SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 15
Downloaden Sie, um offline zu lesen
หนี้ครัวเรือนกับโควิด-19
สถานการณ์และทางออก
สฤณี อาชวานันทกุล
14 กุมภาพันธ์ 2564
 งานนี้เผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธิ์ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial
Share Alike (by-nc-sa) โดยผู้สร้างอนุญาตให้ท้าซ้้า แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจาก
ส่วนใดส่วนหนึ่งของงานนี้ได้โดยเสรี แต่เฉพาะในกรณีที่ให้เครดิตผู้สร้าง ไม่น้าไปใช้ในทางการค้า
และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้ลิขสิทธิ์เดียวกันนี้เท่านั้น
ไม่มีใครอยากให้เกิดวิกฤติโควิด-19
รายได้หาย ไม่ใช่ความผิดของประชาชน
หนี้ท่วม ไม่ใช่ความผิดของประชาชน
วิกฤติโควิด-19 ไม่ใช่เศรษฐกิจถดถอยธรรมดา
การช่วยเหลือประชาชนควรเน้น “เยียวยา”
“สร้างอาชีพ” “รักษางาน” และ “แบ่งเบา
ภาระ” มากกว่า “กระตุ้นเศรษฐกิจ”
2
สถานการณ์หนี้ครัวเรือน (ไตรมาสสาม 2563)
• สัดส่วนหนี้ครัวเรือนในไตรมาส 3/2563 ทาสถิติสูงสุดในรอบ 18 ปีครั้งใหม่ที่
86.6% ต่อจีดีพี มีแนวโน้มแตะ 90% ในช่วงต้นปี 2564 ตามสภาวะ
เศรษฐกิจที่ซบเซาต่อเนื่อง
• การก่อหนี้เพื่อการประกอบอาชีพ เช่าซื้อรถยนต์ บัตรเครดิตและสินเชื่อส่วน
บุคคล กลับมาเร่งสูงขึ้น หลังจากที่ชะลอลงในไตรมาสสอง
• DSR (Debt Service Ratio) โดยเฉลี่ยของครัวเรือนทั้งประเทศอยู่ที่ประมาณ
27.0% (จากรายได้ทุก 100 บาทในแต่ละเดือน ต้องนาไปชาระเงินต้นและ
ดอกเบี้ย 27 บาท)
• ครัวเรือนยิ่งจนยิ่งมี DSR สูง
• ครัวเรือนรายได้ระหว่าง 5,000-10,000 บาทต่อเดือน มี DSR ราว 40%
• ครัวเรือนรายได้ต่ากว่า 5,000 บาทต่อเดือน มี DSR สูงถึง 84% 3
รายได้ลดลงมากกว่ารายจ่าย กู้หลายทางมากขึ้น
• ในภาพรวม รายได้เฉลี่ยของครัวเรือนลดลงมากกว่าค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือน
(ไม่ว่าจะพยายามลดรายจ่ายลงเท่าไร ก็ไม่เท่ารายได้ที่หายไป)
• 1 ใน 6 ของลูกหนี้เป็นหนี้เสีย และมีมูลหนี้เสียสูงขึ้น (ค่ากลาง 64,551
บาทต่อคน)
• 80% ของบัญชีกระจุกตัวในบัตรเครดิตและสินเชื่อส่วนบุคคล เกือบครึ่งมี
บัญชีมากกว่า 5 บัญชี
4
ลักษณะลูกหนี้ที่เข้ามาตรการ ธปท.
• 24% ของลูกหนี้เข้าร่วมมาตรการหลายบัญชี (median 4 บัญชี)
• 41% มีภาระหนี้สูง (median 4.9 แสนบาท)
5
ที่มา: สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์, “เหลียวหลัง แลหน้า อนาคต หนี้ครัวเรือนไทย” ก.ย. 2563
โรงรับจานา: ภาพสะท้อนส่วนเสี้ยวเศรษฐกิจคนจน
• ความเดือดร้อนของคนจนช่วงโควิด-19 ส่วนหนึ่งสะท้อนผ่านการนาสิ่งของ
เครื่องใช้ไปจานากับโรงรับจานาทั่วประเทศ มีทั้งเครื่องมือทามาหากิน อย่าง
ซึ้งนึ่งขนม ถาดใส่กับข้าว ครกหิน กระทะทองเหลือง
• ส่วนทองคา อัญมณี นามาจานาน้อยลง เพราะส่วนใหญ่ได้ไถ่ถอนออกไป
ขายในช่วงที่ราคาทองคาปรับตัวขึ้นสูง โดยการนาทองคามาจานาได้บาทละ
20,000 บาท ยังต้องเสียดอกเบี้ย หากขายจะได้บาทละ 24,800 บาท
• ในภาพรวม จานวนคนนาสิ่งของมาจานาเพิ่มขึ้น แต่วงเงินจานาลดลง
• โรงรับจานา กทม.ทั้ง 21 แห่ง มีสต๊อกทรัพย์ที่ประชาชนมาจานาถึงเดือน
มิ.ย. 2563 จานวน 334,808 ราย คิดเป็นเงิน 5,012 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก
ปี 2562 ประมาณ 19,253 ราย คิดเป็นเงิน 178 ล้านบาท
6
สถาบันป๋วยฯ ประเมินว่าผู้กู้ 2.1 ล้านคน อาจมีปัญหา
• ผลพยากรณ์กรณีที่เศรษฐกิจปลายปี 63 ไม่ฟื้นตัว รัฐไม่มีมาตรการ
ช่วยเหลือ (baseline scenario)
• นับเฉพาะผู้กู้ที่มีข้อมูลในเครดิตบูโร (กู้ในระบบได้) เท่านั้น
7
ที่มา: สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์, “เหลียวหลัง แลหน้า อนาคต หนี้ครัวเรือนไทย” ก.ย. 2563
ลักษณะสินเชื่อที่ต้องการ
ในทัศนะของลูกหนี้
(เรียงจากสาคัญมากไปหาน้อย)
หนี้นอกระบบ
(นายทุน)
หนี้ในระบบ
กู้ง่าย
(ขั้นตอน/กติกาน้อย ไม่ต้องวาง
หลักประกัน ไม่มีเอกสาร)
✓
ผ่อนง่าย (ผ่อนช้าระคราวละน้อยๆ) ✓
ระยะเวลาผ่อนช้าระนาน ✓
ดอกเบี้ยต่้า ✓
มีความยืดหยุ่นในการช้าระหนี้สูง
(ต่อรองผ่อนผันได้)
✓
ทาไมคนเราถึงเป็นหนี้นอกระบบ?
8
“หนี้” ต้องดูแลตั้งแต่ต้นน้าถึงปลายน้า
ก่อนเป็นหนี้ หลังเป็นหนี้ ชาระหนี้ไม่ได้
• การขยาย
บริการทาง
การเงิน
• การให้ความรู้
ทางการเงิน
• การปล่อย
สินเชื่อที่เป็น
ธรรม
• การทวงหนี้ที่
เป็นธรรม
• การปล่อย
สินเชื่อที่เป็น
ธรรม
• กลไกปรับ
โครงสร้างหนี้
• กลไกการไกล่
เกลี่ย
• กลไกการยื่น
ล้มละลายโดย
สมัครใจ
9
มาตรการ ธปท. ที่ผ่านมา: ดี แต่ยังไม่ถึงปลายน้า
10
มาตรการไกล่เกลี่ยของ ธปท. : ดี แต่แค่นี้ไม่พอ
• ลูกหนี้มีอ้านาจต่อรองน้อยกว่ามาก
เพราะสุดท้ายเจ้าหนี้ยื่นล้มละลายได้
ฝ่ายเดียว ลูกหนี้ไม่มีสิทธิยื่นเอง
• ถ้ามีเจ้าหนี้หลายราย เจ้าหนี้ที่ไม่ได้เข้า
กระบวนการไกล่เกลี่ยจะเสียเปรียบ
• ลูกหนี้จ้านวนมากเข้า
ไม่ถึงออนไลน์
11
วิธีแก้ปลายน้า (NPL) อย่างตรงจุดและยั่งยืน
• เลื่อนการบังคับคดีสาหรับหนี้ที่เริ่มเป็นหนี้เสีย (NPL) ในช่วงโควิด-19
• ออกกฎหมายล้มละลายโดยสมัครใจ (กระบวนการฟื้นฟู) สาหรับบุคคลธรรมดา
✓ มอบ “ชีวิตใหม่” หลังโควิด-19 ให้กับลูกหนี้รายย่อย เช่นเดียวกับที่ลูกหนี้ธุรกิจเริ่ม
ได้โอกาสนี้ไปแล้วตอนเกิดวิกฤติต้มย้ากุ้ง 2540 (พ.ร.บ. ล้มละลาย ฉบับที่ 5 ออก
ปี พ.ศ. 2542)
✓ ลดความเสี่ยงที่จะเกิดปรากฏการณ์ล้มละลายขนานใหญ่ ลดผลกระทบต่อระบบ
การเงินและเศรษฐกิจในอนาคต
✓ สร้างแรงจูงใจให้เปิดเผยภาระหนี้ทั้งหมด (ก้าหนดบทลงโทษถ้าให้ข้อมูลเท็จ) + นิร
โทษกรรมหนี้นอกระบบ เพื่อให้แก้ปัญหาหนี้ทุกรูปแบบ ทุกบัญชีได้พร้อมกัน ทั้ง
หนี้สถาบันการเงิน หนี้ กยศ. หนี้ ธกส. หนี้กองทุนหมู่บ้าน หนี้นอกระบบ ฯลฯ
✓ เพิ่มสิทธิของลูกหนี้อย่างเป็นธรรม ตามมาตรฐานกฎหมายล้มละลายสากล
UNCITRAL
12
วิธีแก้ปลายน้า (NPL) อย่างตรงจุดและยั่งยืน (ต่อ)
• สร้างกลไกเสริมสร้างวินัยทางการเงิน เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการฟื้นฟู (ยื่น
ล้มละลายโดยสมัครใจ) เช่น ก้าหนดว่าลูกหนี้รายย่อยที่ประสงค์จะเข้าสู่กระบวนการ
ฟื้นฟูจะต้องได้ผ่านการอบรมความรู้ทางการเงินไม่น้อยกว่า 20 ชั่วโมง
• จ้างบัณฑิตจบใหม่ทั่วประเทศ (คาดการณ์ว่าจะตกงาน 500,000 คน) เป็น
“อาสาสมัครการเงิน” (องม.) ประจาหมู่บ้าน
✓ ช่วยวางแผนการใช้เงิน ปรับโครงสร้างหนี้กับลูกหนี้รายย่อย เน้นกลุ่มผู้มีรายได้
น้อยในชนบท
✓ เก็บข้อมูลหนี้รายย่อย ท้าฐานข้อมูล big data ระดับประเทศ เติมเต็มช่องว่าง
ข้อมูลของประเทศ (ปัจจุบันรัฐไม่มีข้อมูลหนี้กึ่งในระบบ และหนี้นอกระบบที่เป็น
ปัจจุบัน)
✓ แบ่งเบาภาระบัณฑิตและครอบครัว แก้ปัญหาการว่างงาน
✓ เป็นโอกาสสร้างวินัยทางการเงิน ให้ความรู้ทางการเงินกับบัณฑิตจบใหม่
13
มาตรการ “สาเร็จรูป” ที่ใช้ได้กับลูกหนี้ทุกกลุ่มอาจไม่มี แต่
สามารถออกแบบรูปแบบเฉพาะกลุ่มได้
(สัดส่วนของผู้กู้ตามประเภท
สินเชื่อ)
Flower of debt
23%
17.2%
0.5%
5%
จานวนผู้กู้ ณ มิ.ย. 63 =22.85 ล้านคน
53% ของผู้กู้
47% ของผู้กู้
asset warehousing
ชั่วคราว 6-12 เดือน เปิด
โอกาสให้ลูกหนี้ซื้อคืนเมื่อ
เริ่มมีก้าลังจ่าย เพื่อป้องกัน
การสูญเสียบ้านที่ตัวเองอยู่
อาศัย
ปรับเป็นสัญญา
สินเชื่อ SMEs /
เปิดโอกาสให้
เข้าถึง soft
loan ของ
ธปท.
ถ้ามีทรัพย์สินติด
ตัวน้อยมาก ไม่มี
บ้าน และมียอด
หนี้รวมต่้า →
พิจารณาใช้
debt relief
order แบบ
อังกฤษ
14
ที่มา: สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์, “เหลียวหลัง แลหน้า อนาคต
หนี้ครัวเรือนไทย” ก.ย. 2563
มาตรการอื่นๆ ที่ควรผลักดันสาหรับ SMEs
• แก้ไขปรับปรุง พ.ร.ก. ซอฟท์โลน ห้าแสนล้าน ให้ SMEs ขนาดย่อมเข้าถึงได้ง่ายขึ้น
เช่น แก้เงื่อนไขที่ว่าลูกหนี้รายนั้นต้องเป็นลูกค้าเดิมของธนาคารอยู่แล้ว และปรับปรุง
เงื่อนไขการจ่ายชดเชยความเสียหายกรณีเกิด NPL ซึ่งธนาคารอาจมองว่าไม่จูงใจพอ
• ผลักดันการจัดตั้งทะเบียนหลักประกันแห่งชาติ (national collateral registry:
NCR) ร่วมกับกระทรวงพาณิชย์ เพื่อช่วยให้ พ.ร.บ. หลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ.
2558 บังคับใช้ได้จริง รวมถึงแก้ไขกฎหมายฉบับนี้รองรับด้วย
➢ ระบบซอฟต์แวร์ออนไลน์มาตรฐานสากล ใช้ลงทะเบียนเกี่ยวกับสังหาริมทรัพย์
(อาทิ วัว ควาย คอมพิวเตอร์ รถไถ ฯลฯ) ที่ใช้เป็นหลักประกันเงินกู้ โดยไม่ต้องส่ง
มอบทรัพย์สินให้กับเจ้าหนี้ รักษาความปลอดภัยด้วย blockchain
➢ ทุกฝ่ายประหยัดเวลาและทรัพยากร ลดความเสี่ยงของเจ้าหนี้ ในเมื่อสินทรัพย์แทบ
ทุกชนิดสามารถน้ามาจดทะเบียนได้ จึงจะช่วยให้ผู้ประกอบการเดี่ยวและ SMEs
เข้าถึงสินเชื่อง่ายขึ้น

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von Sarinee Achavanuntakul

Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forumสไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open ForumSarinee Achavanuntakul
 
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi ProjectSustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...Sarinee Achavanuntakul
 
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data JournalismNew Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data JournalismSarinee Achavanuntakul
 
Crowdfunding for solar: model and implications for Thailand
Crowdfunding for solar: model and implications for ThailandCrowdfunding for solar: model and implications for Thailand
Crowdfunding for solar: model and implications for ThailandSarinee Achavanuntakul
 

Mehr von Sarinee Achavanuntakul (20)

Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 
Sustainable Consumption
Sustainable ConsumptionSustainable Consumption
Sustainable Consumption
 
Who (Should) Regulate Internet?
Who (Should) Regulate Internet?Who (Should) Regulate Internet?
Who (Should) Regulate Internet?
 
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forumสไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
 
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi ProjectSustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
 
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
 
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data JournalismNew Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
 
Is Capitalism Hostile to the Poor?
Is Capitalism Hostile to the Poor?Is Capitalism Hostile to the Poor?
Is Capitalism Hostile to the Poor?
 
Crowdfunding for solar: model and implications for Thailand
Crowdfunding for solar: model and implications for ThailandCrowdfunding for solar: model and implications for Thailand
Crowdfunding for solar: model and implications for Thailand
 
Business Models of Social Business
Business Models of Social BusinessBusiness Models of Social Business
Business Models of Social Business
 

Thai Household Debt & COVID-19

  • 1. หนี้ครัวเรือนกับโควิด-19 สถานการณ์และทางออก สฤณี อาชวานันทกุล 14 กุมภาพันธ์ 2564  งานนี้เผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธิ์ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa) โดยผู้สร้างอนุญาตให้ท้าซ้้า แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจาก ส่วนใดส่วนหนึ่งของงานนี้ได้โดยเสรี แต่เฉพาะในกรณีที่ให้เครดิตผู้สร้าง ไม่น้าไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้ลิขสิทธิ์เดียวกันนี้เท่านั้น
  • 2. ไม่มีใครอยากให้เกิดวิกฤติโควิด-19 รายได้หาย ไม่ใช่ความผิดของประชาชน หนี้ท่วม ไม่ใช่ความผิดของประชาชน วิกฤติโควิด-19 ไม่ใช่เศรษฐกิจถดถอยธรรมดา การช่วยเหลือประชาชนควรเน้น “เยียวยา” “สร้างอาชีพ” “รักษางาน” และ “แบ่งเบา ภาระ” มากกว่า “กระตุ้นเศรษฐกิจ” 2
  • 3. สถานการณ์หนี้ครัวเรือน (ไตรมาสสาม 2563) • สัดส่วนหนี้ครัวเรือนในไตรมาส 3/2563 ทาสถิติสูงสุดในรอบ 18 ปีครั้งใหม่ที่ 86.6% ต่อจีดีพี มีแนวโน้มแตะ 90% ในช่วงต้นปี 2564 ตามสภาวะ เศรษฐกิจที่ซบเซาต่อเนื่อง • การก่อหนี้เพื่อการประกอบอาชีพ เช่าซื้อรถยนต์ บัตรเครดิตและสินเชื่อส่วน บุคคล กลับมาเร่งสูงขึ้น หลังจากที่ชะลอลงในไตรมาสสอง • DSR (Debt Service Ratio) โดยเฉลี่ยของครัวเรือนทั้งประเทศอยู่ที่ประมาณ 27.0% (จากรายได้ทุก 100 บาทในแต่ละเดือน ต้องนาไปชาระเงินต้นและ ดอกเบี้ย 27 บาท) • ครัวเรือนยิ่งจนยิ่งมี DSR สูง • ครัวเรือนรายได้ระหว่าง 5,000-10,000 บาทต่อเดือน มี DSR ราว 40% • ครัวเรือนรายได้ต่ากว่า 5,000 บาทต่อเดือน มี DSR สูงถึง 84% 3
  • 4. รายได้ลดลงมากกว่ารายจ่าย กู้หลายทางมากขึ้น • ในภาพรวม รายได้เฉลี่ยของครัวเรือนลดลงมากกว่าค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือน (ไม่ว่าจะพยายามลดรายจ่ายลงเท่าไร ก็ไม่เท่ารายได้ที่หายไป) • 1 ใน 6 ของลูกหนี้เป็นหนี้เสีย และมีมูลหนี้เสียสูงขึ้น (ค่ากลาง 64,551 บาทต่อคน) • 80% ของบัญชีกระจุกตัวในบัตรเครดิตและสินเชื่อส่วนบุคคล เกือบครึ่งมี บัญชีมากกว่า 5 บัญชี 4
  • 5. ลักษณะลูกหนี้ที่เข้ามาตรการ ธปท. • 24% ของลูกหนี้เข้าร่วมมาตรการหลายบัญชี (median 4 บัญชี) • 41% มีภาระหนี้สูง (median 4.9 แสนบาท) 5 ที่มา: สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์, “เหลียวหลัง แลหน้า อนาคต หนี้ครัวเรือนไทย” ก.ย. 2563
  • 6. โรงรับจานา: ภาพสะท้อนส่วนเสี้ยวเศรษฐกิจคนจน • ความเดือดร้อนของคนจนช่วงโควิด-19 ส่วนหนึ่งสะท้อนผ่านการนาสิ่งของ เครื่องใช้ไปจานากับโรงรับจานาทั่วประเทศ มีทั้งเครื่องมือทามาหากิน อย่าง ซึ้งนึ่งขนม ถาดใส่กับข้าว ครกหิน กระทะทองเหลือง • ส่วนทองคา อัญมณี นามาจานาน้อยลง เพราะส่วนใหญ่ได้ไถ่ถอนออกไป ขายในช่วงที่ราคาทองคาปรับตัวขึ้นสูง โดยการนาทองคามาจานาได้บาทละ 20,000 บาท ยังต้องเสียดอกเบี้ย หากขายจะได้บาทละ 24,800 บาท • ในภาพรวม จานวนคนนาสิ่งของมาจานาเพิ่มขึ้น แต่วงเงินจานาลดลง • โรงรับจานา กทม.ทั้ง 21 แห่ง มีสต๊อกทรัพย์ที่ประชาชนมาจานาถึงเดือน มิ.ย. 2563 จานวน 334,808 ราย คิดเป็นเงิน 5,012 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ปี 2562 ประมาณ 19,253 ราย คิดเป็นเงิน 178 ล้านบาท 6
  • 7. สถาบันป๋วยฯ ประเมินว่าผู้กู้ 2.1 ล้านคน อาจมีปัญหา • ผลพยากรณ์กรณีที่เศรษฐกิจปลายปี 63 ไม่ฟื้นตัว รัฐไม่มีมาตรการ ช่วยเหลือ (baseline scenario) • นับเฉพาะผู้กู้ที่มีข้อมูลในเครดิตบูโร (กู้ในระบบได้) เท่านั้น 7 ที่มา: สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์, “เหลียวหลัง แลหน้า อนาคต หนี้ครัวเรือนไทย” ก.ย. 2563
  • 8. ลักษณะสินเชื่อที่ต้องการ ในทัศนะของลูกหนี้ (เรียงจากสาคัญมากไปหาน้อย) หนี้นอกระบบ (นายทุน) หนี้ในระบบ กู้ง่าย (ขั้นตอน/กติกาน้อย ไม่ต้องวาง หลักประกัน ไม่มีเอกสาร) ✓ ผ่อนง่าย (ผ่อนช้าระคราวละน้อยๆ) ✓ ระยะเวลาผ่อนช้าระนาน ✓ ดอกเบี้ยต่้า ✓ มีความยืดหยุ่นในการช้าระหนี้สูง (ต่อรองผ่อนผันได้) ✓ ทาไมคนเราถึงเป็นหนี้นอกระบบ? 8
  • 9. “หนี้” ต้องดูแลตั้งแต่ต้นน้าถึงปลายน้า ก่อนเป็นหนี้ หลังเป็นหนี้ ชาระหนี้ไม่ได้ • การขยาย บริการทาง การเงิน • การให้ความรู้ ทางการเงิน • การปล่อย สินเชื่อที่เป็น ธรรม • การทวงหนี้ที่ เป็นธรรม • การปล่อย สินเชื่อที่เป็น ธรรม • กลไกปรับ โครงสร้างหนี้ • กลไกการไกล่ เกลี่ย • กลไกการยื่น ล้มละลายโดย สมัครใจ 9
  • 10. มาตรการ ธปท. ที่ผ่านมา: ดี แต่ยังไม่ถึงปลายน้า 10
  • 11. มาตรการไกล่เกลี่ยของ ธปท. : ดี แต่แค่นี้ไม่พอ • ลูกหนี้มีอ้านาจต่อรองน้อยกว่ามาก เพราะสุดท้ายเจ้าหนี้ยื่นล้มละลายได้ ฝ่ายเดียว ลูกหนี้ไม่มีสิทธิยื่นเอง • ถ้ามีเจ้าหนี้หลายราย เจ้าหนี้ที่ไม่ได้เข้า กระบวนการไกล่เกลี่ยจะเสียเปรียบ • ลูกหนี้จ้านวนมากเข้า ไม่ถึงออนไลน์ 11
  • 12. วิธีแก้ปลายน้า (NPL) อย่างตรงจุดและยั่งยืน • เลื่อนการบังคับคดีสาหรับหนี้ที่เริ่มเป็นหนี้เสีย (NPL) ในช่วงโควิด-19 • ออกกฎหมายล้มละลายโดยสมัครใจ (กระบวนการฟื้นฟู) สาหรับบุคคลธรรมดา ✓ มอบ “ชีวิตใหม่” หลังโควิด-19 ให้กับลูกหนี้รายย่อย เช่นเดียวกับที่ลูกหนี้ธุรกิจเริ่ม ได้โอกาสนี้ไปแล้วตอนเกิดวิกฤติต้มย้ากุ้ง 2540 (พ.ร.บ. ล้มละลาย ฉบับที่ 5 ออก ปี พ.ศ. 2542) ✓ ลดความเสี่ยงที่จะเกิดปรากฏการณ์ล้มละลายขนานใหญ่ ลดผลกระทบต่อระบบ การเงินและเศรษฐกิจในอนาคต ✓ สร้างแรงจูงใจให้เปิดเผยภาระหนี้ทั้งหมด (ก้าหนดบทลงโทษถ้าให้ข้อมูลเท็จ) + นิร โทษกรรมหนี้นอกระบบ เพื่อให้แก้ปัญหาหนี้ทุกรูปแบบ ทุกบัญชีได้พร้อมกัน ทั้ง หนี้สถาบันการเงิน หนี้ กยศ. หนี้ ธกส. หนี้กองทุนหมู่บ้าน หนี้นอกระบบ ฯลฯ ✓ เพิ่มสิทธิของลูกหนี้อย่างเป็นธรรม ตามมาตรฐานกฎหมายล้มละลายสากล UNCITRAL 12
  • 13. วิธีแก้ปลายน้า (NPL) อย่างตรงจุดและยั่งยืน (ต่อ) • สร้างกลไกเสริมสร้างวินัยทางการเงิน เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการฟื้นฟู (ยื่น ล้มละลายโดยสมัครใจ) เช่น ก้าหนดว่าลูกหนี้รายย่อยที่ประสงค์จะเข้าสู่กระบวนการ ฟื้นฟูจะต้องได้ผ่านการอบรมความรู้ทางการเงินไม่น้อยกว่า 20 ชั่วโมง • จ้างบัณฑิตจบใหม่ทั่วประเทศ (คาดการณ์ว่าจะตกงาน 500,000 คน) เป็น “อาสาสมัครการเงิน” (องม.) ประจาหมู่บ้าน ✓ ช่วยวางแผนการใช้เงิน ปรับโครงสร้างหนี้กับลูกหนี้รายย่อย เน้นกลุ่มผู้มีรายได้ น้อยในชนบท ✓ เก็บข้อมูลหนี้รายย่อย ท้าฐานข้อมูล big data ระดับประเทศ เติมเต็มช่องว่าง ข้อมูลของประเทศ (ปัจจุบันรัฐไม่มีข้อมูลหนี้กึ่งในระบบ และหนี้นอกระบบที่เป็น ปัจจุบัน) ✓ แบ่งเบาภาระบัณฑิตและครอบครัว แก้ปัญหาการว่างงาน ✓ เป็นโอกาสสร้างวินัยทางการเงิน ให้ความรู้ทางการเงินกับบัณฑิตจบใหม่ 13
  • 14. มาตรการ “สาเร็จรูป” ที่ใช้ได้กับลูกหนี้ทุกกลุ่มอาจไม่มี แต่ สามารถออกแบบรูปแบบเฉพาะกลุ่มได้ (สัดส่วนของผู้กู้ตามประเภท สินเชื่อ) Flower of debt 23% 17.2% 0.5% 5% จานวนผู้กู้ ณ มิ.ย. 63 =22.85 ล้านคน 53% ของผู้กู้ 47% ของผู้กู้ asset warehousing ชั่วคราว 6-12 เดือน เปิด โอกาสให้ลูกหนี้ซื้อคืนเมื่อ เริ่มมีก้าลังจ่าย เพื่อป้องกัน การสูญเสียบ้านที่ตัวเองอยู่ อาศัย ปรับเป็นสัญญา สินเชื่อ SMEs / เปิดโอกาสให้ เข้าถึง soft loan ของ ธปท. ถ้ามีทรัพย์สินติด ตัวน้อยมาก ไม่มี บ้าน และมียอด หนี้รวมต่้า → พิจารณาใช้ debt relief order แบบ อังกฤษ 14 ที่มา: สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์, “เหลียวหลัง แลหน้า อนาคต หนี้ครัวเรือนไทย” ก.ย. 2563
  • 15. มาตรการอื่นๆ ที่ควรผลักดันสาหรับ SMEs • แก้ไขปรับปรุง พ.ร.ก. ซอฟท์โลน ห้าแสนล้าน ให้ SMEs ขนาดย่อมเข้าถึงได้ง่ายขึ้น เช่น แก้เงื่อนไขที่ว่าลูกหนี้รายนั้นต้องเป็นลูกค้าเดิมของธนาคารอยู่แล้ว และปรับปรุง เงื่อนไขการจ่ายชดเชยความเสียหายกรณีเกิด NPL ซึ่งธนาคารอาจมองว่าไม่จูงใจพอ • ผลักดันการจัดตั้งทะเบียนหลักประกันแห่งชาติ (national collateral registry: NCR) ร่วมกับกระทรวงพาณิชย์ เพื่อช่วยให้ พ.ร.บ. หลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. 2558 บังคับใช้ได้จริง รวมถึงแก้ไขกฎหมายฉบับนี้รองรับด้วย ➢ ระบบซอฟต์แวร์ออนไลน์มาตรฐานสากล ใช้ลงทะเบียนเกี่ยวกับสังหาริมทรัพย์ (อาทิ วัว ควาย คอมพิวเตอร์ รถไถ ฯลฯ) ที่ใช้เป็นหลักประกันเงินกู้ โดยไม่ต้องส่ง มอบทรัพย์สินให้กับเจ้าหนี้ รักษาความปลอดภัยด้วย blockchain ➢ ทุกฝ่ายประหยัดเวลาและทรัพยากร ลดความเสี่ยงของเจ้าหนี้ ในเมื่อสินทรัพย์แทบ ทุกชนิดสามารถน้ามาจดทะเบียนได้ จึงจะช่วยให้ผู้ประกอบการเดี่ยวและ SMEs เข้าถึงสินเชื่อง่ายขึ้น