเลย
       



วันหนึ่งขณะที่นายจูลร เลอนัวร ไดนั่งรถเข็นมองดูเพื่อนๆ เลนเกมโปรวังซาลอยางสนุกสนานอยูนั้น นองชายเห็นวาพี่ชายมี
อาการหงอยเหงาเปนอยางมาก นองชายของเขาจึงไดคิดดดแปลงแกไขกตกาการเลนขึ้นใหม โดยการขัดวงกลมลงบนพื้น
                                           ั             ิ
แลวใหผูเลนเขาไปยืนในวงกลม ใหขาทังสองยืนชิดติดกัน ไมตองวิ่งเหมือนกีฬาโปรวังซาล ทั้งนี้โดยมีเพื่อนๆ และญาติของ
                                      ้
นาย จูลร เลอนัวร ใหการสนับสนุนอยางเต็มที่ นายจูลร เลอนัวร จึงไดมีโอกาสรวมเลนกีฬาบูล-โปรวังซาล ที่ดัดแปลงขึ้น
ใหมนี้อยางสนุกสนามและเพลิดเพลินเหมือนเดิม



เกมกีฬาบูล-โปรวังซาล ที่ดัดแปลงขึ้นใหมนี้ไดกําหนดขึ้นโดยมีสมาชิกครั้งแรกประมาณ 50 คน พวกเขาพยายาม
ประชาสัมพันธเพื่อเผยแพรเกมใหมเปนเวลาถึง 30 ป จึงไดมีสมาชิกเพิมขึ้นเปนลําดับ หลังจากนั้นก็ไดแพรหลายเขาสู
                                                                   ่
นักกีฬา นักการเมือง และขาราชการประจําในราชสํานัก จนในที่สดก็ไดมีการกอตั้ง "สหพันธ เปตองและโปรวังซาล" ขึ้นใน
                                                          ุ
ป ค.ศ.- 1938 จากนั้นจํานวนสมาชิกก็เพิ่มขึ้นแสนๆ คน มีบุคคลทุกระดับชั้นทุกเพศ ทุกวัยเขาเปนสมาชิก ลูกบูลที่ใชเลน
ก็มีการคิดคนทําเปนลูกโลหะผสมเหล็กกลา ขางในกลวง การเลนจึงมีความสนุกสนานเราใจยิงขึ้นกวาเดิม
                                                                                   ่



หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ในป ค.ศ. 1945 การเลนกีฬาลกบูล-โปรวังซาลที่ไดดัดแปลงแกไขใหมนี้ไดรับความนิยมเลนมาก
                                                   ู
ขึ้น และไดแพรหลายไปตามหัวเมืองตางๆ อยางรวดเร็วทัวประเทศฝรั่งเศส ตลอดจนถึงดินแดน อาณานิคมของฝรังเศสอีก
                                                    ่                                             ่
ดวย การเลนกีฬาลูกบูลนี้ไดแบงแยกการเลนออกไดเปน 3 ประเภทคือ



1. ลิโยเนล

2. โปรวังชาล (วิ่ง 3 กาวแลวโยน)

3. เปตอง (ที่นิยมเลนในปจจุบัน)




กีฬาเปตองจัดแขงขันชนะเลิศแหงโลกขึ้นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ.-1959 ที่เมืองสปา ประเทศเบลเยียม นักเปตองจากประเทศ
ฝรั่งเศสไดครองตําแหนงชนะเลิศ
ปจจุบันกีฬาเปตองเปนที่นิยมเลนกันอยางแพรหลายเกือบทุกประเทศในทวีปยุโรป อเมริกา และเอเชีย สําหรับในประเทศ
ในทวีปเอเชีย ประเทศไทยนับเปนประเทศหนึ่งที่มีผูนิยมเลนกันอยางแพรหลายและกวางขวางมากในปจจุบัน



วิธีการเลน



  ขอ 1.

เปตองเปนกีฬาทีเ่ ลนไดกับสนามทุกสภาพ ยกเวนพื้นคอนกรีตพื้นไม และพื้นดินที่มีหญาขึ้นสูง โดยมีคณะกรรมการจัดการ
แขงขันหรือผูตัดสินเปนผูกาหนด ผูเลนทุกทีมตองเลนในสนามที่กาหนดใหสาหรับการแขงขันชิงชนะเลิศระดับชาติและ
                            ํ                                   ํ       ํ
นานาชาติสนามตองมีขนาดกวาง 4 เมตร ยาว 15 เมตร เปนอยางนอย

  1.1 สวนการแขงขันอื่น ๆ สมาคมฯ อาจอนุโลมใหเปลี่ยนแปลงขนาดของสนามไดตามความจําเปนและความเหมาะสม

แตตองมีขนาดกวาง 3.50 เมตร และยาว 13 เมตร เปนอยางนอย

  1.2 เกมหนึ่งกําหนดใหใช 13 คะแนน สําหรับการแขงขันในรอบแรกและรอบตอ ๆ ไป (จะใชเพียง 11 คะแนนก็ได)

สําหรับชิงชนะเลิศในระดับนานาชาติหรือแหงชาติใหใช 15 คะแนน

   ขอ 2

ผูเลนทุกคนตองลงสูสนามแขงขันตามเวลาทีกําหนดใหและทําการเสี่ยงวาฝายใดจะเปนฝายโยนลูกเปา
                                         ่

  2.1 ผูเลนคนหนึ่งคนใดในทีมซึงเปนฝายชนะในการเสี่ยงเปนผูโยนลูกเปาเมื่อเลือกจุกเริ่มแลวใหเขียนวงกลมบนพื้นมี
                               ่
ขนาดพอที่เทาทั้งสองขางเขาไปยืนอยูได (เสนผาศูนยกลาง ระหวาง 0.35-0.50 เมตร) วงกลมนั้นจะตองหางจากสิ่งกีด
ขวางตาง ๆ และเสนสนามไมนอยกวา 1 เมตร สําหรับการแขงขันในสภาพสนามที่ไมมีขอบเขตของสนามใหเขียนวงกลม
หางจากวงกลมของสนามอื่นไมนอยกวา 2 เมตร
                              

  2.2 ผูที่เตรียมเลนจะตองอยูภายในวงกลมหามเหยียบเสนรอบวง หามยกเทาพนพื้น และหามออกจากวงกลมกอนที่

ลูกเปตองจะตกลงพื้นสวนอื่นรางกายจะถูกพื้นนอกวงกลมไมไดเวนแตคนขาพิการซึ่งไดรับอนุญาตเปนกรณีพิเศษใหวาง
เทาขางเดียวในวงกลมได สวนนักกีฬาพิการที่ตองนั่งรถเข็นใหขีดวงกลมรอบลอรถเข็นไดและที่วางเทาของรถเข็นตองให
อยูสูงเหนือขอบวงกลม

  2.3 ผูเลนคนหนึ่งคนใดในทีมซึงเปนผูโยนลูกเปา ไมบังคับวาจะตองเปนผูโยนลูกเปตองลูกแรกเสมอไป
                               ่

  2.4 ในกรณีที่สนามไมดี (ชํารุด) หามผูเลนตกลงกันเองแขงขันสนามอื่นโดยไมไดรับอนุญาตจากผูตัดสิน
ขอ 3.

ลูกเปาที่โยนไปแลวถือวาดีตองมีกฎเกณฑ ดังนี้

  3.1 มีระยะหางระหวางขอบวงกลมดานใกลที่สุดถึงลูกเปา

ก. ไมนอยกวา 4 เมตร และไมเกน 8 เมตร สําหรับเด็กเล็ก (อายุไมเกิน 12 ป)
                            ิ

ข. ไมนอยกวา 5 เมตร และไมเกน 9 เมตร สําหรับเด็กเล็ก (อายุไมเกิน 13- 14 ป)
                              ิ

ค. ไมนอยกวา 6 เมตร และไมเกน 10 เมตร สําหรับเยาวชน (อายุไมเกิน 15- 17 ป)
                            ิ

ง. ไมนอยกวา 6 เมตร และไมเกน 10 เมตร สําหรับผูใหญ (ไมจากัดอายุ)
                            ิ                             ํ

  3.2 วงกลมตองอยูหางจากสิงกีดขวางตาง ๆ และเสนเขตสนามหรือเสนฟาลวไมนอยกวา 1 เมตร
                          ่

  3.3 ตําแหนงลูกเปาตองอยูหางจากสิ่งกีดขวางตาง ๆ และเสนเขตสนามไมนอยกวา 1 เมตร
                                                                           

  3.4 ลูกเปาจะตองอยูในตําแหนงที่มองเห็นไดอยางชัดเจน ขณะยืนตัวตรงอยูในวงกลม (ถามีการโตแยงในกรณีนี้ใหผู
                                                                       
ตัดสินเปนผูชี้ขาด)

  3.5 การโยนลูกเปาในเที่ยวตอ ๆ ไป ใหเขียนวงกลมรอบตําแหนงลูกเปาที่อยูในเที่ยวที่แลวเวนแตกรณีดังนี้

ก. วงกลมมีระยะหางจากสิงกีดขวางและเสนสนามนอยกวา 1 เมตร ในกรณีนี้ ผูเลนตองเขียนวงกลมใหหางจากสิ่งกีด
                       ่
ขวางและเสนเขตสนามทีกติกาไดกําหนดไว
                    ่

ข. โยนลูกเปาไมไดระยะตามทีกติกากําหนดไว แมจะโยนไปในทิศทางใดก็ตาม กรณีนี้ผูเลนสามารถถอยหลังไดตามแนว
                            ่
ตรง (ตงฉาก) จากตําแหนงเดิมของลูกเปาในเทียวที่แลว แตทั้งนีวงกลมนั้นจะถอยหลังไดไมเกินระยะการโยน ตามที่กติกา
      ั้                                  ่                  ้
กําหนดไวโดยใหนับจากเสนฟาลว (Dead Bal Line) ดานบนจนถึงเสนขอบวงกลมดานใกลสุด

- (ถาไมมีเสนฟาลว ใหนับจากเสนสนามดานบนจนถึงขอบวงกลม ไมเกิน 11 เมตร)

ค. ลูกเปาที่อยูในระยะการโยนหรือเลนได แตผูเลนฝายที่มีสิทธิ์โยนลูกเปาไมประสงคจะเลนในระยะนั้น ๆ กรณีนี้ผูเลน
                
สามารถถอยหลังตามแนวตรง (ตั้งฉาก) จากตําแหนงจากเดิมของลูกเปาในเทียวที่แลวไดตามความพอใจ แตทั้งนี้วงกลม
                                                                  ่
นั้นจะถอยหลังไดไมเกินระยะการโยน ตามที่กตกากําหนดไวโดยใหนับจากเสนฟาวล (Dead Bal Line) ดานบนจนถึงเสน
                                          ิ
ขอบวงกลมดานใกลสุด

- (ถาไมมีเสนฟาลว ใหนับจากเสนสนามดานบนจนถึงขอบวงกลม ไมเกิน 11 เมตร)
ง. ผูเลนฝายเดียวกันโยนลูกเปาไปแลว 3 ครั้ง ยังไมไดดีตามกติกากําหนดจะตองเปลียนใหผูเลนฝายตรงกันขามเปนผูโยน
                                                                                  ่
ซึ่งมีสิทธิ์โยนได 3 ครั้ง เชนเดียวกัน และอาจยายวงกลมถอยหลังไดตามแนวตรง (ตังฉาก) แตทั้งนีวงกลมนั้นจะถอยหลัง
                                                                              ้              ้
ไดไมเกินระยะการโยน ตามที่กตกากาหนดไวโดยใหนับจากเสนฟาลว (Dead Bal Line) ดานบนจนถึงเสนขอบวงกลม
                             ิ ํ
ดานใกลสุด (ถาไมมเี สนฟาลวใหนับจากเสนสนามดานบนจนถึงขอบวงกลม ไมเกิน 11 เมตร) วงกลมที่เขียนขึ้นใหมนั้นจะ
เปลี่ยนแปลงอีกไมได แมวาผูเ ลนของทีมหลังนี้จะโยนลูกเปาไมดีทง 3 ครั้ง ก็ตาม
                                                                  ั้

จ. ถึงแมทมที่โยนลูกเปา 3 ครั้งแรกโยนไดไมดีตามที่กตกากําหนดก็ตาม แตทีมที่โยนลูกเปาครั้งแรกนั้นยังมีสิทธิเ์ ปนฝาย
          ี                                           ิ
โยนลูกเปตองลูกแรกอยู

   ขอ 4.

ลูกเปาที่โยนไปแลวถูกผูตัดสิน ผูเลน ผูดู สัตวหรือสิ่งที่เคลื่อนที่อื่น ๆ แลวหยุด ใหนํามาโยนใหมโดยไมนับรวมอยูในการ
                                                                                                                      
โยน 3 ครั้งที่ไดกาหนดไว
                  ํ

  4.1 หลังจากการโยนลูกเปาและลูกเปตองลูกแรกไปแลวฝายตรงกันขามยังมีสิทธิ์ประทวงวาดวยตําแหนงของลูกเปานั้น

ได ใหเริ่มโยนและลูกเปตองใหม

  4.2 ถาฝายตรงกันขามไดโยนลูกเปตองไปดวยแลว 1 ลูก ใหถือวาตําแหนงลูกเปานั้นดี และไมมีสิทธิ์ประทวงใด ๆ ทั้งสิ้น
                                         

    ขอ 5.

ลูกเปาที่โยนไปแลวถือวาฟาลว มี 5 กรณีดังนี้

  5.1 เมื่อลูกเปาที่โยนไปแลวไมไดตําแหนงทีถูกตองตามที่กาหนดไวในขอ 7
                                              ่             ํ

  5.2 เมื่อลูกเปาเคลื่อนที่ออกนอกเสนฟาลว แตลูกเปาคาบเสนยังถือวาดี ลูกเปาทีถือวาฟาลว คือลูกเปาที่ออกเสนฟาลว
                                                                                  ่
เทานั้น

  5.3 เมื่อลูกเปาเคลื่อนที่ไปแลว ผูเลนไมสามารถมองเห็นจากวงกลมตามที่กําหนดไวในขอ 7.4 แตถาลูกเปาถูกลูกเป

ตองบังอยูไมถือวาฟาลว ทั้งผูตัดสินมีสิทธิ์ที่จะยกลูกเปตองที่บงอยูออกชัวคราวเพื่อตรวจสอบวา ลูกเปานั้นมองเห็นได
                                                                 ั         ่
ชัดเจนหรือไม

  5.4 เมื่อลูกเปาเคลื่อนที่ไป มีระยะหางจากวงกลมเกินกวา 20 เมตร หรือนอยกวา 3 เมตร

  5.5 เมื่อลูกเปาเคลื่อนที่ไปแลว หาไมพบภายใน 5 นาที

    ขอ 6.
กอนหรือหลังการโยนลูกเปา หามผูเลนปรับพื้นที่หรือเคลื่อนยายสิ่งตาง ๆ เชน กรวด หิน ดิน ทราย ใบไม ฯลฯ ในบริเวณ
สนามแขงขันโดยเด็ดขาด เวนแตผูเตรียมตัวจะลงเลนเทานั้นที่มีสทธิ์ปรับสนามที่มีหลุมซึงเกิดจากการโยนลูกเปตองของผู
                                                               ิ                      ่
เลนคนที่แลว และอาจใชลกเปตองปรับหลุมนั้นไดไมเกิน 3 ครั้ง ผูเลนที่ฝาฝนกฎตองลงโทษดังนี้
                        ู

  6.1 ถูกเตือน

  6.2 ปรับลูกที่เลนไปแลวหรือลูกที่กําลังจะเลนเปนลูกฟาลว

  6.3 ปรับเฉพาะผูกระทําผิด ใหงดเลน 1 เที่ยว

  6.4 ปรับเปนแพทั้งทีม

  6.5 ปรับใหแพทั้ง 2 ทีม ถากระทําผิดเหมือนกัน หรือสมรูรวมคิดกัน

   ขอ 7.

ในระหวางการเลนแตละเที่ยว หากมีใบไม กระดาษหรือสิ่งอื่น ๆ มาบังลูกเปาโดยบังเอิญใหเอาออกได

  7.1 เมื่อลูกเปาหยุดนิ่งแลวและเคลื่อนที่ไปใหมโดยแรงลมพัดหรือจากการลาดเอียงของพื้นสนาม จะตองนํากลับมาวาง

ที่ตําแหนงเดิม

  7.2 เมื่อลูกเปาเคลื่อนที่โดยอุบติเหตุอันเกิดขึ้นจากผูตัดสิน ผูดู สัตว สิ่งเคลื่อนที่อื่น ๆ รวมทังลูกเปาหรือลูกเปตองที่
                                  ั                                                                   ้
เคลื่อนที่มาจากสนามอื่นใหนําลูกเปานั้นมาวางที่ตําแหนงเดิม ทั้งนี้ตองเครื่องหมายกําหนดจุดเดิมของลูกเปา

  7.3 เพื่อหลีกเลี่ยงการประทวงทั้งปวง ผูเลนควรทําเครื่องหมายบนพื้นสนามตามตําแหนงของลูกเปาหรือลูกเปตองไว

มิฉะนั้นจะไมมีสิทธิ์ประทวงใด ๆ ทั้งสิ้น

  7.4 ลูกเปาที่อยูบนพื้นสนามซึงมีน้ําขังอยูถือวาดี หากลูกเปานันยังไมลอยน้ํา
                                ่                                ้

   ขอ 8.

ในระหวางการเลนแตละเที่ยวหากลูกเปาเคลื่อนที่ไปอยูอีกสนามหนึ่ง ใหถือวาลูกเปานั้นยังดีอยู

  8.1 ถาสนามนั้นมีการแขงขันอยู ฝายที่ตองใชลกเปานั้นจะตองหยุดรอเพื่อคอยใหผูเลนที่กาลังเลนอยูในสนามนั้นเลน
                                                 ู                                          ํ
จบกอน

  8.2 ผูเลนที่มีปญหาตามขอ 12.1 จะตองแสดงออกถึงความมีน้ําใจ ความอดทน และความเอื้ออารีตอกัน

   ขอ 9.
ในระหวางการเลนแตละเที่ยว ถาลูกเปาเกิดฟาลวใหปฏิบัตตามกฎขอยอยดังนี้
                                                        ิ

  9.1 ถาผูเลนทั้งสองฝายมีลูกเปตองเหลืออยู การเลนเทียวนั้นถือวาโมฆะ ตองเริมเลนใหมที่ดานตรงขาม
                                                         ่                       ่

  9.2 ถาฝายหนึ่งฝายใดมีลูกเปตองเหลืออยูเพียงฝายเดียวฝายนั้นจะไดคะแนนเทากับจํานวนลูกเปตองที่เหลืออยูโดยไม
                                          
ตองเลนและจะเริ่มเลนใหมทดานตรงขาม
                           ี่

  9.3 ถาทั้งสองฝายหมดลูกเปตองเหมือนกัน ใหเริ่มเลนใหมทดานตรงขามโดยใหทีมที่คะแนนเที่ยวที่เปนฝายโยนลูกเปา
                                                          ี่

   ขอ 10.

ลูกเปาที่ถกยิงแลวเคลื่อนที่ไปจากตําแหนงเดิม
           ู

  10.1 ถาลูกเปาที่ยงแลวเคลื่อนที่ไปถูกผูดูหรือผูตัดสินแลวหยุด ใหลูกเปานั้นอยูในตําแหนงใหม
                     ิ

  10.2 ถาลูกเปาที่ยงแลวเคลื่อนที่ไปถูกผูเลนคนหนึ่งคนใดแลวหยุด ฝายตรงขามที่ทําใหลูกเปาหยุด มีสิทธิ์เลือกปฏิบัติ
                     ิ
ตามกฎขอยอยดงนี้
             ั

ก. ใหลูกเปาอยูในตําแหนงใหม

ข. นําลูกเปามาวางที่ตําแหนงเดิม

ค. วางลูกเปาตามแนวยาวระหวางตําแหนงเดิมกับตําแหนงใหมแตตองอยูใหมแต ตองอยูในพื้นทีที่กําหนดไวในกติกาแลว
                                                                                           ่
เริ่มเลนตอไปตามปกติ

  10.3 กรณีตามขอ 14.2 (ข) และ (ค) จะกระทําไดตอเมื่อผูเลนไดทําเครื่องหมายที่ตาแหนงลูกเปาไวเทานั้น มิฉะนั้น
                                                                                ํ
จะตองใหลูกเปาอยูในตําแหนงใหม
                   

    ขอ 11.

ในระหวางการเลนแตละเที่ยวหากลูกเปาเคลื่อนที่ไปอยูในสนามอืนถือวายังดีอยู ในเที่ยวตอไปจะตองมาเลนที่สนามเดิม
                                                             ่
ดานตรงกันขาม แตตองเปนไปตามที่กาหนดไวในกติกาขอ 7
                                   ํ



การวัดระยะและการวัดคะแนน



   ขอ 1.
ในการวัดคะแนนอนุญาตใหโยกยายลูกเปตองที่เกียวของไดแตตองทําเครื่องหมายทีมีตําแหนงสิ่งนั้น ๆ ไวกอนโยกยาย
                                           ่                             ่
เมื่อการวัดคะแนนเสร็จสิ้นลง ใหนําทุกสิ่งที่โยกยายไปนั้นกลับมาวางที่ตําแหนงเดิมทั้งหมดถาสิ่งกีดขวางที่มีปญหานั้นไม
อาจโยกยายไดใหใชวงเวียนทาการวัด
                       ํ

      ขอ 2.

ในการวัดคะแนนระหวางลูกเปตอง 2 ลูก ซึ่งอยูใกลเคียงกันมาก ผูเลนคนหนึ่งไดวัดไปแลว และบอกวาตนได ผูเลนฝาย
ตรงกันขามมีสิทธิ์ทจะวัดใหม เพือความแนใจและถูกตอง (สวนอุปกรณการวัดที่ตองเปนอุปกรณที่ไดมาตรฐาน หามวัด
                   ี่           ่
โดยการนับระยะเทา ) เมื่อทังสองฝายไดคะแนนแลวหลายครั้งยังตกลงกันไมไดตองใหผูตัดสินเปนผูวัดเพื่อตัดสิน และผล
                           ้
การตัดสินถือเปนที่สิ้นสุด และหากผูเลนเปนฝายฝาฝนกติกาขอนี้ใหผูตัดสินตักเตือน 1 ครั้ง หากยังฝาฝนอีกใหปรับเปน
แพ

      ขอ 3.

เมื่อเสร็จสิ้นการแขงขันแตละเทียวลูกเปตองทุกลูกทีถูกนําออกกอนการวัดคะแนน ใหถือวาเปนลูกฟาลวและไมมีสิทธิ์
                                ่                 ่
โตแยงใด ๆ ทั้งสิ้น

      ขอ 4.

ถาผูเลนฝายหนึงฝายใดทําการวัดคะแนนแลว ไปทําใหลูกเปาหรือเปตองทีมีปญหานั้นเคลื่อนที่ จะตองเปนฝายเสีย
                 ่                                                   ่
คะแนนนั้นและในการวัดแตละครั้งตองใหผูเลนของทีมที่ทําใหลูกเปตองเกิดปญหาทําการวัดทุกครัง ในการวัดคะแนนแต
                                                                                           ้
ละครั้ง กอนทําการวัดผูตัดสินตองทําการคาดคะเนเสียกอนวาลูกใดเปรียบและถาไดวดไปแลว บังเอิญผูตัดสินไปทําใหเป
                                                                               ั
ตองหรือลูกเปาเคลื่อนที่ผูตัดสินจะตองทําการวัดใหม และภายหลังการวัดปรากฏวาลูกเปตองที่คาดคะเนวาชนะยังคงชนะ
อยูใหกรรมการตัดสินตามความเปนจริงถาการวัดครั้งใหมแลวปรากฏวาลูกเปตองที่คาดคะเนวาจะชนะกลับแพ ใหผูตัดสิน
ตัดสินดวยความเที่ยงธรรม

      ขอ 5.

ในกรณีที่ลูกเปตองของทั้งสองฝายมีระยะหางจากลูกเปาเทากันหรือติดกับลูกเปาทั้ง 2 ลูกใหปฏิบัติตามกฎขอยอย ดังนี้

  5.1 ถาทั้งสองฝายหมดลูกเปตองเลนแลว การเลนเที่ยวนั้นถือวาเปนโมฆะ จะตองเริ่มเลนใหมดานตรงขาม โดยผูเลน
                                                                                            
ฝายที่ไดคะแนนในเที่ยวที่แลว เปนผูโยนลูกเปา

  5.2 ถาฝายหนึ่งฝายใดมีลูกเปตองเหลือเลนอยูเพียงฝายเดียว ฝายนั้นจะตองเลนจนหมดลูกเปตองเพื่อทําคะแนน

เพิ่มเติมตามจํานวนลูกเปตองที่อยูใกลเปามากที่สุด
5.3 ถาทั้งสองฝายยังมีลูกเปตองเหลืออยู ฝายที่โยนลูกเปตองทีหลังจะตองเปนฝายเลนลูกตอไป ถาลูกเปตองทั้งสอง

ฝายยังเสมอกันอยูตองเปลี่ยนใหอีกฝายหนึ่งเปนผูเลนและตองสลับกันโยนฝายละ 1 ลูก จนกวาฝายหนึ่งฝายใดจะได
คะแนนแลวเลนตอไปตามปกติ

   ขอ 6.

หากมีสิ่งหนึงสิ่งใดเกาะติดกับลูกเปตองหรือลูกเปาจะตองเอาสิ่งนันออกกอนการวัดคะแนนทุกครัง
            ่                                                  ้                        ้

   ขอ 7.

การเสนอขอประทวงตอผูตดสินจะกระทําไดในระหวางการแขงขันแตละเกมเทานั้น เมื่อเกมการแขงขันเทานั้น เมื่อเกมการ
                        ั
แขงขันนั้น ๆ ไดสิ้นสุดลงจะไมมประทวงใด ๆ ทั้งสิ้น เพื่อประโยชนของฝายตน ผูเลนทุกคนตองคอยระมัดระวังการละเมิด
                                ี
กติกาของฝายตรงขามบัตรประจําตัวนักกีฬา-รุนของผูเลนสนามแขงขัน มาตรฐานของลูกเปตอง เปนตน

   ขอ 8.

ในขณะทําการจับสลากและการประกาศผลการจับสลาก ผูเลนทุกคนตองอยูพรอมกันที่โตะอํานวยการ หลังจากการ
ประกาศผลไปแลว 15 นาที ทีมทีไมลงสนามแขงขันจะถูกปรับเสียคะแนนใหแกฝายตรงขาม 1 คะแนน
                            ่                                        

  8.1 หากเกินกําหนดเวลา 15 นาทีไปแลว การปรับคะแนนจะทวีเพิ่มขึ้น 1 คะแนน ทุก ๆ 5 นาที

  8.2 บทลงโทษตามขอ 32 จะมีผลบังคับหลังจากการประกาศใหเริ่มการแขงขันทุกครั้ง

  8.3 หลังจากการประกาศการแขงขันไดผานพนไปแลว 1 ชั่วโมงทีมที่ยังไมไดลงทําการแขงขันจะถูกปรับใหเปนผูแพใน

เกมนั้น

  8.4 ทีมที่มีผูเลนไมครบจํานวน ตองลงทําการแขงขันตามเวลาทีกําหนดโดยไมอนุญาตใหรอผูรวมทีมที่มาลาชาและจะ
                                                              ่
เลนลูกเปตองไดตามจํานวนที่ผูเลนมีสิทธิเทานั้น (ตามประเภทที่แขงขัน)

   ขอ 9.

เมื่อมีการแขงขันในเที่ยวนั้นไดเริมเลนไปแลว ผูเลนที่มาลาชาไมมสิทธิ์ลงเลนในเที่ยวนั้น แตอนุญาตใหลงเลนในเที่ยว
                                   ่                                 ี
ตอไปได

  9.1 เมื่อการแขงขันในเกมนั้นไดดําเนินไปแลว 1 ชั่วโมง ผูเลนทีมาลาชาหมดสิทธิ์ลงทําการแขงขันในเกมนั้น
                                                                  ่

  9.2 ถาการแขงขันนั้นแบงเปนสาย จะอนุญาตใหผเลนที่มาลาชาลงแขงขันในเกมที่ 2 ได ไมวาผลการแขงขันในเกมแรก
                                               ู
จะแพหรือชนะก็ตาม
9.3 หากทีมที่มีผูเลนไมครบจํานวนสามารถชนะการแขงขันในเกมนั้นจะอนุญาตใหผูเลนที่มาเลนชาลงแขงขันในเกม

ตอไปได แตตองเปนผูเลนของทีมนั้น และตองมีชื่อถูกตองในในสมัครดวย

  9.4 การแขงขันแตละเที่ยวจะถือวาเริ่มขึ้นแลวก็ตอเมื่อลูกเปาที่โยนไปในสนามนั้น ไดตาแหนงถูกตองตามกติกา
                                                                                        ํ

   ขอ 10.

การเปลี่ยนตัวผูเลนจะอนุญาตใหกระทําไดกอนจับสลากการแขงขันเทานั้น และตองเปนผูเลนที่ไมมีรายชื่ออยูในทีมอื่น
ของการแขงขันเดียวกัน

   ขอ 11.

ในระหวางการแขงขันหากมีฝนตก ใหแขงขันตอไปจนจบเที่ยวเวนแตมีเหตุผลสุดวิสัย ไมสามารถแขงขันตอไปได ผูตัดสิน
และผูชี้ขาดเทานั้นที่มีอานาจใหหยุดการพักการแขงขันชั่วคราวหรือยกเลิกการแขงขัน
                          ํ

  11.1 หลังจากการประกาศเพื่อเริ่มตนการแขงขันในรอบใหมแลว รอบสองหรือรอบตอ ๆ ไป หากยังมีบางทีมและบาง

สนามยังแขงขันไมเสร็จ ผูตัดสินอาจดําเนินการอยางหนึงอยางใดตามทีดีตนเห็นสมควร ดวยความเห็นชอบคณะกรรมการ
                                                     ่            ่
จัดการแขงขันเพื่อใหการแขงขันนั้นดําเนินไปดวยดี

  11.2 ในระหวางการแขงขัน ผูเลนทุกคนจะออกไปจากสนามตองไดรับอนุญาตจากผูตัดสินเสียกอน มิฉะนั้นจะถูก

ลงโทษตามที่กําหนดไวในขอ 32. และ 33.

   ขอ 12.

ในการแขงขันรอบชิงชนะเลิศ หรือรอบอื่น ๆ ก็ตาม หามผูเลนทั้งสองฝายสมยอมกันหรือแบงรางวัลกันโดยเด็ดขาด ถาผู
เลนทั้งสองฝายสมยอมกันหรือแบงรางวัลกันโดยเด็ดขาด ถาผูเลนทั้งสองฝายแขงขันกันไมสมศักดิ์ศรี เปนการหลอกลวงผู
ดู ผูควบคุมทีม และผูเลนทั้งสองทีมจะถูกลงโทษใหออกจากการแขงขัน และผลการแขงขันที่ผานมากอนหนานั้นก็ใหถือ
โมฆะดวย นอกจากนั้นแลวผูเลนทั้งสองทีมจะตองถูกพิจารณาลงโทษตามทีกําหนดไวขอ 11. อีกดวย
                                                                  ่

   ขอ 13.

ผูเลนที่มีพฤติกรรมอันเปนการผิดมารยาทอยางรุนแรงตอผูควบคุมทีม ผูตัดสิน ผูเลนคน อื่น ๆ หรือผูดู จะถูกลงโทษตาม
สภาพความผิดดงนี้
            ั

ก. ใหออกจากการแขงขัน

ข. ถอนใบอนุญาต (บัตรประจําตัวนักกีฬา)

ค. งดใหรางวัลหรือเงินรางวัล
13.1 การลงโทษผูเลนที่กระทําผิดอาจมีผลถึงผูรวมทีมดวย

 13.2 บทลงโทษ (ก) (ข) เปนอํานาจของผูตัดสิน

 13.3 บทลงโทษ (ค) เปนอํานาจของคณะกรรมการจัดการแขงขันที่ทํารายงาน และสงรางวัลที่ยดไวนั้นใหสมาคมฯ
                                                                                   ึ
ทราบภายใน 48 ชั่วโมง เพื่อพิจารณาตามที่เห็นสมควรตอไป

 13.4 การลงโทษทุกกรณี เปนอํานาจของคณะกรรมการบริหารสมาคม ฯ ที่จะพิจารณาเปนขั้นตอนสุดทาย

   ขอ 14.

ผูตัดสินทุกคนที่ไดรับการแตงตั้งจากสหพันธฯ เปตองนานาชาติหรือสมาคมเปตองแหงประเทศไทย ฯ มีหนาที่คอย
ควบคุมดูแลใหการแขงขันดําเนินไปอยางมีระเบียบและถูกตองตามกติกาอยางเครงครัด และมีอานาจใหผเู ลนทุกคน หรือ
                                                                                     ํ
ทุกทีมที่ปฏิเสธไมปฏิบัติตามคําตัดสินออกจากการแขงขันได

 14.1 หากมีผูซงเปนนักกีฬาในสังกัดสหพันธฯ เปนตนเหตุทําใหเกิดการจลาจลในสนาม แขงขัน ผูตัดสินจะตองรายงาน
               ึ่
ใหสหพันธฯ ทราบ ทาสหพันธฯ จะไดเรียกตัวผูกระทําผิดนั้นมาชีแจงตอคณะกรรมการระเบียบวินยเพื่อพิจารณาลงโทษ
                                                           ้                         ั
ตอไป

   ขอ 15.

หากกรณีอื่นใดที่มิไดกําหนดไวในกติกาขอนี้เปนหนาที่ของผูตัดสินที่จะตองขอความรวมมือจากคณะกรรมการชี้ขาดการ
แขงขันครังนั้นเพื่อพิจารณาตัดสินผูชี้ขาดตามสมควรแกกรณี (คณะกรรมการชี้ขาดประกอบดวยกรรมการ 3 หรือ 5 คน)
          ้

 15.1 การชี้ขาดของคณะกรรมการ ผูตัดสินชี้ขาดถือเปนการสิ้นสุด ในกรณีมีเสียงเทากันใหประธานกรรมการผูตัดสินชี้

ขาดเปนผูชี้ขาด
         

 15.2 ผูเลนทุกคนจะตองแตงกายใหเรียบรอย การไมสวมเสื้อไมสวมรองเทา ถือวามีความผิด ผูเลนที่ฝาฝนไมปฏิบัติตาม

กฎนี้ ถาผูตัดสินตักเตือน 1 ครั้ง และหากยังเพิกเฉยฝาฝนอีก จะถูกลงโทษใหออกจากการแขงขัน



ขอขอบคุณแหลงขอมูลจาก

http://www.seagames2007.th

Weitere ähnliche Inhalte

Empfohlen

Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Empfohlen (20)

PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy Presentation
 

เปตองเป็นกีฬากลางแจ้งประเภทหนึ่งซึ่งมีมาตั้งแต่ดึกดำบรรพ์ ประวัติที่แน่นอนไม่มีการบัน

  • 1. เปตองเปนกีฬากลางแจงประเภทหนึ่งซึ่งมีมาตั้งแตดกดําบรรพ ประวัติที่แนนอนไมมการบันทึกไว แตมีหลักฐานจากการ ึ ี เลาสืบตอๆ กันมาวา กําเนิดขึ้นครั้งแรกในประเทศกรีซ เมื่อประมาณ 2,000 ปกอนคริสตกาล โดยเก็บกอนหินที่เปนทรง กลมจากภูเขาและใตทะเลมาเลนกัน ตอมากีฬาประเภทนี้ไดแพรหลายเขามาในทวีปยุโรป เมื่ออาณาจักรโรมันครอง อํานาจและเขายึดครองดินแดนของชนชาวกรีกไดสําเร็จ ชาวโรมันไดใชการกีฬาประเภทนี้เปนเครื่องทดสอบกําลังขอมือ และกําลังกายของผูชายในสมัยนัน ้ ตอมาเมื่ออาณาจักรโรมันเขายึดครองดินแดนชาวโกลหรือประเทศฝรั่เศสในปจจุบัน ชาวโรมันก็ไดนําเอาการเลนลูกบูล ประเภทนี้เขาไปเผยแพรทางตอนใตของประเทศฝรั่งเศส การเลนลูกบูลจึงไดพัฒนาขึ้นโดยเปลี่ยนมาใชไมเนื้อแข็งถากเปน รูปทรงกลมแลวใชตะปูตอกรอบๆ เพื่อเพิ่มน้ําหนักของลูกใหเหมาะกับมือ ในยุคกลางประมาณ ค.ศ. 400-1000 การเลนลูกบูลนี้จึงเปนที่นยมเลนกันแพรหลายในประเทศฝรั่งเศษ ครั้นพอสมัยของ ิ พระเจาหลุยสที่ 14 พระองคไดทรงประกาศสงวนกีฬาการเลนลูกบูลนี้ไวสําหรับผูสูงเกียรติ และใหเลนไดเฉพาะ พระราชสํานักเทานั้น ตอมาในสมัยพระเจานโปเลียนมหาราชขึ้นครองอํานาจพระองคไดทรงประกาศใหม ใหการเลนลูกบูลนี้เปนกีฬาประจําชาติ ของฝรั่งเศสและเปดโอกาสใหประชาชนทัวๆ ไป ไดเลนกันอยางเสมอภาคทุกคน การเลนลูกบูลนี้จงไดมีการพัฒนาขึ้น ่ ึ เรื่อยๆ ตลอดมา เชน โดยการนําเอาลูกปนใหญทใชแลวมาเลนกันบางอยางสนุกสนามและเพลิดเพลิน จนมีการตังชื่อ ี่ ้ เกมกีฬาประเภทนี้ขึ้นมาเลนอยางมากมายตางๆ กัน เชน บูลเบร-รอตรอง, บูลลิโยเนส, บูลเจอร เดอรลอง และบลู-โปรวัง ซาล เปนตน ในปลายศตวรรษที่ 19 ประเทศฝรั่งเศสก็ไดเปนประเทศแรกของโลกที่ไดออกกฎเกณฑขอบังคับกติกาการเลนกีฬาลูกบูล โปรวังซาลขึ้น โดยใหวง 3 กาวกอนโยนลูกบูล การเลนกีฬาประเภทนี้จึงเปนที่นิยมเลนกันอยางแพรหลายทั่วไปในประเทศ ิ่ ฝรั่งเศส และมีการแขงขันชิงแชมปกันขึ้นโดยทั่วไป จนถึงตนศตวรรษที่ 20 ในป ค.ศ. 1910 ตําบลซิโอตาท เมืองทามารแชรด ซึงอยูทางตอนใตของฝรังเศส การเลนกีฬาลูก ่ ่ บูล-โปรวังซาลไดมีการเปลี่ยนแปลงกติกาการเลนขึ้นใหม โดยนายจูลร-เลอนัวร ซึ่งเปนผูมีฝมือในการเลนกีฬาลูกบูล-โปร วังซาลเกงกาจที่สุดในขณะนั้น และไดเปนแชมปโปรวังซาลในยุคนั้นดวยแตไดประสบอุบัติเหตุอยางรายแรงจนขาทังสอง ้
  • 2. ขางพิการเดินไมไดไมสามารถจะเลนกีฬาโปรวังซาลเหมือนเดิมได ตองนั่งรถเข็นดูเพื่อนๆ เลนกันอยางสนุกสนาน โดยที่ ตนเองไมมีโอกาสไดรวมเลนเลย  วันหนึ่งขณะที่นายจูลร เลอนัวร ไดนั่งรถเข็นมองดูเพื่อนๆ เลนเกมโปรวังซาลอยางสนุกสนานอยูนั้น นองชายเห็นวาพี่ชายมี อาการหงอยเหงาเปนอยางมาก นองชายของเขาจึงไดคิดดดแปลงแกไขกตกาการเลนขึ้นใหม โดยการขัดวงกลมลงบนพื้น   ั ิ แลวใหผูเลนเขาไปยืนในวงกลม ใหขาทังสองยืนชิดติดกัน ไมตองวิ่งเหมือนกีฬาโปรวังซาล ทั้งนี้โดยมีเพื่อนๆ และญาติของ ้ นาย จูลร เลอนัวร ใหการสนับสนุนอยางเต็มที่ นายจูลร เลอนัวร จึงไดมีโอกาสรวมเลนกีฬาบูล-โปรวังซาล ที่ดัดแปลงขึ้น ใหมนี้อยางสนุกสนามและเพลิดเพลินเหมือนเดิม เกมกีฬาบูล-โปรวังซาล ที่ดัดแปลงขึ้นใหมนี้ไดกําหนดขึ้นโดยมีสมาชิกครั้งแรกประมาณ 50 คน พวกเขาพยายาม ประชาสัมพันธเพื่อเผยแพรเกมใหมเปนเวลาถึง 30 ป จึงไดมีสมาชิกเพิมขึ้นเปนลําดับ หลังจากนั้นก็ไดแพรหลายเขาสู ่ นักกีฬา นักการเมือง และขาราชการประจําในราชสํานัก จนในที่สดก็ไดมีการกอตั้ง "สหพันธ เปตองและโปรวังซาล" ขึ้นใน ุ ป ค.ศ.- 1938 จากนั้นจํานวนสมาชิกก็เพิ่มขึ้นแสนๆ คน มีบุคคลทุกระดับชั้นทุกเพศ ทุกวัยเขาเปนสมาชิก ลูกบูลที่ใชเลน ก็มีการคิดคนทําเปนลูกโลหะผสมเหล็กกลา ขางในกลวง การเลนจึงมีความสนุกสนานเราใจยิงขึ้นกวาเดิม ่ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ในป ค.ศ. 1945 การเลนกีฬาลกบูล-โปรวังซาลที่ไดดัดแปลงแกไขใหมนี้ไดรับความนิยมเลนมาก ู ขึ้น และไดแพรหลายไปตามหัวเมืองตางๆ อยางรวดเร็วทัวประเทศฝรั่งเศส ตลอดจนถึงดินแดน อาณานิคมของฝรังเศสอีก ่ ่ ดวย การเลนกีฬาลูกบูลนี้ไดแบงแยกการเลนออกไดเปน 3 ประเภทคือ 1. ลิโยเนล 2. โปรวังชาล (วิ่ง 3 กาวแลวโยน) 3. เปตอง (ที่นิยมเลนในปจจุบัน) กีฬาเปตองจัดแขงขันชนะเลิศแหงโลกขึ้นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ.-1959 ที่เมืองสปา ประเทศเบลเยียม นักเปตองจากประเทศ ฝรั่งเศสไดครองตําแหนงชนะเลิศ
  • 3. ปจจุบันกีฬาเปตองเปนที่นิยมเลนกันอยางแพรหลายเกือบทุกประเทศในทวีปยุโรป อเมริกา และเอเชีย สําหรับในประเทศ ในทวีปเอเชีย ประเทศไทยนับเปนประเทศหนึ่งที่มีผูนิยมเลนกันอยางแพรหลายและกวางขวางมากในปจจุบัน วิธีการเลน ขอ 1. เปตองเปนกีฬาทีเ่ ลนไดกับสนามทุกสภาพ ยกเวนพื้นคอนกรีตพื้นไม และพื้นดินที่มีหญาขึ้นสูง โดยมีคณะกรรมการจัดการ แขงขันหรือผูตัดสินเปนผูกาหนด ผูเลนทุกทีมตองเลนในสนามที่กาหนดใหสาหรับการแขงขันชิงชนะเลิศระดับชาติและ ํ ํ ํ นานาชาติสนามตองมีขนาดกวาง 4 เมตร ยาว 15 เมตร เปนอยางนอย 1.1 สวนการแขงขันอื่น ๆ สมาคมฯ อาจอนุโลมใหเปลี่ยนแปลงขนาดของสนามไดตามความจําเปนและความเหมาะสม แตตองมีขนาดกวาง 3.50 เมตร และยาว 13 เมตร เปนอยางนอย 1.2 เกมหนึ่งกําหนดใหใช 13 คะแนน สําหรับการแขงขันในรอบแรกและรอบตอ ๆ ไป (จะใชเพียง 11 คะแนนก็ได) สําหรับชิงชนะเลิศในระดับนานาชาติหรือแหงชาติใหใช 15 คะแนน ขอ 2 ผูเลนทุกคนตองลงสูสนามแขงขันตามเวลาทีกําหนดใหและทําการเสี่ยงวาฝายใดจะเปนฝายโยนลูกเปา ่ 2.1 ผูเลนคนหนึ่งคนใดในทีมซึงเปนฝายชนะในการเสี่ยงเปนผูโยนลูกเปาเมื่อเลือกจุกเริ่มแลวใหเขียนวงกลมบนพื้นมี ่ ขนาดพอที่เทาทั้งสองขางเขาไปยืนอยูได (เสนผาศูนยกลาง ระหวาง 0.35-0.50 เมตร) วงกลมนั้นจะตองหางจากสิ่งกีด ขวางตาง ๆ และเสนสนามไมนอยกวา 1 เมตร สําหรับการแขงขันในสภาพสนามที่ไมมีขอบเขตของสนามใหเขียนวงกลม หางจากวงกลมของสนามอื่นไมนอยกวา 2 เมตร   2.2 ผูที่เตรียมเลนจะตองอยูภายในวงกลมหามเหยียบเสนรอบวง หามยกเทาพนพื้น และหามออกจากวงกลมกอนที่ ลูกเปตองจะตกลงพื้นสวนอื่นรางกายจะถูกพื้นนอกวงกลมไมไดเวนแตคนขาพิการซึ่งไดรับอนุญาตเปนกรณีพิเศษใหวาง เทาขางเดียวในวงกลมได สวนนักกีฬาพิการที่ตองนั่งรถเข็นใหขีดวงกลมรอบลอรถเข็นไดและที่วางเทาของรถเข็นตองให อยูสูงเหนือขอบวงกลม 2.3 ผูเลนคนหนึ่งคนใดในทีมซึงเปนผูโยนลูกเปา ไมบังคับวาจะตองเปนผูโยนลูกเปตองลูกแรกเสมอไป ่ 2.4 ในกรณีที่สนามไมดี (ชํารุด) หามผูเลนตกลงกันเองแขงขันสนามอื่นโดยไมไดรับอนุญาตจากผูตัดสิน
  • 4. ขอ 3. ลูกเปาที่โยนไปแลวถือวาดีตองมีกฎเกณฑ ดังนี้ 3.1 มีระยะหางระหวางขอบวงกลมดานใกลที่สุดถึงลูกเปา ก. ไมนอยกวา 4 เมตร และไมเกน 8 เมตร สําหรับเด็กเล็ก (อายุไมเกิน 12 ป)  ิ ข. ไมนอยกวา 5 เมตร และไมเกน 9 เมตร สําหรับเด็กเล็ก (อายุไมเกิน 13- 14 ป) ิ ค. ไมนอยกวา 6 เมตร และไมเกน 10 เมตร สําหรับเยาวชน (อายุไมเกิน 15- 17 ป)  ิ ง. ไมนอยกวา 6 เมตร และไมเกน 10 เมตร สําหรับผูใหญ (ไมจากัดอายุ)  ิ ํ 3.2 วงกลมตองอยูหางจากสิงกีดขวางตาง ๆ และเสนเขตสนามหรือเสนฟาลวไมนอยกวา 1 เมตร  ่ 3.3 ตําแหนงลูกเปาตองอยูหางจากสิ่งกีดขวางตาง ๆ และเสนเขตสนามไมนอยกวา 1 เมตร   3.4 ลูกเปาจะตองอยูในตําแหนงที่มองเห็นไดอยางชัดเจน ขณะยืนตัวตรงอยูในวงกลม (ถามีการโตแยงในกรณีนี้ใหผู   ตัดสินเปนผูชี้ขาด) 3.5 การโยนลูกเปาในเที่ยวตอ ๆ ไป ใหเขียนวงกลมรอบตําแหนงลูกเปาที่อยูในเที่ยวที่แลวเวนแตกรณีดังนี้ ก. วงกลมมีระยะหางจากสิงกีดขวางและเสนสนามนอยกวา 1 เมตร ในกรณีนี้ ผูเลนตองเขียนวงกลมใหหางจากสิ่งกีด ่ ขวางและเสนเขตสนามทีกติกาไดกําหนดไว ่ ข. โยนลูกเปาไมไดระยะตามทีกติกากําหนดไว แมจะโยนไปในทิศทางใดก็ตาม กรณีนี้ผูเลนสามารถถอยหลังไดตามแนว ่ ตรง (ตงฉาก) จากตําแหนงเดิมของลูกเปาในเทียวที่แลว แตทั้งนีวงกลมนั้นจะถอยหลังไดไมเกินระยะการโยน ตามที่กติกา ั้ ่ ้ กําหนดไวโดยใหนับจากเสนฟาลว (Dead Bal Line) ดานบนจนถึงเสนขอบวงกลมดานใกลสุด - (ถาไมมีเสนฟาลว ใหนับจากเสนสนามดานบนจนถึงขอบวงกลม ไมเกิน 11 เมตร) ค. ลูกเปาที่อยูในระยะการโยนหรือเลนได แตผูเลนฝายที่มีสิทธิ์โยนลูกเปาไมประสงคจะเลนในระยะนั้น ๆ กรณีนี้ผูเลน  สามารถถอยหลังตามแนวตรง (ตั้งฉาก) จากตําแหนงจากเดิมของลูกเปาในเทียวที่แลวไดตามความพอใจ แตทั้งนี้วงกลม ่ นั้นจะถอยหลังไดไมเกินระยะการโยน ตามที่กตกากําหนดไวโดยใหนับจากเสนฟาวล (Dead Bal Line) ดานบนจนถึงเสน ิ ขอบวงกลมดานใกลสุด - (ถาไมมีเสนฟาลว ใหนับจากเสนสนามดานบนจนถึงขอบวงกลม ไมเกิน 11 เมตร)
  • 5. ง. ผูเลนฝายเดียวกันโยนลูกเปาไปแลว 3 ครั้ง ยังไมไดดีตามกติกากําหนดจะตองเปลียนใหผูเลนฝายตรงกันขามเปนผูโยน ่ ซึ่งมีสิทธิ์โยนได 3 ครั้ง เชนเดียวกัน และอาจยายวงกลมถอยหลังไดตามแนวตรง (ตังฉาก) แตทั้งนีวงกลมนั้นจะถอยหลัง ้ ้ ไดไมเกินระยะการโยน ตามที่กตกากาหนดไวโดยใหนับจากเสนฟาลว (Dead Bal Line) ดานบนจนถึงเสนขอบวงกลม ิ ํ ดานใกลสุด (ถาไมมเี สนฟาลวใหนับจากเสนสนามดานบนจนถึงขอบวงกลม ไมเกิน 11 เมตร) วงกลมที่เขียนขึ้นใหมนั้นจะ เปลี่ยนแปลงอีกไมได แมวาผูเ ลนของทีมหลังนี้จะโยนลูกเปาไมดีทง 3 ครั้ง ก็ตาม ั้ จ. ถึงแมทมที่โยนลูกเปา 3 ครั้งแรกโยนไดไมดีตามที่กตกากําหนดก็ตาม แตทีมที่โยนลูกเปาครั้งแรกนั้นยังมีสิทธิเ์ ปนฝาย ี ิ โยนลูกเปตองลูกแรกอยู ขอ 4. ลูกเปาที่โยนไปแลวถูกผูตัดสิน ผูเลน ผูดู สัตวหรือสิ่งที่เคลื่อนที่อื่น ๆ แลวหยุด ใหนํามาโยนใหมโดยไมนับรวมอยูในการ  โยน 3 ครั้งที่ไดกาหนดไว ํ 4.1 หลังจากการโยนลูกเปาและลูกเปตองลูกแรกไปแลวฝายตรงกันขามยังมีสิทธิ์ประทวงวาดวยตําแหนงของลูกเปานั้น ได ใหเริ่มโยนและลูกเปตองใหม 4.2 ถาฝายตรงกันขามไดโยนลูกเปตองไปดวยแลว 1 ลูก ใหถือวาตําแหนงลูกเปานั้นดี และไมมีสิทธิ์ประทวงใด ๆ ทั้งสิ้น    ขอ 5. ลูกเปาที่โยนไปแลวถือวาฟาลว มี 5 กรณีดังนี้ 5.1 เมื่อลูกเปาที่โยนไปแลวไมไดตําแหนงทีถูกตองตามที่กาหนดไวในขอ 7 ่ ํ 5.2 เมื่อลูกเปาเคลื่อนที่ออกนอกเสนฟาลว แตลูกเปาคาบเสนยังถือวาดี ลูกเปาทีถือวาฟาลว คือลูกเปาที่ออกเสนฟาลว ่ เทานั้น 5.3 เมื่อลูกเปาเคลื่อนที่ไปแลว ผูเลนไมสามารถมองเห็นจากวงกลมตามที่กําหนดไวในขอ 7.4 แตถาลูกเปาถูกลูกเป ตองบังอยูไมถือวาฟาลว ทั้งผูตัดสินมีสิทธิ์ที่จะยกลูกเปตองที่บงอยูออกชัวคราวเพื่อตรวจสอบวา ลูกเปานั้นมองเห็นได ั ่ ชัดเจนหรือไม 5.4 เมื่อลูกเปาเคลื่อนที่ไป มีระยะหางจากวงกลมเกินกวา 20 เมตร หรือนอยกวา 3 เมตร 5.5 เมื่อลูกเปาเคลื่อนที่ไปแลว หาไมพบภายใน 5 นาที ขอ 6.
  • 6. กอนหรือหลังการโยนลูกเปา หามผูเลนปรับพื้นที่หรือเคลื่อนยายสิ่งตาง ๆ เชน กรวด หิน ดิน ทราย ใบไม ฯลฯ ในบริเวณ สนามแขงขันโดยเด็ดขาด เวนแตผูเตรียมตัวจะลงเลนเทานั้นที่มีสทธิ์ปรับสนามที่มีหลุมซึงเกิดจากการโยนลูกเปตองของผู ิ ่ เลนคนที่แลว และอาจใชลกเปตองปรับหลุมนั้นไดไมเกิน 3 ครั้ง ผูเลนที่ฝาฝนกฎตองลงโทษดังนี้ ู 6.1 ถูกเตือน 6.2 ปรับลูกที่เลนไปแลวหรือลูกที่กําลังจะเลนเปนลูกฟาลว 6.3 ปรับเฉพาะผูกระทําผิด ใหงดเลน 1 เที่ยว 6.4 ปรับเปนแพทั้งทีม 6.5 ปรับใหแพทั้ง 2 ทีม ถากระทําผิดเหมือนกัน หรือสมรูรวมคิดกัน ขอ 7. ในระหวางการเลนแตละเที่ยว หากมีใบไม กระดาษหรือสิ่งอื่น ๆ มาบังลูกเปาโดยบังเอิญใหเอาออกได 7.1 เมื่อลูกเปาหยุดนิ่งแลวและเคลื่อนที่ไปใหมโดยแรงลมพัดหรือจากการลาดเอียงของพื้นสนาม จะตองนํากลับมาวาง ที่ตําแหนงเดิม 7.2 เมื่อลูกเปาเคลื่อนที่โดยอุบติเหตุอันเกิดขึ้นจากผูตัดสิน ผูดู สัตว สิ่งเคลื่อนที่อื่น ๆ รวมทังลูกเปาหรือลูกเปตองที่ ั ้ เคลื่อนที่มาจากสนามอื่นใหนําลูกเปานั้นมาวางที่ตําแหนงเดิม ทั้งนี้ตองเครื่องหมายกําหนดจุดเดิมของลูกเปา 7.3 เพื่อหลีกเลี่ยงการประทวงทั้งปวง ผูเลนควรทําเครื่องหมายบนพื้นสนามตามตําแหนงของลูกเปาหรือลูกเปตองไว มิฉะนั้นจะไมมีสิทธิ์ประทวงใด ๆ ทั้งสิ้น 7.4 ลูกเปาที่อยูบนพื้นสนามซึงมีน้ําขังอยูถือวาดี หากลูกเปานันยังไมลอยน้ํา ่  ้ ขอ 8. ในระหวางการเลนแตละเที่ยวหากลูกเปาเคลื่อนที่ไปอยูอีกสนามหนึ่ง ใหถือวาลูกเปานั้นยังดีอยู 8.1 ถาสนามนั้นมีการแขงขันอยู ฝายที่ตองใชลกเปานั้นจะตองหยุดรอเพื่อคอยใหผูเลนที่กาลังเลนอยูในสนามนั้นเลน ู ํ จบกอน 8.2 ผูเลนที่มีปญหาตามขอ 12.1 จะตองแสดงออกถึงความมีน้ําใจ ความอดทน และความเอื้ออารีตอกัน ขอ 9.
  • 7. ในระหวางการเลนแตละเที่ยว ถาลูกเปาเกิดฟาลวใหปฏิบัตตามกฎขอยอยดังนี้ ิ 9.1 ถาผูเลนทั้งสองฝายมีลูกเปตองเหลืออยู การเลนเทียวนั้นถือวาโมฆะ ตองเริมเลนใหมที่ดานตรงขาม ่ ่ 9.2 ถาฝายหนึ่งฝายใดมีลูกเปตองเหลืออยูเพียงฝายเดียวฝายนั้นจะไดคะแนนเทากับจํานวนลูกเปตองที่เหลืออยูโดยไม  ตองเลนและจะเริ่มเลนใหมทดานตรงขาม ี่ 9.3 ถาทั้งสองฝายหมดลูกเปตองเหมือนกัน ใหเริ่มเลนใหมทดานตรงขามโดยใหทีมที่คะแนนเที่ยวที่เปนฝายโยนลูกเปา ี่ ขอ 10. ลูกเปาที่ถกยิงแลวเคลื่อนที่ไปจากตําแหนงเดิม ู 10.1 ถาลูกเปาที่ยงแลวเคลื่อนที่ไปถูกผูดูหรือผูตัดสินแลวหยุด ใหลูกเปานั้นอยูในตําแหนงใหม ิ 10.2 ถาลูกเปาที่ยงแลวเคลื่อนที่ไปถูกผูเลนคนหนึ่งคนใดแลวหยุด ฝายตรงขามที่ทําใหลูกเปาหยุด มีสิทธิ์เลือกปฏิบัติ ิ ตามกฎขอยอยดงนี้ ั ก. ใหลูกเปาอยูในตําแหนงใหม ข. นําลูกเปามาวางที่ตําแหนงเดิม ค. วางลูกเปาตามแนวยาวระหวางตําแหนงเดิมกับตําแหนงใหมแตตองอยูใหมแต ตองอยูในพื้นทีที่กําหนดไวในกติกาแลว ่ เริ่มเลนตอไปตามปกติ 10.3 กรณีตามขอ 14.2 (ข) และ (ค) จะกระทําไดตอเมื่อผูเลนไดทําเครื่องหมายที่ตาแหนงลูกเปาไวเทานั้น มิฉะนั้น  ํ จะตองใหลูกเปาอยูในตําแหนงใหม  ขอ 11. ในระหวางการเลนแตละเที่ยวหากลูกเปาเคลื่อนที่ไปอยูในสนามอืนถือวายังดีอยู ในเที่ยวตอไปจะตองมาเลนที่สนามเดิม ่ ดานตรงกันขาม แตตองเปนไปตามที่กาหนดไวในกติกาขอ 7 ํ การวัดระยะและการวัดคะแนน ขอ 1.
  • 8. ในการวัดคะแนนอนุญาตใหโยกยายลูกเปตองที่เกียวของไดแตตองทําเครื่องหมายทีมีตําแหนงสิ่งนั้น ๆ ไวกอนโยกยาย ่  ่ เมื่อการวัดคะแนนเสร็จสิ้นลง ใหนําทุกสิ่งที่โยกยายไปนั้นกลับมาวางที่ตําแหนงเดิมทั้งหมดถาสิ่งกีดขวางที่มีปญหานั้นไม อาจโยกยายไดใหใชวงเวียนทาการวัด   ํ ขอ 2. ในการวัดคะแนนระหวางลูกเปตอง 2 ลูก ซึ่งอยูใกลเคียงกันมาก ผูเลนคนหนึ่งไดวัดไปแลว และบอกวาตนได ผูเลนฝาย ตรงกันขามมีสิทธิ์ทจะวัดใหม เพือความแนใจและถูกตอง (สวนอุปกรณการวัดที่ตองเปนอุปกรณที่ไดมาตรฐาน หามวัด ี่ ่ โดยการนับระยะเทา ) เมื่อทังสองฝายไดคะแนนแลวหลายครั้งยังตกลงกันไมไดตองใหผูตัดสินเปนผูวัดเพื่อตัดสิน และผล ้ การตัดสินถือเปนที่สิ้นสุด และหากผูเลนเปนฝายฝาฝนกติกาขอนี้ใหผูตัดสินตักเตือน 1 ครั้ง หากยังฝาฝนอีกใหปรับเปน แพ ขอ 3. เมื่อเสร็จสิ้นการแขงขันแตละเทียวลูกเปตองทุกลูกทีถูกนําออกกอนการวัดคะแนน ใหถือวาเปนลูกฟาลวและไมมีสิทธิ์ ่ ่ โตแยงใด ๆ ทั้งสิ้น ขอ 4. ถาผูเลนฝายหนึงฝายใดทําการวัดคะแนนแลว ไปทําใหลูกเปาหรือเปตองทีมีปญหานั้นเคลื่อนที่ จะตองเปนฝายเสีย ่ ่ คะแนนนั้นและในการวัดแตละครั้งตองใหผูเลนของทีมที่ทําใหลูกเปตองเกิดปญหาทําการวัดทุกครัง ในการวัดคะแนนแต ้ ละครั้ง กอนทําการวัดผูตัดสินตองทําการคาดคะเนเสียกอนวาลูกใดเปรียบและถาไดวดไปแลว บังเอิญผูตัดสินไปทําใหเป ั ตองหรือลูกเปาเคลื่อนที่ผูตัดสินจะตองทําการวัดใหม และภายหลังการวัดปรากฏวาลูกเปตองที่คาดคะเนวาชนะยังคงชนะ อยูใหกรรมการตัดสินตามความเปนจริงถาการวัดครั้งใหมแลวปรากฏวาลูกเปตองที่คาดคะเนวาจะชนะกลับแพ ใหผูตัดสิน ตัดสินดวยความเที่ยงธรรม ขอ 5. ในกรณีที่ลูกเปตองของทั้งสองฝายมีระยะหางจากลูกเปาเทากันหรือติดกับลูกเปาทั้ง 2 ลูกใหปฏิบัติตามกฎขอยอย ดังนี้ 5.1 ถาทั้งสองฝายหมดลูกเปตองเลนแลว การเลนเที่ยวนั้นถือวาเปนโมฆะ จะตองเริ่มเลนใหมดานตรงขาม โดยผูเลน  ฝายที่ไดคะแนนในเที่ยวที่แลว เปนผูโยนลูกเปา 5.2 ถาฝายหนึ่งฝายใดมีลูกเปตองเหลือเลนอยูเพียงฝายเดียว ฝายนั้นจะตองเลนจนหมดลูกเปตองเพื่อทําคะแนน เพิ่มเติมตามจํานวนลูกเปตองที่อยูใกลเปามากที่สุด
  • 9. 5.3 ถาทั้งสองฝายยังมีลูกเปตองเหลืออยู ฝายที่โยนลูกเปตองทีหลังจะตองเปนฝายเลนลูกตอไป ถาลูกเปตองทั้งสอง ฝายยังเสมอกันอยูตองเปลี่ยนใหอีกฝายหนึ่งเปนผูเลนและตองสลับกันโยนฝายละ 1 ลูก จนกวาฝายหนึ่งฝายใดจะได คะแนนแลวเลนตอไปตามปกติ ขอ 6. หากมีสิ่งหนึงสิ่งใดเกาะติดกับลูกเปตองหรือลูกเปาจะตองเอาสิ่งนันออกกอนการวัดคะแนนทุกครัง ่ ้ ้ ขอ 7. การเสนอขอประทวงตอผูตดสินจะกระทําไดในระหวางการแขงขันแตละเกมเทานั้น เมื่อเกมการแขงขันเทานั้น เมื่อเกมการ ั แขงขันนั้น ๆ ไดสิ้นสุดลงจะไมมประทวงใด ๆ ทั้งสิ้น เพื่อประโยชนของฝายตน ผูเลนทุกคนตองคอยระมัดระวังการละเมิด ี กติกาของฝายตรงขามบัตรประจําตัวนักกีฬา-รุนของผูเลนสนามแขงขัน มาตรฐานของลูกเปตอง เปนตน ขอ 8. ในขณะทําการจับสลากและการประกาศผลการจับสลาก ผูเลนทุกคนตองอยูพรอมกันที่โตะอํานวยการ หลังจากการ ประกาศผลไปแลว 15 นาที ทีมทีไมลงสนามแขงขันจะถูกปรับเสียคะแนนใหแกฝายตรงขาม 1 คะแนน ่  8.1 หากเกินกําหนดเวลา 15 นาทีไปแลว การปรับคะแนนจะทวีเพิ่มขึ้น 1 คะแนน ทุก ๆ 5 นาที 8.2 บทลงโทษตามขอ 32 จะมีผลบังคับหลังจากการประกาศใหเริ่มการแขงขันทุกครั้ง 8.3 หลังจากการประกาศการแขงขันไดผานพนไปแลว 1 ชั่วโมงทีมที่ยังไมไดลงทําการแขงขันจะถูกปรับใหเปนผูแพใน เกมนั้น 8.4 ทีมที่มีผูเลนไมครบจํานวน ตองลงทําการแขงขันตามเวลาทีกําหนดโดยไมอนุญาตใหรอผูรวมทีมที่มาลาชาและจะ ่ เลนลูกเปตองไดตามจํานวนที่ผูเลนมีสิทธิเทานั้น (ตามประเภทที่แขงขัน) ขอ 9. เมื่อมีการแขงขันในเที่ยวนั้นไดเริมเลนไปแลว ผูเลนที่มาลาชาไมมสิทธิ์ลงเลนในเที่ยวนั้น แตอนุญาตใหลงเลนในเที่ยว ่ ี ตอไปได 9.1 เมื่อการแขงขันในเกมนั้นไดดําเนินไปแลว 1 ชั่วโมง ผูเลนทีมาลาชาหมดสิทธิ์ลงทําการแขงขันในเกมนั้น ่ 9.2 ถาการแขงขันนั้นแบงเปนสาย จะอนุญาตใหผเลนที่มาลาชาลงแขงขันในเกมที่ 2 ได ไมวาผลการแขงขันในเกมแรก ู จะแพหรือชนะก็ตาม
  • 10. 9.3 หากทีมที่มีผูเลนไมครบจํานวนสามารถชนะการแขงขันในเกมนั้นจะอนุญาตใหผูเลนที่มาเลนชาลงแขงขันในเกม ตอไปได แตตองเปนผูเลนของทีมนั้น และตองมีชื่อถูกตองในในสมัครดวย 9.4 การแขงขันแตละเที่ยวจะถือวาเริ่มขึ้นแลวก็ตอเมื่อลูกเปาที่โยนไปในสนามนั้น ไดตาแหนงถูกตองตามกติกา ํ ขอ 10. การเปลี่ยนตัวผูเลนจะอนุญาตใหกระทําไดกอนจับสลากการแขงขันเทานั้น และตองเปนผูเลนที่ไมมีรายชื่ออยูในทีมอื่น ของการแขงขันเดียวกัน ขอ 11. ในระหวางการแขงขันหากมีฝนตก ใหแขงขันตอไปจนจบเที่ยวเวนแตมีเหตุผลสุดวิสัย ไมสามารถแขงขันตอไปได ผูตัดสิน และผูชี้ขาดเทานั้นที่มีอานาจใหหยุดการพักการแขงขันชั่วคราวหรือยกเลิกการแขงขัน ํ 11.1 หลังจากการประกาศเพื่อเริ่มตนการแขงขันในรอบใหมแลว รอบสองหรือรอบตอ ๆ ไป หากยังมีบางทีมและบาง สนามยังแขงขันไมเสร็จ ผูตัดสินอาจดําเนินการอยางหนึงอยางใดตามทีดีตนเห็นสมควร ดวยความเห็นชอบคณะกรรมการ ่ ่ จัดการแขงขันเพื่อใหการแขงขันนั้นดําเนินไปดวยดี 11.2 ในระหวางการแขงขัน ผูเลนทุกคนจะออกไปจากสนามตองไดรับอนุญาตจากผูตัดสินเสียกอน มิฉะนั้นจะถูก ลงโทษตามที่กําหนดไวในขอ 32. และ 33. ขอ 12. ในการแขงขันรอบชิงชนะเลิศ หรือรอบอื่น ๆ ก็ตาม หามผูเลนทั้งสองฝายสมยอมกันหรือแบงรางวัลกันโดยเด็ดขาด ถาผู เลนทั้งสองฝายสมยอมกันหรือแบงรางวัลกันโดยเด็ดขาด ถาผูเลนทั้งสองฝายแขงขันกันไมสมศักดิ์ศรี เปนการหลอกลวงผู ดู ผูควบคุมทีม และผูเลนทั้งสองทีมจะถูกลงโทษใหออกจากการแขงขัน และผลการแขงขันที่ผานมากอนหนานั้นก็ใหถือ โมฆะดวย นอกจากนั้นแลวผูเลนทั้งสองทีมจะตองถูกพิจารณาลงโทษตามทีกําหนดไวขอ 11. อีกดวย ่ ขอ 13. ผูเลนที่มีพฤติกรรมอันเปนการผิดมารยาทอยางรุนแรงตอผูควบคุมทีม ผูตัดสิน ผูเลนคน อื่น ๆ หรือผูดู จะถูกลงโทษตาม สภาพความผิดดงนี้ ั ก. ใหออกจากการแขงขัน ข. ถอนใบอนุญาต (บัตรประจําตัวนักกีฬา) ค. งดใหรางวัลหรือเงินรางวัล
  • 11. 13.1 การลงโทษผูเลนที่กระทําผิดอาจมีผลถึงผูรวมทีมดวย 13.2 บทลงโทษ (ก) (ข) เปนอํานาจของผูตัดสิน 13.3 บทลงโทษ (ค) เปนอํานาจของคณะกรรมการจัดการแขงขันที่ทํารายงาน และสงรางวัลที่ยดไวนั้นใหสมาคมฯ ึ ทราบภายใน 48 ชั่วโมง เพื่อพิจารณาตามที่เห็นสมควรตอไป 13.4 การลงโทษทุกกรณี เปนอํานาจของคณะกรรมการบริหารสมาคม ฯ ที่จะพิจารณาเปนขั้นตอนสุดทาย ขอ 14. ผูตัดสินทุกคนที่ไดรับการแตงตั้งจากสหพันธฯ เปตองนานาชาติหรือสมาคมเปตองแหงประเทศไทย ฯ มีหนาที่คอย ควบคุมดูแลใหการแขงขันดําเนินไปอยางมีระเบียบและถูกตองตามกติกาอยางเครงครัด และมีอานาจใหผเู ลนทุกคน หรือ ํ ทุกทีมที่ปฏิเสธไมปฏิบัติตามคําตัดสินออกจากการแขงขันได 14.1 หากมีผูซงเปนนักกีฬาในสังกัดสหพันธฯ เปนตนเหตุทําใหเกิดการจลาจลในสนาม แขงขัน ผูตัดสินจะตองรายงาน ึ่ ใหสหพันธฯ ทราบ ทาสหพันธฯ จะไดเรียกตัวผูกระทําผิดนั้นมาชีแจงตอคณะกรรมการระเบียบวินยเพื่อพิจารณาลงโทษ  ้ ั ตอไป ขอ 15. หากกรณีอื่นใดที่มิไดกําหนดไวในกติกาขอนี้เปนหนาที่ของผูตัดสินที่จะตองขอความรวมมือจากคณะกรรมการชี้ขาดการ แขงขันครังนั้นเพื่อพิจารณาตัดสินผูชี้ขาดตามสมควรแกกรณี (คณะกรรมการชี้ขาดประกอบดวยกรรมการ 3 หรือ 5 คน) ้ 15.1 การชี้ขาดของคณะกรรมการ ผูตัดสินชี้ขาดถือเปนการสิ้นสุด ในกรณีมีเสียงเทากันใหประธานกรรมการผูตัดสินชี้ ขาดเปนผูชี้ขาด  15.2 ผูเลนทุกคนจะตองแตงกายใหเรียบรอย การไมสวมเสื้อไมสวมรองเทา ถือวามีความผิด ผูเลนที่ฝาฝนไมปฏิบัติตาม กฎนี้ ถาผูตัดสินตักเตือน 1 ครั้ง และหากยังเพิกเฉยฝาฝนอีก จะถูกลงโทษใหออกจากการแขงขัน ขอขอบคุณแหลงขอมูลจาก http://www.seagames2007.th