SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 10
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2559
ชื่อโครงงาน ผลกระทบจากการใช้โทรศัพท์มือถือ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว สริตา ไพศาลสุทธิชล เลขที่ 13 ชั้น ม. 6/9
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาว สริตา ไพศาลสุทธิชล เลขที่ 13 ชั้น ม. 6/9
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ผลกระทบจากการใช้โทรศัพท์มือถือ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
The effects of using smartphone
ประเภทโครงงาน เพื่อศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว สริตา ไพศาลสุทธิชล เลขที่ 13 ชั้น ม. 6/9
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 17 สัปดาห์
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ปัจจุบันสิ่งที่ผู้คนต้องมีพกติดตัวนอกจากกระเป๋าสตางค์แล้วนั่นก็คือโทรศัพท์มือถือซึ่งอาจถือว่าเป็นสิ่งหนึ่ง
ที่ขาดไม่ได้เลยของผู้คน ถ้าหากไม่สามารถติดต่อโดยส่วนตัวจากโทรศัพท์มือถือกับผู้อื่นแล้วจะมีความลาบากมากขึ้น
และอาจส่งผลให้ตัดสินใจและแก้ไขปัญหารวมถึงการจัดกิจกรรมต่างๆโดยการติดต่อนั้นช้าลงไป ผู้จัดทาจึงเล็งเห็นว่า
การที่เราใช้เจ้าโทรศัพท์พกพานั้นที่มีข้อดีมากมาย เช่นสามารถเพลิดเพลินไปกับสื่อต่างๆบนโลกโซเชียล หรือการ
ติดต่อกับผู้คนที่อยู่คนละทวีป รวมถึงเป็นสิ่งที่มีราคาค่อนข้างแพงนี้จะมีผลต่อระบบสมอง ความผิดปกติต่างๆของ
ร่างกายเราหรือไม่ หรืออาจเป็นปัจจัยหนึ่งที่ก่อให้เกิดโรคต่างๆ เช่นโรคมะเร็ง โรคไมเกรน หรือ หูหนวก ซึ่งถือว่า
เป็นสิ่งที่อันตรายกับผู้คนมาก ดังนั้นการที่เราใช้สิ่งอานวยความสะดวกในการติดต่อนี้อาจมีผลที่อันตรายอย่างไม่
คาดคิดกับผู้ใช้ได้ เพื่อให้เกิดความเข้าใจและระวังตัวในการใช้โทรศัพท์มือถือมากขึ้น ผู้จัดทาจึงอยากศึกษาข้อมูล
เกี่ยวกับงานวิจัยและโรคต่างๆที่เป็นผลมาจากสมาร์ทโฟนเพื่อการระวังตัวและเพื่อให้ช่วยเตือนผู้อื่นหากมีเกณฑ์ที่จะ
เป็นโรคนั้นๆให้ดูแลและควบคุมตนเอง
3
วัตถุประสงค์
เพื่อให้เกิดความเข้าใจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์อย่างถูกต้องและการระวังตัวในการใช้สมาร์ทโฟนเพื่อป้องกัน
ไม่เกิดอาการผิดปกติต่างๆต่อร่างกาย
ขอบเขตโครงงาน
เพื่อศึกษาโรคและอาการที่คนส่วนใหญ่มักเป็นโดยเกิดจากสมาร์ทโฟนหรือโทรศัพท์มือถือเท่านั้น ซึ่งยังมี
ข้อจากัดคือ การอ้างอิงบางอย่างยังไม่สามารถพิสูจน์ได้แน่ชัดว่าโรคที่เป็นนั้นมีเหตุจริงๆมาจากโทรศัพท์หรือไม่
หลักการและทฤษฎี
งานวิจัยของผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับแม่เหล็ก
ผู้เชี่ยวชาญด้านคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ชี้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากโทรศัพท์มือถือไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตามทฤษฎีและ
หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ในปัจจุบัน แต่ความร้อนที่เกิดขึ้นจากโทรศัพท์มือถืออาจมีผลกระทบต่อสุขภาพ แนะผู้ใช้
โทรศัพท์มือถือที่กลัวความเสี่ยงควรใช้โทรศัพท์ตามความจาเป็น และควรเก็บโทรศัพท์มือถือให้ห่างจากตัวอย่างน้อย
20 เซนติเมตร เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2558 สมาคมอุปกรณ์การแพทย์ไทยได้จัดบรรยายหัวข้อเรื่อง “คลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้าจากการใช้โทรศัพท์มือถือ มีผลต่อสุขภาพหรือไม่” ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของงานประชุมวิชาการ Medical
Fair Thailand ระหว่างวันที่ 10-12 กันยายน 2558 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาญไชย ไทยเจียม ภาควิชา
วิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และตัวแทนจากสมาคมวิจัยวิศวกรรมชีว
การแพทย์ไทย กล่าวว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามี 2 ประเภท คือ คลื่นนอนไอโอไนซ์ (Non-ionizing radiation) ซึ่งไม่มี
ผลกระทบต่อเซลล์ โดยให้เพียงความร้อนเท่านั้น เช่น คลื่นวิทยุ FM/AM แสงแดด เตาไมโครเวฟ ฯลฯ และคลื่นไอโอ
ไนซ์ (Ionizing radiation) ซึ่งมีผลกระทบต่อเซลล์ เช่น รังสีเอ็กซ์เรย์ที่ในวงการแพทย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาญไชยกล่าวต่อว่า อันตรายของแม่เหล็กไฟฟ้าขึ้นอยู่กับระดับกาลังคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า โดย
กาลังมากก็จะให้ความร้อนมากซึ่งอุปกรณ์ไฟฟ้าแต่ละชนิดที่ใช้นั้นมีกาลังคลื่นแม่เหล็กต่างกัน คือ วิทยุเอฟเอ็มรัศมี
50 กิโลเมตรมีระดับกาลัง 100 กิโลวัตต์ เตาไมโครเวฟมีระดับกาลัง 1 กิโลวัตต์ โทรศัพท์มือถือ 2 วัตต์สาหรับระบบ
เดิม แต่ปัจจุบันที่เป็นระบบ 3G มีระดับกาลังคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ประมาณ 0.8 วัตต์ หากระบบ 4G ระดับกาลังคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้าจะน้อยลงอีก
“ผลกระทบต่ออวัยวะต่างๆ ของร่างกายจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านั้นมีระดับที่แตกต่างกัน โดยอวัยวะ
ที่มีเลือดหล่อเลี้ยงมากจะมีความเสี่ยงน้อย ส่วนอวัยวะที่มีเลือดหล่อเลี้ยงน้อยจะมีความเสี่ยงมาก เช่น ดวงตา
แต่ปัจจุบันยังไม่พบผู้ที่ดวงตามีปัญหาเนื่องจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทั้งนี้เพราะเลือดที่หมุนเวียนในอวัยวะ
ต่างๆ จะเป็นตัวช่วยคลายความร้อนที่เกิดขึ้นจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและส่งความร้อนมายังร่างกายมนุษย์”
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาญไชยกล่าว
4
สาหรับข้อกังวลด้านสุขภาพจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านั้นปัจจุบันมีหลายเรื่อง ซึ่งมีผลการศึกษารองรับในเชิงระบาด
วิทยา แต่ในทางวิทยาศาสตร์ยังพิสูจน์ไม่ได้ว่าก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ โดยเรื่องที่หลายคนกังวลใจคือ ปวด
ศีรษะ, มีอารมณ์ฉุนเฉียว, ซึมเศร้า, คลื่นไส้, มีปัญหาด้านการมองเห็นลดลง, มะเร็งเนื้องอกในสมอง โดยคลื่นจะเป็น
ตัวเร่งปฏิกิริยาทาให้อาการดังกล่าวเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว, เด็กมีความเสี่ยงเกิดมะเร็งเม็ดเลือดขาว, สูญเสียการได้ยิน (หู
ดับ), ส่งผลต่อทารกในครรภ์ และสมรรถภาพทางเพศเสื่อม
“อาจเป็นไปได้ที่การโทรศัพท์มือถือทาให้มีอาการปวดหัวได้ แต่อย่างไรก็ตาม ส่วนหนึ่งไม่ได้เกิดขึ้น
เพราะเทคโนโลยีของโทรศัพท์ที่ส่งผลจากการกระจายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ไม่ส่งผลต่อการแตกตัวของไอออน
ซึ่งยังสังเกตผลไม่ได้ในช่วงเวลาสั้นๆ ทั้งอาการปวดหัว คลื่นไส้ หรืออาการอื่นๆ แต่อย่างน้อยการใช้โทรศัพท์
นานๆ ก็อาจส่งผลต่อได้ ส่วนใหญ่แล้วเป็นผลมาจากท่าทางหรือช่วงสรีระระหว่างการใช้โทรศัพท์หรืออาจเกิด
จากความร้อน เช่น จากแบตเตอรี่โทรศัพท์ที่แนบหูไว้นานๆ”
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาญไชยกล่าว
ด้านข้อกังวลใจเกี่ยวกับสมรรถภาพทางเพศเสื่อม ช่วงหลายปีที่ผ่านมามีการศึกษาวิจัยรายงานว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
จากโทรศัพท์มือถือ ทาให้เกิดความผิดปกติของการหลั่งสารเคมี ฮอร์โมนภายในร่างกาย และปริมาณอสุจิของเพศชาย
แต่ผลการศึกษาใหม่ๆ ขัดแย้งกับผลการศึกษาในอดีต ซึ่งยังไม่มีข้อบ่งชี้ที่ชัดเจนว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจาก
โทรศัพท์มือถือมีผลต่อระบบสืบพันธุ์โดยเฉพาะเพศชาย เนื่องจากอวัยวะอยู่ภายนอกร่างกาย ดังนั้น นักวิทยาศาสตร์
จึงแนะนาให้พยายามเก็บมือถือให้ห่างจากร่างกายอย่างน้อย 20 เซนติเมตร
สาหรับเรื่องมะเร็งเนื้องอกในสมอง รายงานวิจัยบางรายงานสรุปว่า อาจมีความเสี่ยงเกิดมะเร็ง บางรายงานสรุปว่า ไม่
มีความเสี่ยงการเกิดมะเร็งเพิ่มขึ้น นั่นคือ ยังไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจน แต่โดยทฤษฎีแล้วสนามแม่เหล็กที่ออกมาจาก
โทรศัพท์มือถือไม่ใช่สาเหตุของการเร่งการเกิดมะเร็ง แต่ความร้อนที่เกิดขึ้นนั้นอาจจะมีผลกระทบต่อสุขภาพ ส่วนเรื่อง
มะเร็งเม็ดเลือดขาว โดยทั่วไปเกิดจาก 3 ปัจจัยหลัก คือ พันธุกรรม ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือติดเชื้อไวรัสบางชนิด
สารเคมีและสิ่งแวดล้อมต่างๆ ซึ่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าอยู่ในกลุ่มของสิ่งแวดล้อม โดยองค์การอนามัยโลกระบุให้คลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้าอยู่ในกลุ่ม 2B คืออาจจะก่อมะเร็งในมนุษย์ เพื่อตีกรอบป้องกันไว้ก่อน หลังจากที่ศึกษาพบว่าอาจจะก่อ
มะเร็งแม้ยังพิสูจน์แน่ชัดไม่ได้ อย่างไรก็ตาม มีสารเคมีและปัจจัยอื่นๆ รวม 287 ชนิดที่อยู่ในกลุ่ม 2B เช่น กาแฟ
เครื่องสาอาง ฯลฯ ส่วนอันตรายต่อทารกในครรภ์นั้น หากใครที่กังวลใจก็อย่านาโทรศัพท์ไปไว้ใกล้ๆ ทั้งนี้ทารกใน
ครรภ์จะเสี่ยงน้อยกว่าเด็กทารกที่คลอดแล้ว เนื่องจากมีท้องของแม่เป็นเกราะกาบัง ในขณะที่เด็กทารกที่คลอดแล้ว
นั้นมีศีรษะบางนอกจากนี้ยังกล่าวว่า การปล่อยคลื่นสัญญาณโทรศัพท์จากสถานีฐานนั้น เครื่องรับส่งสัญญาณจะอยู่ที่
ด้านบนสุดของเสา ซึ่งระยะห่างจากเสามีผลต่อระดับกาลังคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ใช้รับ-ส่งสัญญาณระหว่าง
โทรศัพท์มือถือกับเสาสัญญาณ โดยถ้าอยู่ใกล้เสา โทรศัพท์ก็จะใช้กาลังน้อยกว่าเมื่อโทรศัพท์อยู่ไกล แต่ก็จะไม่เกิน
กาลังสูงสุดที่กาหนดไว้ของอุปกรณ์ คือ กรณีโทรศัพท์ระบบ GSM มีกาลังสูงสุด 2 วัตต์ ก็จะส่งสัญญาณไปยังเสา
สัญญาณได้สูงสุดที่ 2 วัตต์ แต่หากอยู่ใกล้ๆ เสาสัญญาณก็จะใช้กาลังส่งคลื่นไม่ถึง 2 วัตต์ ซึ่งทาให้ประหยัดแบตเตอรี่
ได้ด้วย อย่างไรก็ตาม คนส่วนใหญ่มักกลัวเสาส่งสัญญาณที่มีขนาดใหญ่มากกว่ากลัวคลื่นจากเครื่องรับ-ส่งสัญญาณ
ซึ่งความจริงคือเครื่องรับ-ส่งสัญญาณมีขนาดไม่ใหญ่ ติดตั้งอยู่ที่จุดบนสุดของเสา แต่ที่ต้องสร้างเสาสัญญาณขนาดใหญ่
เพราะต้องการให้เครื่องส่งรับ-ส่งสัญญาณอยู่สูงๆ เพื่อที่จะได้ส่งสัญญาณได้ไกล
5
นอกจากนี้ยังกล่าวว่า อันตรายจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีต่อร่างกาย ขึ้นอยู่กับอัตราการดูดกลืนพลังงานจาเพาะ
(Specific Absorption Rate หรือ SAR ซึ่งเป็นอัตราที่พลังงานถูกดูดกลืนโดยเนื้อเยื่อของร่างกาย มีหน่วยเป็นวัตต์ต่อ
กิโลกรัม (W/kg) ที่เป็นหน่วยการวัดปริมาณการได้รับรังสีซึ่งใช้กันทั่วไปสาหรับการวัดการได้รับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใน
ย่านความถี่สูงกว่า 100 กิกะเฮิร์ต (kHz)
“ถ้ากลัวว่าโทรศัพท์มือถือจะอันตรายต่อสุขภาพ ก็จากัดการใช้ โดยใช้เท่าที่จาเป็น ไม่ใช่เสพติดโทรศัพท์มือถือ รวมถึง
อย่าให้เด็กเล็กๆ ใช้โทรศัพท์ และในผู้ใหญ่ก็ควรเก็บโทรศัพท์มือถือให้ห่างตัวอย่างน้อย 20 เซนติเมตร หรือหาก
สามารถปิดเครื่องเวลานอนได้ก็จะดี นอกจากนี้ไม่ควรพยายามใช้โทรศัพท์มือถือในที่อับสัญญาณ เช่น ลิฟต์ เพราะจะ
ทาให้โทรศัพท์ใช้กาลังส่งคลื่นสูงสุด ทาให้เกิดความร้อนสูงและเปลืองแบตเตอรี่ด้วย ที่สาคัญต้องเลือกใช้สินค้าที่มี
ค่า SAR ต่าๆ เพื่อความปลอดภัยของสุขภาพ”
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาญไชยกล่าว
โทรศัพท์เคลื่อนที่หรือโทรศัพท์มือถือได้ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากต่ออุตสาหกรรมการสื่อสาร อุปกรณ์
เหล่านี้ทาให้สามารถโทรศัพท์ติดต่อถึงกันโดยโทรจากที่ไหนก็ได้ โทรศัพท์ชนิดนี้มี 2 ประเภท โทรศัพท์โดยทั่วไปจะมี
เสาอากาศติดอยู่ที่ตัวโทรศัพท์ อีกประเภทจะมีเสาอากาศแยกออกต่างหากและในกรณีที่ติดตั้งในรถ อาจมีเสาอากาศ
ติดอยู่ที่หน้าต่างหรือหลังคารถ การติดต่อระหว่างโทรศัพท์มือถือกับสถานีที่ใกล้ที่สุดใช้ไมโครเวฟที่ออกมาจากเสา ซึ่ง
ในบทความนี้จะกล่าวถึงแต่โทรศัพท์มือถือแบบธรรมดาหรือสมาร์ทโฟนเท่านั้น
ผลกระทบต่อสุขภาพ Basis of Health Concerns
โทรศัพท์มือถือแบบธรรมดาจะมีผลต่อสุขภาพสูงโทรศัพท์ไร้สายที่ใช้งานโดยอยู่ห่างจากเครื่องรับได้ในระยะไม่เกิน 20
เมตร การใช้งานจะไม่มีผลต่อสุขภาพเนื่องจากระดับรังสีต่ามากมีรายงานจานวนมากปรากฏในสื่อต่างๆ ว่ามีอาการ
ผิดปกติที่เกิดจากการใช้โทรศัพท์มือถือ เช่น ปวดศีรษะ มีจุดร้อน (hot spots) ในสมองและมะเร็งสมอง มีรายงานใน
สื่อเหล่านั้นว่า ประมาณ 70% ของไมโครเวฟที่แผ่ออกมาจากโทรศัพท์มือถือจะถูกดูดกลืนไปที่ศีรษะของผู้ใช้ เรื่องนี้
ไม่มีการยืนยันอย่างแน่ชัด แต่ก็เสี่ยงที่จะทาให้เกิดจุดร้อน (hot spots) ขึ้นในสมองของผู้ใช้ ทาให้การใช้
โทรศัพท์มือถืออาจมีความเสี่ยงต่อสุขภาพ มีรายงานบางแห่งที่ชี้ให้เห็นว่าผู้ใช้หลายรายมีอาการปวดศีรษะหลังจากใช้
โทรศัพท์มือถือ ขณะนี้จึงเป็นการยากที่จะประเมินความแน่นอนของรายงานเหล่านี้ เนื่องจากยังไม่มีรายงานออกมา
อย่างเป็นทางการ มีรายงานถึงการเกิดมะเร็งสมองในอเมริกาว่า มีผู้ป่วยจานวนมากที่ฟ้องร้องผู้ผลิตหรือจาหน่าย
โทรศัพท์มือถือ ว่าไมโครเวฟจากโทรศัพท์มือถือทาให้พวกเขาเกิดมะเร็งสมอง แต่เมื่อมีการตรวจสอบแล้วพบว่าบาง
รายเกิดความเข้าใจผิด
6
5 โรคฮิตของคนติดจอ ติดแชท
หมกมุ่นอยู่กับโลกโซเชียลเน็ตเวิร์กมาก ๆ ป่วยไม่รู้ตัว มาดูซิมีโรคอะไรบ้าง แล้วเราเองก็เข้าข่ายด้วยหรือเปล่า
1. โรคซึมเศร้าจากเฟซบุ๊ก (Facebook Depression Syndrome)
หลายคนอาจสงสัยว่า เล่นเฟซบุ๊กก็มีเพื่อนตั้งมากแล้วจะเป็นโรคซึมเศร้าได้อย่างไร แต่อาการนี้เกิดขึ้นได้จริง
ๆ เพราะคนเราเมื่อติดอยู่แต่หน้าจอ จิ้ม ๆ กด ๆ คุยกับคนในโลกออนไลน์ ก็กลายเป็นไปเพิกเฉยต่อคนในโลกจริง
แถมหลายคนใช้เฟซบุ๊กเป็นเครื่องระบายความรู้สึกมากขึ้น โดยเฉพาะเวลาเราว้าเหว่ เหงา เดียวดาย ก็ยิ่งโพสต์เยอะ
โดย ธาม เชื้อสถาปนศิริ นักวิชาการสถาบันวิชาการสื่อสาธารณะ (สวส.) ได้เขียนบทความให้ความรู้เรื่องโรคซึมเศร้า
จากเฟซบุ๊ก ไว้อย่างน่าสนใจว่า วารสารการแพทย์กุมารเวชศาสตร์ สหรัฐอเมริกา ได้ทาการศึกษาเรื่องนี้ และพบว่า
คนที่ถูกเพื่อน ๆ ปฏิเสธหรือเป็นที่รังเกียจในโลกเฟซบุ๊กจะเป็นอันตรายมากกว่าถูกปฏิเสธในโลกแห่งความจริง และ
หลายรายอาจมีปัญหาซึมเศร้าตาม นั่นเพราะเฟซบุ๊กได้สร้างความเป็นจริงเทียม (artificial reality) ขึ้นมา จากการ
โพสต์แต่เรื่องดี ๆ แต่เก็บงาเรื่องร้าย ๆ แย่ ๆ ที่อยากปกปิดเอาไว้ เราถึงเห็นแต่คนที่มีชีวิตสมบูรณ์แบบในโลกเสมือน
จริงเต็มไปหมด เมื่อนามาเปรียบเทียบกับตัวเอง ความรู้สึก "ไร้ค่า" จึงเกิดขึ้น ถ้าคุณรู้สึกเสียความมั่นใจสุด ๆ เวลาส่ง
คาร้องไปขอเป็นเพื่อนแล้วไม่ได้รับการตอบรับ เก็บมาคิดว่าทาไมจึงไม่เป็นที่ต้องการ นี่ก็เป็นสัญญาณของโรคซึมเศร้า
จากเฟซบุ๊กแล้ว วิธีหลีกหนีอาการนี้ก็คือ ลดการเล่นเฟซบุ๊กลง ทั้งอ่านเรื่องคนอื่น และโพสต์เรื่องตัวเอง จะได้รู้สึกดี
กับตัวเองมากขึ้น
7
2. ละเมอแชท (Sleep-Texting)
อาการนี้ก็คือ ถึงแม้เราจะนอนแต่ก็ยังลุกขึ้นมาพิมพ์เหมือนกับคนละเมอนั่นเอง สาเหตุก็มาจากพฤติกรรมติด
สมาร์ทโฟนเกินเหตุ ทาให้สมองยึดติดกับโทรศัพท์อยู่ทุกขณะจิต แม้กระทั่งเวลานอน หากมีข้อความเข้ามา สมองก็จะ
ปลุกร่างกายที่หลับใหลให้อยู่ในสภาวะละเมอ แล้วกดส่งข้อความไปโดยอัตโนมัติ ซึ่งเราอาจไม่รู้สึกตัวด้วยซ้าว่าเขียน
อะไรไป หรือส่งไปหาคน เพราะอยู่ในสภาวะกึ่งหลับกึ่งตื่น แบบนี้ก็เสี่ยงต่อความเข้าใจผิดได้เลยนอกจากเสี่ยงต่อ
ความเข้าใจผิดแล้ว อาการละเมอแชทยังกระทบสุขภาพด้วย เพราะเมื่อสมองปลุกให้เราตื่นในช่วงนี้ร่างกายก็จะนอน
หลับไม่สนิทเต็มที่ เป็นเหตุให้พักผ่อนไม่พอ กระทบมาถึงระบบการทางานของร่างกาย ทาให้สะสมความเครียด เสี่ยง
เป็นโรคอ้วน ฝันร้าย กระทบต่อการเรียนและการทางานได้
3. โรควุ้นในตาเสื่อม
ปกติเราก็ใช้งานดวงตาหนักอยู่แล้ว และถ้ายิ่งใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับการเพ่งข้อความในจอสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ก็ยิ่ง
ทาให้ดวงตาของเราก็ทางานหนักขึ้นแบบคูณสอง ถ้าปล่อยไปนาน ๆ จนมองเห็นหยากไย่ ตาข่าย หรือเส้นอะไรวนไป
วนมาเหมือนยุง ปัดเท่าไรก็ไม่โดนสักที แบบนี้ต้องรีบหาหมอแล้ว เพราะนี่คือ "โรควุ้นในตาเสื่อม" จะบอกว่าจริง ๆ
แล้วโรคนี้มักพบในผู้สูงอายุ เพราะใช้งานดวงตามานานจนเสื่อมไปตามวัย แต่น่าตกใจทีเดียวที่ปัจจุบันพบคนอายุน้อย
ๆ เป็นโรคนี้มากขึ้น สาเหตุหลัก ๆ ก็มาจากการแชททั้งวัน จ้องจอทั้งคืน เล่นเกม ใช้คอมพิวเตอร์ติดต่อกันนาน ๆ ไม่
ว่างเว้นนี่เอง พอรู้สึกปวดตาก็คิดว่าคงไม่เป็นอะไรมาก มารู้ตัวอีกทีก็เห็นภาพเป็นคราบดา ๆ เป็นเส้น ๆ วิธีป้องกัน
ก่อนเป็นโรควุ้นในตาเสื่อมก็ไม่ยากเลย แค่รู้จักพักสายตาเสียบ้าง มองไปในที่ไกล สูดอากาศธรรมชาติให้ร่างกายได้
ผ่อนคลาย หลับตาลงสักครู่ รู้จักใช้งานเทคโนโลยีในมืออย่างพอเหมาะ ก็จะช่วยให้หลีกเลี่ยงโรคนี้ได้แล้ว
8
4. โนโมโฟเบีย (Nomophobia)
ชื่อประหลาด ๆ นี้ มาจากคาว่า "no-mobile-phone phobia" แปลตรงตัวก็คือ โรคกลัวไม่มีมือถือใช้ เป็นโรคทาง
จิตเวชประเภทหนึ่งที่จัดอยู่ในกลุ่มวิตกกังวล คิดดูว่าถ้าเราอยู่ในที่ที่ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ ไม่มีสัญญาณอินเทอร์เน็ต
หรือจู่ ๆ แบตเตอรี่โทรศัพท์ดันหมดซะงั้น แล้วเรารู้สึกหงุดหงิด กระวนกระวาย แสดงว่าเข้าเค้าอาการโนโมโฟเบีย
แล้วล่ะ ในบางคนเป็นมาก ๆ อาจมีอาการเครียด ตัวสั่น เหงื่อออก คลื่นไส้ได้เลย ซึ่งอาการจะหนักเบาขนาดไหน
ขึ้นอยู่กับแต่ละคนสารวจตัวเองดูว่าเราหมกมุ่นอยู่กับการเช็กข้อความในมือถือ ชอบหยิบขึ้นมาดูบ่อย ๆ หรือเปล่า
หรือทุกครั้งที่ได้ยินเสียงเตือนจากมือถือจะต้องวางภารกิจทุกอย่างที่อยู่ตรงหน้าแล้วรีบคว้าโทรศัพท์มาเช็กแบบด่วนจี๋
ทันใจ ใครเป็นแบบนี้ก็เข้าข่ายโนโมโฟเบียแล้วล่ะจ้า ยิ่งถ้าตื่นนอนปุ๊บเช็กมือถือปั๊บ ห่างจากมือถือไม่ได้เลย หรือใช้
เวลาพูดคุยกับเพื่อนในโลกออนไลน์มากกว่าเพื่อนตรงหน้า ก็ยิ่งชัด ใครที่มีอาการอย่างที่กล่าวว่า ต้องระวังปัญหา
สุขภาพให้มาก ๆ โดยเฉพาะนิ้วล็อก ปวดตา ปวดเมื่อยคอ บ่า ไหล่ หมอนรองกระดูกเสื่อมก่อนวัยอันควร เพราะนั่ง
ผิดท่าเป็นเวลานาน ๆ รวมทั้งอาการนอนไม่หลับ และโรคอ้วนที่เกิดจากมัวแต่นั่งเล่นมือถือนาน ๆ ไม่ลุกไปไหนด้วย
5. โรคสมาร์ทโฟนเฟซ (Smartphone face)
โรคฮิตของคนติดแชทที่พบได้บ่อยเป็นอันดับ 5 ก็คือ โรคสมาร์ทโฟนเฟซ (Smartphone face) หรือโรคใบหน้า
สมาร์ทโฟน เกิดจากการที่เราก้มลงมองหน้าจอ หรือจ้องสมาร์ทโฟน-แท็บเล็ตเป็นเวลานานเกินไป ทาให้กล้ามเนื้อคอ
เกิดอาการเกร็งและไปเพิ่มแรงกดบริเวณแก้ม เมื่อแก้มถูกแรงกดนาน ๆ เข้า ก็จะทาให้เส้นใยอิลาสติกบนใบหน้ายืด
จนแก้มบริเวณกรามย้อยลงมา แถมกล้ามเนื้อบริเวณมุมปากก็จะตกไปทางคางด้วย จนใบหน้าอาจดูผิดแปลกไปจาก
เดิม และจะเห็นชัดเจนขึ้นเมื่อถ่ายภาพด้วยอุปกรณ์ของตัวเอง ฟังแล้วน่ากลัวนะเนี่ย หากใครเป็นมาก ๆ เข้าก็ถึงกับ
ต้องศัลยกรรมกันเลย สรุปแล้วว่าทั้ง 5 โรคนี้ดูไม่ได้ไกลจากตัวเราเท่าไรเลยนะคะ เพราะทุกคนล้วนใช้โลกออนไลน์ใน
การติดต่อสื่อสารกันหมด แต่วิธีป้องกันตัวเองให้ห่างจากโรคเหล่านี้ก็ไม่ยากเลย แค่รู้จักแบ่งเวลาให้เหมาะสม ก้มมอง
หน้าจอให้น้อยลง เล่นโทรศัพท์ ใช้คอมพิวเตอร์ เล่นเกมให้น้อยลง
9
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
ศึกษาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆเช่น อินเทอร์เน็ตและหนังสือต่างๆ โดยการหาโรคที่เกี่ยวข้องกับสมาร์ท
โฟนและอาการที่มักเกิดขึ้นกับผู้ที่ใช้โทรศัพท์มือถือบ่อยๆรวมถึงสาเหตุที่เกิดโรคนั้นๆขึ้น
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก
2. หนังสือชีวะวิทยาเกี่ยวกับโซเชียลมีเดีย
3. ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
งบประมาณ -
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิด
ชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
สริตา
1 คิดหัวข้อโครงงาน /
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / / / / / / /
3 จัดทาโครงร่างงาน / / / / /
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน / / / / / / / /
5 ปรับปรุงทดสอบ /
6 การทาเอกสารรายงาน / /
7 ประเมินผลงาน / /
8 นาเสนอโครงงาน /
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ได้ทราบถึงพฤติกรรมเสี่ยงที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่จากการใช้สมาร์ทโฟนและโทรศัพท์มือถือรวมถึงโรคที่อาจเกิดขึ้นได้กับผู้ที่
ใช้สิ่งอานวยความสะดวกนี้และการวิจัยที่ชี้แจงว่าการใช้สิ่งอานวยความสะดวกในการสื่อสารต่างๆในชีวิตประจาวันนี้
อย่างโทรศัพท์มือถือว่าเป็นสิ่งมีคลื่นหรือรังสีรบกวนระบบประสาทและสมองทาให้เกิดโรคต่างแทรกซ้อนหรืออาจเป็น
ปัจจัยหนึ่งที่ทาให้เกิดโรคต่างๆได้หรือไม่
10
สถานที่ดาเนินการ
- ห้องสมุดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
- บ้านของผู้จัดทา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
- กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
- กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
- กลุ่มสาระการเรียนรู้เทคโนโลยีและสารสนเทศ
แหล่งอ้างอิง
15 กันยายน 2558. http://thaipublica.org/2015/09/electromagnetic-wave/.. [ออนไลน์].
ค้นเมื่อ 9 กันยายน 2559 ไม่ทราบชื่อ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์Sendai' Toktak
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตdlled
 
2562 final-project_02_kamolchanok
2562 final-project_02_kamolchanok 2562 final-project_02_kamolchanok
2562 final-project_02_kamolchanok KamolchanokPhanlek
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งpornkanok02
 
ภาพที่ 9-4 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับย่อ (Research Summary)
ภาพที่ 9-4 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับย่อ (Research Summary)ภาพที่ 9-4 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับย่อ (Research Summary)
ภาพที่ 9-4 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับย่อ (Research Summary)Chamada Rinzine
 
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27Chonlakan Kuntakalang
 
final project for M.6 2019-2020
final project for M.6 2019-2020final project for M.6 2019-2020
final project for M.6 2019-2020PapimolChotechob
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project YokBenyaporn
 

Was ist angesagt? (18)

งาน
งานงาน
งาน
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project no.03,28
2560 project  no.03,282560 project  no.03,28
2560 project no.03,28
 
2562 final-project -1-23-1
2562 final-project -1-23-12562 final-project -1-23-1
2562 final-project -1-23-1
 
Cf
CfCf
Cf
 
I smyresearch
I smyresearchI smyresearch
I smyresearch
 
2562 final-project 29
2562 final-project 292562 final-project 29
2562 final-project 29
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
2562 final-project_02_kamolchanok
2562 final-project_02_kamolchanok 2562 final-project_02_kamolchanok
2562 final-project_02_kamolchanok
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
 
ภาพที่ 9-4 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับย่อ (Research Summary)
ภาพที่ 9-4 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับย่อ (Research Summary)ภาพที่ 9-4 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับย่อ (Research Summary)
ภาพที่ 9-4 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับย่อ (Research Summary)
 
หน้าปกรายงาน
หน้าปกรายงานหน้าปกรายงาน
หน้าปกรายงาน
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
 
2561 project 06
2561 project 062561 project 06
2561 project 06
 
Addictsocial
AddictsocialAddictsocial
Addictsocial
 
final project for M.6 2019-2020
final project for M.6 2019-2020final project for M.6 2019-2020
final project for M.6 2019-2020
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 

Andere mochten auch

dissertationpresentation
dissertationpresentationdissertationpresentation
dissertationpresentationNick Huber
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นางสาว-สริตา-ไพศาลสุทธิชล
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นางสาว-สริตา-ไพศาลสุทธิชลใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นางสาว-สริตา-ไพศาลสุทธิชล
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นางสาว-สริตา-ไพศาลสุทธิชลsaritaphaisansuthichol
 
Tallerpractico10 monik
Tallerpractico10 monikTallerpractico10 monik
Tallerpractico10 monikdiego botina
 
Tallerpractico10 magdalena bustamante
Tallerpractico10 magdalena bustamanteTallerpractico10 magdalena bustamante
Tallerpractico10 magdalena bustamantediego botina
 
Tallerpractico10 tereza
Tallerpractico10 terezaTallerpractico10 tereza
Tallerpractico10 terezadiego botina
 
Tallerpractico10 (1)
Tallerpractico10 (1)Tallerpractico10 (1)
Tallerpractico10 (1)diego botina
 
Chemistry investigatory project for everyone
Chemistry investigatory project for everyoneChemistry investigatory project for everyone
Chemistry investigatory project for everyoneApil Meena
 
Ta pac3 casañ_garcia
Ta pac3 casañ_garciaTa pac3 casañ_garcia
Ta pac3 casañ_garciaZara Casañ
 
Przyspieszanie działania serwisów internetowych
Przyspieszanie działania serwisów internetowychPrzyspieszanie działania serwisów internetowych
Przyspieszanie działania serwisów internetowychPaweł Kowalski
 

Andere mochten auch (20)

2559project 609 สริตา
2559project 609 สริตา2559project 609 สริตา
2559project 609 สริตา
 
dissertationpresentation
dissertationpresentationdissertationpresentation
dissertationpresentation
 
COMPANY PROFILE 20072016
COMPANY PROFILE 20072016COMPANY PROFILE 20072016
COMPANY PROFILE 20072016
 
Hà Đô Centrosa Garden
Hà Đô Centrosa GardenHà Đô Centrosa Garden
Hà Đô Centrosa Garden
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นางสาว-สริตา-ไพศาลสุทธิชล
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นางสาว-สริตา-ไพศาลสุทธิชลใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นางสาว-สริตา-ไพศาลสุทธิชล
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นางสาว-สริตา-ไพศาลสุทธิชล
 
Tallerpractico10 monik
Tallerpractico10 monikTallerpractico10 monik
Tallerpractico10 monik
 
Tallerpractico10 magdalena bustamante
Tallerpractico10 magdalena bustamanteTallerpractico10 magdalena bustamante
Tallerpractico10 magdalena bustamante
 
Guia construyendo
Guia construyendoGuia construyendo
Guia construyendo
 
Guia construyendo
Guia construyendoGuia construyendo
Guia construyendo
 
Tallerpractico10 tereza
Tallerpractico10 terezaTallerpractico10 tereza
Tallerpractico10 tereza
 
Tallerpractico10 (1)
Tallerpractico10 (1)Tallerpractico10 (1)
Tallerpractico10 (1)
 
Chemistry investigatory project for everyone
Chemistry investigatory project for everyoneChemistry investigatory project for everyone
Chemistry investigatory project for everyone
 
Ta pac3 casañ_garcia
Ta pac3 casañ_garciaTa pac3 casañ_garcia
Ta pac3 casañ_garcia
 
Presentación1
Presentación1Presentación1
Presentación1
 
Trabajo de cely word
Trabajo de cely wordTrabajo de cely word
Trabajo de cely word
 
Handball
HandballHandball
Handball
 
Sobre de cumpleaños
Sobre de cumpleañosSobre de cumpleaños
Sobre de cumpleaños
 
Przyspieszanie działania serwisów internetowych
Przyspieszanie działania serwisów internetowychPrzyspieszanie działania serwisów internetowych
Przyspieszanie działania serwisów internetowych
 
Asertividad
AsertividadAsertividad
Asertividad
 
?A
?A?A
?A
 

Ähnlich wie 2559 project 609-สริตา

How to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. THHow to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. THpattharawan putthong
 
2562 final-project 09-issariya
2562 final-project 09-issariya2562 final-project 09-issariya
2562 final-project 09-issariyaguntjetnipat
 
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1Chonlada Baicha
 
Influenza
 Influenza Influenza
InfluenzaNutvipa
 
Influenza
InfluenzaInfluenza
InfluenzaNutvipa
 
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1Chonlada Baicha
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project ssuser8b423e
 
2562 final-project 17
2562 final-project 172562 final-project 17
2562 final-project 17KUMBELL
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2559
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2559โครงงานคอมพิวเตอร์ 2559
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2559shinishi
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกแบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกSendai' Toktak
 
2558 โปรเจ็ค
2558 โปรเจ็ค2558 โปรเจ็ค
2558 โปรเจ็คayatsuji
 
2562 final-project 17
2562 final-project 172562 final-project 17
2562 final-project 17ssuserbed7e4
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานChamcha Tea
 
2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pond2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pondssuser72ad1c1
 
2562 final-project 1 (2)
2562 final-project 1 (2)2562 final-project 1 (2)
2562 final-project 1 (2)ssuser72ad1c1
 

Ähnlich wie 2559 project 609-สริตา (20)

Kosan
KosanKosan
Kosan
 
2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict
 
How to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. THHow to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. TH
 
2562 final-project 09-issariya
2562 final-project 09-issariya2562 final-project 09-issariya
2562 final-project 09-issariya
 
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
 
Influenza
 Influenza Influenza
Influenza
 
Influenza
InfluenzaInfluenza
Influenza
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
 
2561 project (6)
2561 project  (6)2561 project  (6)
2561 project (6)
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 17
2562 final-project 172562 final-project 17
2562 final-project 17
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2559
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2559โครงงานคอมพิวเตอร์ 2559
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2559
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกแบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
 
2558 โปรเจ็ค
2558 โปรเจ็ค2558 โปรเจ็ค
2558 โปรเจ็ค
 
2562 final-project 17
2562 final-project 172562 final-project 17
2562 final-project 17
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pond2562 final-project 01pond
2562 final-project 01pond
 
2562 final-project 1 (2)
2562 final-project 1 (2)2562 final-project 1 (2)
2562 final-project 1 (2)
 

2559 project 609-สริตา

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2559 ชื่อโครงงาน ผลกระทบจากการใช้โทรศัพท์มือถือ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว สริตา ไพศาลสุทธิชล เลขที่ 13 ชั้น ม. 6/9 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาว สริตา ไพศาลสุทธิชล เลขที่ 13 ชั้น ม. 6/9 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ผลกระทบจากการใช้โทรศัพท์มือถือ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) The effects of using smartphone ประเภทโครงงาน เพื่อศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว สริตา ไพศาลสุทธิชล เลขที่ 13 ชั้น ม. 6/9 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 17 สัปดาห์ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ปัจจุบันสิ่งที่ผู้คนต้องมีพกติดตัวนอกจากกระเป๋าสตางค์แล้วนั่นก็คือโทรศัพท์มือถือซึ่งอาจถือว่าเป็นสิ่งหนึ่ง ที่ขาดไม่ได้เลยของผู้คน ถ้าหากไม่สามารถติดต่อโดยส่วนตัวจากโทรศัพท์มือถือกับผู้อื่นแล้วจะมีความลาบากมากขึ้น และอาจส่งผลให้ตัดสินใจและแก้ไขปัญหารวมถึงการจัดกิจกรรมต่างๆโดยการติดต่อนั้นช้าลงไป ผู้จัดทาจึงเล็งเห็นว่า การที่เราใช้เจ้าโทรศัพท์พกพานั้นที่มีข้อดีมากมาย เช่นสามารถเพลิดเพลินไปกับสื่อต่างๆบนโลกโซเชียล หรือการ ติดต่อกับผู้คนที่อยู่คนละทวีป รวมถึงเป็นสิ่งที่มีราคาค่อนข้างแพงนี้จะมีผลต่อระบบสมอง ความผิดปกติต่างๆของ ร่างกายเราหรือไม่ หรืออาจเป็นปัจจัยหนึ่งที่ก่อให้เกิดโรคต่างๆ เช่นโรคมะเร็ง โรคไมเกรน หรือ หูหนวก ซึ่งถือว่า เป็นสิ่งที่อันตรายกับผู้คนมาก ดังนั้นการที่เราใช้สิ่งอานวยความสะดวกในการติดต่อนี้อาจมีผลที่อันตรายอย่างไม่ คาดคิดกับผู้ใช้ได้ เพื่อให้เกิดความเข้าใจและระวังตัวในการใช้โทรศัพท์มือถือมากขึ้น ผู้จัดทาจึงอยากศึกษาข้อมูล เกี่ยวกับงานวิจัยและโรคต่างๆที่เป็นผลมาจากสมาร์ทโฟนเพื่อการระวังตัวและเพื่อให้ช่วยเตือนผู้อื่นหากมีเกณฑ์ที่จะ เป็นโรคนั้นๆให้ดูแลและควบคุมตนเอง
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ เพื่อให้เกิดความเข้าใจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์อย่างถูกต้องและการระวังตัวในการใช้สมาร์ทโฟนเพื่อป้องกัน ไม่เกิดอาการผิดปกติต่างๆต่อร่างกาย ขอบเขตโครงงาน เพื่อศึกษาโรคและอาการที่คนส่วนใหญ่มักเป็นโดยเกิดจากสมาร์ทโฟนหรือโทรศัพท์มือถือเท่านั้น ซึ่งยังมี ข้อจากัดคือ การอ้างอิงบางอย่างยังไม่สามารถพิสูจน์ได้แน่ชัดว่าโรคที่เป็นนั้นมีเหตุจริงๆมาจากโทรศัพท์หรือไม่ หลักการและทฤษฎี งานวิจัยของผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับแม่เหล็ก ผู้เชี่ยวชาญด้านคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ชี้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากโทรศัพท์มือถือไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตามทฤษฎีและ หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ในปัจจุบัน แต่ความร้อนที่เกิดขึ้นจากโทรศัพท์มือถืออาจมีผลกระทบต่อสุขภาพ แนะผู้ใช้ โทรศัพท์มือถือที่กลัวความเสี่ยงควรใช้โทรศัพท์ตามความจาเป็น และควรเก็บโทรศัพท์มือถือให้ห่างจากตัวอย่างน้อย 20 เซนติเมตร เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2558 สมาคมอุปกรณ์การแพทย์ไทยได้จัดบรรยายหัวข้อเรื่อง “คลื่น แม่เหล็กไฟฟ้าจากการใช้โทรศัพท์มือถือ มีผลต่อสุขภาพหรือไม่” ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของงานประชุมวิชาการ Medical Fair Thailand ระหว่างวันที่ 10-12 กันยายน 2558 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาญไชย ไทยเจียม ภาควิชา วิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และตัวแทนจากสมาคมวิจัยวิศวกรรมชีว การแพทย์ไทย กล่าวว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามี 2 ประเภท คือ คลื่นนอนไอโอไนซ์ (Non-ionizing radiation) ซึ่งไม่มี ผลกระทบต่อเซลล์ โดยให้เพียงความร้อนเท่านั้น เช่น คลื่นวิทยุ FM/AM แสงแดด เตาไมโครเวฟ ฯลฯ และคลื่นไอโอ ไนซ์ (Ionizing radiation) ซึ่งมีผลกระทบต่อเซลล์ เช่น รังสีเอ็กซ์เรย์ที่ในวงการแพทย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาญไชยกล่าวต่อว่า อันตรายของแม่เหล็กไฟฟ้าขึ้นอยู่กับระดับกาลังคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า โดย กาลังมากก็จะให้ความร้อนมากซึ่งอุปกรณ์ไฟฟ้าแต่ละชนิดที่ใช้นั้นมีกาลังคลื่นแม่เหล็กต่างกัน คือ วิทยุเอฟเอ็มรัศมี 50 กิโลเมตรมีระดับกาลัง 100 กิโลวัตต์ เตาไมโครเวฟมีระดับกาลัง 1 กิโลวัตต์ โทรศัพท์มือถือ 2 วัตต์สาหรับระบบ เดิม แต่ปัจจุบันที่เป็นระบบ 3G มีระดับกาลังคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ประมาณ 0.8 วัตต์ หากระบบ 4G ระดับกาลังคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้าจะน้อยลงอีก “ผลกระทบต่ออวัยวะต่างๆ ของร่างกายจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านั้นมีระดับที่แตกต่างกัน โดยอวัยวะ ที่มีเลือดหล่อเลี้ยงมากจะมีความเสี่ยงน้อย ส่วนอวัยวะที่มีเลือดหล่อเลี้ยงน้อยจะมีความเสี่ยงมาก เช่น ดวงตา แต่ปัจจุบันยังไม่พบผู้ที่ดวงตามีปัญหาเนื่องจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทั้งนี้เพราะเลือดที่หมุนเวียนในอวัยวะ ต่างๆ จะเป็นตัวช่วยคลายความร้อนที่เกิดขึ้นจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและส่งความร้อนมายังร่างกายมนุษย์” ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาญไชยกล่าว
  • 4. 4 สาหรับข้อกังวลด้านสุขภาพจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านั้นปัจจุบันมีหลายเรื่อง ซึ่งมีผลการศึกษารองรับในเชิงระบาด วิทยา แต่ในทางวิทยาศาสตร์ยังพิสูจน์ไม่ได้ว่าก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ โดยเรื่องที่หลายคนกังวลใจคือ ปวด ศีรษะ, มีอารมณ์ฉุนเฉียว, ซึมเศร้า, คลื่นไส้, มีปัญหาด้านการมองเห็นลดลง, มะเร็งเนื้องอกในสมอง โดยคลื่นจะเป็น ตัวเร่งปฏิกิริยาทาให้อาการดังกล่าวเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว, เด็กมีความเสี่ยงเกิดมะเร็งเม็ดเลือดขาว, สูญเสียการได้ยิน (หู ดับ), ส่งผลต่อทารกในครรภ์ และสมรรถภาพทางเพศเสื่อม “อาจเป็นไปได้ที่การโทรศัพท์มือถือทาให้มีอาการปวดหัวได้ แต่อย่างไรก็ตาม ส่วนหนึ่งไม่ได้เกิดขึ้น เพราะเทคโนโลยีของโทรศัพท์ที่ส่งผลจากการกระจายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ไม่ส่งผลต่อการแตกตัวของไอออน ซึ่งยังสังเกตผลไม่ได้ในช่วงเวลาสั้นๆ ทั้งอาการปวดหัว คลื่นไส้ หรืออาการอื่นๆ แต่อย่างน้อยการใช้โทรศัพท์ นานๆ ก็อาจส่งผลต่อได้ ส่วนใหญ่แล้วเป็นผลมาจากท่าทางหรือช่วงสรีระระหว่างการใช้โทรศัพท์หรืออาจเกิด จากความร้อน เช่น จากแบตเตอรี่โทรศัพท์ที่แนบหูไว้นานๆ” ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาญไชยกล่าว ด้านข้อกังวลใจเกี่ยวกับสมรรถภาพทางเพศเสื่อม ช่วงหลายปีที่ผ่านมามีการศึกษาวิจัยรายงานว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จากโทรศัพท์มือถือ ทาให้เกิดความผิดปกติของการหลั่งสารเคมี ฮอร์โมนภายในร่างกาย และปริมาณอสุจิของเพศชาย แต่ผลการศึกษาใหม่ๆ ขัดแย้งกับผลการศึกษาในอดีต ซึ่งยังไม่มีข้อบ่งชี้ที่ชัดเจนว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจาก โทรศัพท์มือถือมีผลต่อระบบสืบพันธุ์โดยเฉพาะเพศชาย เนื่องจากอวัยวะอยู่ภายนอกร่างกาย ดังนั้น นักวิทยาศาสตร์ จึงแนะนาให้พยายามเก็บมือถือให้ห่างจากร่างกายอย่างน้อย 20 เซนติเมตร สาหรับเรื่องมะเร็งเนื้องอกในสมอง รายงานวิจัยบางรายงานสรุปว่า อาจมีความเสี่ยงเกิดมะเร็ง บางรายงานสรุปว่า ไม่ มีความเสี่ยงการเกิดมะเร็งเพิ่มขึ้น นั่นคือ ยังไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจน แต่โดยทฤษฎีแล้วสนามแม่เหล็กที่ออกมาจาก โทรศัพท์มือถือไม่ใช่สาเหตุของการเร่งการเกิดมะเร็ง แต่ความร้อนที่เกิดขึ้นนั้นอาจจะมีผลกระทบต่อสุขภาพ ส่วนเรื่อง มะเร็งเม็ดเลือดขาว โดยทั่วไปเกิดจาก 3 ปัจจัยหลัก คือ พันธุกรรม ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือติดเชื้อไวรัสบางชนิด สารเคมีและสิ่งแวดล้อมต่างๆ ซึ่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าอยู่ในกลุ่มของสิ่งแวดล้อม โดยองค์การอนามัยโลกระบุให้คลื่น แม่เหล็กไฟฟ้าอยู่ในกลุ่ม 2B คืออาจจะก่อมะเร็งในมนุษย์ เพื่อตีกรอบป้องกันไว้ก่อน หลังจากที่ศึกษาพบว่าอาจจะก่อ มะเร็งแม้ยังพิสูจน์แน่ชัดไม่ได้ อย่างไรก็ตาม มีสารเคมีและปัจจัยอื่นๆ รวม 287 ชนิดที่อยู่ในกลุ่ม 2B เช่น กาแฟ เครื่องสาอาง ฯลฯ ส่วนอันตรายต่อทารกในครรภ์นั้น หากใครที่กังวลใจก็อย่านาโทรศัพท์ไปไว้ใกล้ๆ ทั้งนี้ทารกใน ครรภ์จะเสี่ยงน้อยกว่าเด็กทารกที่คลอดแล้ว เนื่องจากมีท้องของแม่เป็นเกราะกาบัง ในขณะที่เด็กทารกที่คลอดแล้ว นั้นมีศีรษะบางนอกจากนี้ยังกล่าวว่า การปล่อยคลื่นสัญญาณโทรศัพท์จากสถานีฐานนั้น เครื่องรับส่งสัญญาณจะอยู่ที่ ด้านบนสุดของเสา ซึ่งระยะห่างจากเสามีผลต่อระดับกาลังคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ใช้รับ-ส่งสัญญาณระหว่าง โทรศัพท์มือถือกับเสาสัญญาณ โดยถ้าอยู่ใกล้เสา โทรศัพท์ก็จะใช้กาลังน้อยกว่าเมื่อโทรศัพท์อยู่ไกล แต่ก็จะไม่เกิน กาลังสูงสุดที่กาหนดไว้ของอุปกรณ์ คือ กรณีโทรศัพท์ระบบ GSM มีกาลังสูงสุด 2 วัตต์ ก็จะส่งสัญญาณไปยังเสา สัญญาณได้สูงสุดที่ 2 วัตต์ แต่หากอยู่ใกล้ๆ เสาสัญญาณก็จะใช้กาลังส่งคลื่นไม่ถึง 2 วัตต์ ซึ่งทาให้ประหยัดแบตเตอรี่ ได้ด้วย อย่างไรก็ตาม คนส่วนใหญ่มักกลัวเสาส่งสัญญาณที่มีขนาดใหญ่มากกว่ากลัวคลื่นจากเครื่องรับ-ส่งสัญญาณ ซึ่งความจริงคือเครื่องรับ-ส่งสัญญาณมีขนาดไม่ใหญ่ ติดตั้งอยู่ที่จุดบนสุดของเสา แต่ที่ต้องสร้างเสาสัญญาณขนาดใหญ่ เพราะต้องการให้เครื่องส่งรับ-ส่งสัญญาณอยู่สูงๆ เพื่อที่จะได้ส่งสัญญาณได้ไกล
  • 5. 5 นอกจากนี้ยังกล่าวว่า อันตรายจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีต่อร่างกาย ขึ้นอยู่กับอัตราการดูดกลืนพลังงานจาเพาะ (Specific Absorption Rate หรือ SAR ซึ่งเป็นอัตราที่พลังงานถูกดูดกลืนโดยเนื้อเยื่อของร่างกาย มีหน่วยเป็นวัตต์ต่อ กิโลกรัม (W/kg) ที่เป็นหน่วยการวัดปริมาณการได้รับรังสีซึ่งใช้กันทั่วไปสาหรับการวัดการได้รับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใน ย่านความถี่สูงกว่า 100 กิกะเฮิร์ต (kHz) “ถ้ากลัวว่าโทรศัพท์มือถือจะอันตรายต่อสุขภาพ ก็จากัดการใช้ โดยใช้เท่าที่จาเป็น ไม่ใช่เสพติดโทรศัพท์มือถือ รวมถึง อย่าให้เด็กเล็กๆ ใช้โทรศัพท์ และในผู้ใหญ่ก็ควรเก็บโทรศัพท์มือถือให้ห่างตัวอย่างน้อย 20 เซนติเมตร หรือหาก สามารถปิดเครื่องเวลานอนได้ก็จะดี นอกจากนี้ไม่ควรพยายามใช้โทรศัพท์มือถือในที่อับสัญญาณ เช่น ลิฟต์ เพราะจะ ทาให้โทรศัพท์ใช้กาลังส่งคลื่นสูงสุด ทาให้เกิดความร้อนสูงและเปลืองแบตเตอรี่ด้วย ที่สาคัญต้องเลือกใช้สินค้าที่มี ค่า SAR ต่าๆ เพื่อความปลอดภัยของสุขภาพ” ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาญไชยกล่าว โทรศัพท์เคลื่อนที่หรือโทรศัพท์มือถือได้ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากต่ออุตสาหกรรมการสื่อสาร อุปกรณ์ เหล่านี้ทาให้สามารถโทรศัพท์ติดต่อถึงกันโดยโทรจากที่ไหนก็ได้ โทรศัพท์ชนิดนี้มี 2 ประเภท โทรศัพท์โดยทั่วไปจะมี เสาอากาศติดอยู่ที่ตัวโทรศัพท์ อีกประเภทจะมีเสาอากาศแยกออกต่างหากและในกรณีที่ติดตั้งในรถ อาจมีเสาอากาศ ติดอยู่ที่หน้าต่างหรือหลังคารถ การติดต่อระหว่างโทรศัพท์มือถือกับสถานีที่ใกล้ที่สุดใช้ไมโครเวฟที่ออกมาจากเสา ซึ่ง ในบทความนี้จะกล่าวถึงแต่โทรศัพท์มือถือแบบธรรมดาหรือสมาร์ทโฟนเท่านั้น ผลกระทบต่อสุขภาพ Basis of Health Concerns โทรศัพท์มือถือแบบธรรมดาจะมีผลต่อสุขภาพสูงโทรศัพท์ไร้สายที่ใช้งานโดยอยู่ห่างจากเครื่องรับได้ในระยะไม่เกิน 20 เมตร การใช้งานจะไม่มีผลต่อสุขภาพเนื่องจากระดับรังสีต่ามากมีรายงานจานวนมากปรากฏในสื่อต่างๆ ว่ามีอาการ ผิดปกติที่เกิดจากการใช้โทรศัพท์มือถือ เช่น ปวดศีรษะ มีจุดร้อน (hot spots) ในสมองและมะเร็งสมอง มีรายงานใน สื่อเหล่านั้นว่า ประมาณ 70% ของไมโครเวฟที่แผ่ออกมาจากโทรศัพท์มือถือจะถูกดูดกลืนไปที่ศีรษะของผู้ใช้ เรื่องนี้ ไม่มีการยืนยันอย่างแน่ชัด แต่ก็เสี่ยงที่จะทาให้เกิดจุดร้อน (hot spots) ขึ้นในสมองของผู้ใช้ ทาให้การใช้ โทรศัพท์มือถืออาจมีความเสี่ยงต่อสุขภาพ มีรายงานบางแห่งที่ชี้ให้เห็นว่าผู้ใช้หลายรายมีอาการปวดศีรษะหลังจากใช้ โทรศัพท์มือถือ ขณะนี้จึงเป็นการยากที่จะประเมินความแน่นอนของรายงานเหล่านี้ เนื่องจากยังไม่มีรายงานออกมา อย่างเป็นทางการ มีรายงานถึงการเกิดมะเร็งสมองในอเมริกาว่า มีผู้ป่วยจานวนมากที่ฟ้องร้องผู้ผลิตหรือจาหน่าย โทรศัพท์มือถือ ว่าไมโครเวฟจากโทรศัพท์มือถือทาให้พวกเขาเกิดมะเร็งสมอง แต่เมื่อมีการตรวจสอบแล้วพบว่าบาง รายเกิดความเข้าใจผิด
  • 6. 6 5 โรคฮิตของคนติดจอ ติดแชท หมกมุ่นอยู่กับโลกโซเชียลเน็ตเวิร์กมาก ๆ ป่วยไม่รู้ตัว มาดูซิมีโรคอะไรบ้าง แล้วเราเองก็เข้าข่ายด้วยหรือเปล่า 1. โรคซึมเศร้าจากเฟซบุ๊ก (Facebook Depression Syndrome) หลายคนอาจสงสัยว่า เล่นเฟซบุ๊กก็มีเพื่อนตั้งมากแล้วจะเป็นโรคซึมเศร้าได้อย่างไร แต่อาการนี้เกิดขึ้นได้จริง ๆ เพราะคนเราเมื่อติดอยู่แต่หน้าจอ จิ้ม ๆ กด ๆ คุยกับคนในโลกออนไลน์ ก็กลายเป็นไปเพิกเฉยต่อคนในโลกจริง แถมหลายคนใช้เฟซบุ๊กเป็นเครื่องระบายความรู้สึกมากขึ้น โดยเฉพาะเวลาเราว้าเหว่ เหงา เดียวดาย ก็ยิ่งโพสต์เยอะ โดย ธาม เชื้อสถาปนศิริ นักวิชาการสถาบันวิชาการสื่อสาธารณะ (สวส.) ได้เขียนบทความให้ความรู้เรื่องโรคซึมเศร้า จากเฟซบุ๊ก ไว้อย่างน่าสนใจว่า วารสารการแพทย์กุมารเวชศาสตร์ สหรัฐอเมริกา ได้ทาการศึกษาเรื่องนี้ และพบว่า คนที่ถูกเพื่อน ๆ ปฏิเสธหรือเป็นที่รังเกียจในโลกเฟซบุ๊กจะเป็นอันตรายมากกว่าถูกปฏิเสธในโลกแห่งความจริง และ หลายรายอาจมีปัญหาซึมเศร้าตาม นั่นเพราะเฟซบุ๊กได้สร้างความเป็นจริงเทียม (artificial reality) ขึ้นมา จากการ โพสต์แต่เรื่องดี ๆ แต่เก็บงาเรื่องร้าย ๆ แย่ ๆ ที่อยากปกปิดเอาไว้ เราถึงเห็นแต่คนที่มีชีวิตสมบูรณ์แบบในโลกเสมือน จริงเต็มไปหมด เมื่อนามาเปรียบเทียบกับตัวเอง ความรู้สึก "ไร้ค่า" จึงเกิดขึ้น ถ้าคุณรู้สึกเสียความมั่นใจสุด ๆ เวลาส่ง คาร้องไปขอเป็นเพื่อนแล้วไม่ได้รับการตอบรับ เก็บมาคิดว่าทาไมจึงไม่เป็นที่ต้องการ นี่ก็เป็นสัญญาณของโรคซึมเศร้า จากเฟซบุ๊กแล้ว วิธีหลีกหนีอาการนี้ก็คือ ลดการเล่นเฟซบุ๊กลง ทั้งอ่านเรื่องคนอื่น และโพสต์เรื่องตัวเอง จะได้รู้สึกดี กับตัวเองมากขึ้น
  • 7. 7 2. ละเมอแชท (Sleep-Texting) อาการนี้ก็คือ ถึงแม้เราจะนอนแต่ก็ยังลุกขึ้นมาพิมพ์เหมือนกับคนละเมอนั่นเอง สาเหตุก็มาจากพฤติกรรมติด สมาร์ทโฟนเกินเหตุ ทาให้สมองยึดติดกับโทรศัพท์อยู่ทุกขณะจิต แม้กระทั่งเวลานอน หากมีข้อความเข้ามา สมองก็จะ ปลุกร่างกายที่หลับใหลให้อยู่ในสภาวะละเมอ แล้วกดส่งข้อความไปโดยอัตโนมัติ ซึ่งเราอาจไม่รู้สึกตัวด้วยซ้าว่าเขียน อะไรไป หรือส่งไปหาคน เพราะอยู่ในสภาวะกึ่งหลับกึ่งตื่น แบบนี้ก็เสี่ยงต่อความเข้าใจผิดได้เลยนอกจากเสี่ยงต่อ ความเข้าใจผิดแล้ว อาการละเมอแชทยังกระทบสุขภาพด้วย เพราะเมื่อสมองปลุกให้เราตื่นในช่วงนี้ร่างกายก็จะนอน หลับไม่สนิทเต็มที่ เป็นเหตุให้พักผ่อนไม่พอ กระทบมาถึงระบบการทางานของร่างกาย ทาให้สะสมความเครียด เสี่ยง เป็นโรคอ้วน ฝันร้าย กระทบต่อการเรียนและการทางานได้ 3. โรควุ้นในตาเสื่อม ปกติเราก็ใช้งานดวงตาหนักอยู่แล้ว และถ้ายิ่งใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับการเพ่งข้อความในจอสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ก็ยิ่ง ทาให้ดวงตาของเราก็ทางานหนักขึ้นแบบคูณสอง ถ้าปล่อยไปนาน ๆ จนมองเห็นหยากไย่ ตาข่าย หรือเส้นอะไรวนไป วนมาเหมือนยุง ปัดเท่าไรก็ไม่โดนสักที แบบนี้ต้องรีบหาหมอแล้ว เพราะนี่คือ "โรควุ้นในตาเสื่อม" จะบอกว่าจริง ๆ แล้วโรคนี้มักพบในผู้สูงอายุ เพราะใช้งานดวงตามานานจนเสื่อมไปตามวัย แต่น่าตกใจทีเดียวที่ปัจจุบันพบคนอายุน้อย ๆ เป็นโรคนี้มากขึ้น สาเหตุหลัก ๆ ก็มาจากการแชททั้งวัน จ้องจอทั้งคืน เล่นเกม ใช้คอมพิวเตอร์ติดต่อกันนาน ๆ ไม่ ว่างเว้นนี่เอง พอรู้สึกปวดตาก็คิดว่าคงไม่เป็นอะไรมาก มารู้ตัวอีกทีก็เห็นภาพเป็นคราบดา ๆ เป็นเส้น ๆ วิธีป้องกัน ก่อนเป็นโรควุ้นในตาเสื่อมก็ไม่ยากเลย แค่รู้จักพักสายตาเสียบ้าง มองไปในที่ไกล สูดอากาศธรรมชาติให้ร่างกายได้ ผ่อนคลาย หลับตาลงสักครู่ รู้จักใช้งานเทคโนโลยีในมืออย่างพอเหมาะ ก็จะช่วยให้หลีกเลี่ยงโรคนี้ได้แล้ว
  • 8. 8 4. โนโมโฟเบีย (Nomophobia) ชื่อประหลาด ๆ นี้ มาจากคาว่า "no-mobile-phone phobia" แปลตรงตัวก็คือ โรคกลัวไม่มีมือถือใช้ เป็นโรคทาง จิตเวชประเภทหนึ่งที่จัดอยู่ในกลุ่มวิตกกังวล คิดดูว่าถ้าเราอยู่ในที่ที่ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ ไม่มีสัญญาณอินเทอร์เน็ต หรือจู่ ๆ แบตเตอรี่โทรศัพท์ดันหมดซะงั้น แล้วเรารู้สึกหงุดหงิด กระวนกระวาย แสดงว่าเข้าเค้าอาการโนโมโฟเบีย แล้วล่ะ ในบางคนเป็นมาก ๆ อาจมีอาการเครียด ตัวสั่น เหงื่อออก คลื่นไส้ได้เลย ซึ่งอาการจะหนักเบาขนาดไหน ขึ้นอยู่กับแต่ละคนสารวจตัวเองดูว่าเราหมกมุ่นอยู่กับการเช็กข้อความในมือถือ ชอบหยิบขึ้นมาดูบ่อย ๆ หรือเปล่า หรือทุกครั้งที่ได้ยินเสียงเตือนจากมือถือจะต้องวางภารกิจทุกอย่างที่อยู่ตรงหน้าแล้วรีบคว้าโทรศัพท์มาเช็กแบบด่วนจี๋ ทันใจ ใครเป็นแบบนี้ก็เข้าข่ายโนโมโฟเบียแล้วล่ะจ้า ยิ่งถ้าตื่นนอนปุ๊บเช็กมือถือปั๊บ ห่างจากมือถือไม่ได้เลย หรือใช้ เวลาพูดคุยกับเพื่อนในโลกออนไลน์มากกว่าเพื่อนตรงหน้า ก็ยิ่งชัด ใครที่มีอาการอย่างที่กล่าวว่า ต้องระวังปัญหา สุขภาพให้มาก ๆ โดยเฉพาะนิ้วล็อก ปวดตา ปวดเมื่อยคอ บ่า ไหล่ หมอนรองกระดูกเสื่อมก่อนวัยอันควร เพราะนั่ง ผิดท่าเป็นเวลานาน ๆ รวมทั้งอาการนอนไม่หลับ และโรคอ้วนที่เกิดจากมัวแต่นั่งเล่นมือถือนาน ๆ ไม่ลุกไปไหนด้วย 5. โรคสมาร์ทโฟนเฟซ (Smartphone face) โรคฮิตของคนติดแชทที่พบได้บ่อยเป็นอันดับ 5 ก็คือ โรคสมาร์ทโฟนเฟซ (Smartphone face) หรือโรคใบหน้า สมาร์ทโฟน เกิดจากการที่เราก้มลงมองหน้าจอ หรือจ้องสมาร์ทโฟน-แท็บเล็ตเป็นเวลานานเกินไป ทาให้กล้ามเนื้อคอ เกิดอาการเกร็งและไปเพิ่มแรงกดบริเวณแก้ม เมื่อแก้มถูกแรงกดนาน ๆ เข้า ก็จะทาให้เส้นใยอิลาสติกบนใบหน้ายืด จนแก้มบริเวณกรามย้อยลงมา แถมกล้ามเนื้อบริเวณมุมปากก็จะตกไปทางคางด้วย จนใบหน้าอาจดูผิดแปลกไปจาก เดิม และจะเห็นชัดเจนขึ้นเมื่อถ่ายภาพด้วยอุปกรณ์ของตัวเอง ฟังแล้วน่ากลัวนะเนี่ย หากใครเป็นมาก ๆ เข้าก็ถึงกับ ต้องศัลยกรรมกันเลย สรุปแล้วว่าทั้ง 5 โรคนี้ดูไม่ได้ไกลจากตัวเราเท่าไรเลยนะคะ เพราะทุกคนล้วนใช้โลกออนไลน์ใน การติดต่อสื่อสารกันหมด แต่วิธีป้องกันตัวเองให้ห่างจากโรคเหล่านี้ก็ไม่ยากเลย แค่รู้จักแบ่งเวลาให้เหมาะสม ก้มมอง หน้าจอให้น้อยลง เล่นโทรศัพท์ ใช้คอมพิวเตอร์ เล่นเกมให้น้อยลง
  • 9. 9 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ศึกษาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆเช่น อินเทอร์เน็ตและหนังสือต่างๆ โดยการหาโรคที่เกี่ยวข้องกับสมาร์ท โฟนและอาการที่มักเกิดขึ้นกับผู้ที่ใช้โทรศัพท์มือถือบ่อยๆรวมถึงสาเหตุที่เกิดโรคนั้นๆขึ้น เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก 2. หนังสือชีวะวิทยาเกี่ยวกับโซเชียลมีเดีย 3. ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิด ชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 สริตา 1 คิดหัวข้อโครงงาน / 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / / / / / / / 3 จัดทาโครงร่างงาน / / / / / 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน / / / / / / / / 5 ปรับปรุงทดสอบ / 6 การทาเอกสารรายงาน / / 7 ประเมินผลงาน / / 8 นาเสนอโครงงาน / ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้ทราบถึงพฤติกรรมเสี่ยงที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่จากการใช้สมาร์ทโฟนและโทรศัพท์มือถือรวมถึงโรคที่อาจเกิดขึ้นได้กับผู้ที่ ใช้สิ่งอานวยความสะดวกนี้และการวิจัยที่ชี้แจงว่าการใช้สิ่งอานวยความสะดวกในการสื่อสารต่างๆในชีวิตประจาวันนี้ อย่างโทรศัพท์มือถือว่าเป็นสิ่งมีคลื่นหรือรังสีรบกวนระบบประสาทและสมองทาให้เกิดโรคต่างแทรกซ้อนหรืออาจเป็น ปัจจัยหนึ่งที่ทาให้เกิดโรคต่างๆได้หรือไม่
  • 10. 10 สถานที่ดาเนินการ - ห้องสมุดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย - บ้านของผู้จัดทา กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ - กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - กลุ่มสาระการเรียนรู้เทคโนโลยีและสารสนเทศ แหล่งอ้างอิง 15 กันยายน 2558. http://thaipublica.org/2015/09/electromagnetic-wave/.. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 9 กันยายน 2559 ไม่ทราบชื่อ