SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 25
Downloaden Sie, um offline zu lesen
อนาคต “เศรษฐกิจดิจิทัล”
กับเงื่อนไขการพัฒนา
สฤณี อาชวานันทกุล
มกราคม 2564
ที่มา: http://www.digitalthailand.in.th/ (ปัจจุบันเว็บไม่มีแล้ว)
2
ที่มา: World Economic Foru (WEF), Delivering Digital Infrastructure, 2014
ปัจจัยที่จำเป็นในกำรพัฒนำดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ & สังคม
3
ที่มา: WEF, Delivering Digital Infrastructure, 2014
ข้อแนะนำของ WEF ในกำรพัฒนำโครงสร้ำงพื้นฐำนดิจิทัล
4
ที่มา: Chakravorti & Chaturvedi et. al., Digital Planet, 2020
Digital Evolution Index & Digital Trust 2020
5
องค์ประกอบของ Digital Evolution Index (Tufts University)
6
ที่มา: Chakravorti & Chaturvedi et. al., Digital Planet, 2020
7
Digital Evolution Index 2020: ภำพรวม
ที่มา: Chakravorti & Chaturvedi et. al., Digital Planet, 2020
8
Digital Evolution Index 2020: Supply
ที่มา: Chakravorti & Chaturvedi et. al., Digital Planet, 2020
9
Digital Evolution Index 2020: Demand
ที่มา: Chakravorti & Chaturvedi et. al., Digital Planet, 2020
10
Digital Evolution Index 2020: Institutions
ที่มา: Chakravorti & Chaturvedi et. al., Digital Planet, 2020
11
Digital Evolution Index 2020: Innovation
ที่มา: Chakravorti & Chaturvedi et. al., Digital Planet, 2020
12
Digital Evolution Index 2020 vs. สัดส่วนของกำลังแรงงำนที่
สำมำรถทำงำนจำกบ้ำน
ที่มา: Chakravorti & Chaturvedi et. al., Digital Planet, 2020
13
Digital Trust: Environment 2020
ที่มา: Chakravorti & Chaturvedi et. al., Digital Planet, 2020
ไทยอยู่อันดับที่ 34 จาก 42
ประเทศ (34.00 จาก 100
คะแนน) ในตัวชี้วัด Digital Trust:
Environment (กลไกคุ้มครอง
ความเป็นส่วนตัว(privacy), ความ
ปลอดภัย(security) และความรับ
ผิด ( accountability))
14
Digital Trust: Behavior 2020
ที่มา: Chakravorti & Chaturvedi et. al., Digital Planet, 2020
ไทยอยู่อันดับที่ 7 จาก 42
ประเทศ (63.59 จาก 100
คะแนน) ในตัวชี้วัด Digital Trust:
Behavior (ผู้ใช้เน็ตใช้โซเชียล
มีเดีย อีคอมเมิร์ซ มากน้อย
เพียงใด เปิดกว้างกับประสบการณ์
ออนไลน์ที่ไม่ดีเพียงใด)
15
ที่มา: รายงานผลสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ปี 2562, ETDA
16
ที่มา: รายงานผลสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ปี 2562, ETDA
ข้อสังเกตของทีมวิจัย Digital Evolution Index 2020
• ในห้วงยามที่เกิดโรคระบาดรุนแรง วิวัฒนาการดิจิทัลมีส่วนช่วยอย่างมากให้เศรษฐกิจของประเทศยืดหยุ่น
ฟื้นตัวได้ดี (resilience) ต่อให้มันไม่สามารถเป็น “ก้าวสารพัดนึก” ที่จะลบล้างผลกระทบเชิงลบทาง
เศรษฐกิจที่เกิดจากการรักษาระยะห่างทางสังคมได้ ระดับของวิวัฒนาการดิจิทัลช่วยเศรษฐกิจได้มาก แต่จะ
รองรับแรงกระแทกได้มากน้อยเพียงใดก็ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของเศรษฐกิจแต่ละประเทศ
• “คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมากขึ้น หวงข้อมูลน้อยลง” (More data privacy protections and less
data protectionism) คือคาถาสาหรับเศรษฐกิจที่มีวิวัฒนาการดิจิทัลสูงมาก นโยบายส่งเสริมการ
ไหลเวียนของข้อมูลอย่างเสรี (open data flow) ช่วยลดกาแพงสาหรับกิจกรรมทางธุรกิจที่ทาผ่าน
เครือข่าย นโยบายแนวนี้บวกกับการคุ้มครองความเป็นส่วนตัวที่เข้มแข็งและสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย จะ
สนับสนุนให้คนทากิจกรรมดิจิทัลมากขึ้นและสร้างข้อมูลมากขึ้น ขาดไม่ได้ในการสร้างเศรษฐกิจดิจิทัลที่
แข่งขันได้และมีนวัตกรรม
• การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตผ่านมือถือเป็นสิ่งจาเป็น แต่ไม่เพียงพอต่อวิวัฒนาการดิจิทัล ประเทศ “กาลังพัฒนา
ทางดิจิทัล” ควรเน้นการเพิ่มขีดการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตผ่านมือถือ ทาให้ราคาอยู่ในระดับที่คนมีกาลังจ่าย
และมีคุณภาพดีพอ นอกจากนี้ยังต้องลงทุนในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงอย่างต่อเนื่อง
17
ข้อสังเกตของทีมวิจัย Digital Evolution Index 2020 (ต่อ)
• ไม่ว่าวิวัฒนาการดิจิทัลจะอยู่ในระดับใด ทุกประเทศจะต้องลงทุนในการฝึกทักษะการรู้เท่าทันดิจิทัล และ
ทักษะการรักษาความปลอดภัย(ไซเบอร์) เพื่อต่อกรกับข้อมูลลวงและภัยคุกคามไซเบอร์ การจับมือเป็น
พันธมิตรระหว่างรัฐกับเอกชน เน้นทางออกทั้งฝั่งอุปทานและอุปสงค์ จะช่วยเพิ่มความไว้วางใจและความ
ยืดหยุ่นให้กับระบบนิเวศดิจิทัลในประเทศ
• เศรษฐกิจที่วิวัฒนาการดิจิทัลอยู่ในระดับสูงแล้วจะต้องคานึงถึงการแลกได้แลกเสีย ระหว่างการรักษาโมเม
นตัมของการเติบโต กับการลงทุนในสถาบันที่เข้มแข็งเพื่อสร้างเศรษฐกิจดิจิทัลที่ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ผู้
ดาเนินนโยบายจะต้องหาสมดุลที่เหมาะสมระหว่าง “โตเร็ว” กับ “สภาพแวดล้อมที่คนไว้วางใจ”
• ไต้หวัน สิงคโปร์ เอสโตเนีย นิวซีแลนด์ ฮ่องกง และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็น “เมืองท่า” สาคัญของการ
พัฒนาดิจิทัลระดับภูมิภาคและระดับโลก ผ่านการสร้างระบบนิเวศที่เดินหน้าด้วยตัวเอง ดึงดูดการลงทุน
และมันสมองระดับโลก สาธิตให้ประเทศอื่นเห็นว่าอนาคตอาจเป็นอย่างไรได้บ้าง
18
หลักกำรเบื้องต้น (First Principles) ด้ำนเศรษฐกิจดิจิทัล:
บทบำทของรัฐ(ที่พึงเป็น)
• รัฐเปลี่ยนทัศนคติจาก “ผู้ควบคุม” (Controller) เป็น “ผู้อานวยความ
สะดวก” (Facilitator) เป็นหลัก
• ไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อนกับเอกชน
• แยกบทบาท Policy Maker / Regulator / Operator จากกันอย่างชัดเจน
• หลีกเลี่ยงการชี้นาหรือ “ล็อกสเปค” เทคโนโลยี/บริษัท หรือเอื้อประโยชน์
รายใหญ่รายเดิม (ระบุเพียง “ผลลัพธ์” หรือ “คุณภาพ” ที่อยากเห็น)
• กระบวนการกาหนดนโยบายโปร่งใสและเชื้อเชิญการมีส่วนร่วม
• ดึงการมีส่วนร่วมจากผู้มีส่วนได้เสียที่หลากหลาย
• เปิดช่องทางการรับฟังความเห็นที่หลากหลาย
• ใช้งานวิจัยและความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียในการจัดทานโยบาย
19
• เพิ่มขีดความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล, ทา e-Government จริงจัง
• ส่งเสริมนโยบาย open data (ที่คุ้มครองความเป็นส่วนตัว)
• ส่งเสริมให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเศรษฐกิจ-สังคมดิจิทัล แทรกแซงก็
ต่อเมื่อศึกษาแล้วพบว่าตลาดไม่สามารถ deliver ผลลัพธ์นั้นได้
• ส่งเสริมการลงทุนเชิงสถาบัน เน้นสร้าง “ความเชื่อมั่น” ให้กับทุกฝ่าย
• กลไกตลาด โครงสร้างสิ่งจูงใจ (incentives) เน้นนวัตกรรม และปิดช่องว่างดิจิทัล
(digital divide)
• คุ้มครองความเป็นส่วนตัว ข้อมูลส่วนบุคคล ให้ได้มาตรฐานสากล
• นิยาม “ความปลอดภัยไซเบอร์” ให้ชัดเจน ไม่ลิดรอนสิทธิเสรีภาพการแสดงออก
• ส่งเสริมนวัตกรรม และการเติบโตทั้ง ICT value chain
หลักกำรเบื้องต้น (First Principles) ด้ำนเศรษฐกิจดิจิทัล:
บทบำทของรัฐ(ที่พึงเป็น) (ต่อ)
20
21
ที่มา: “Mapping Hacking Team’s “Untraceable” Spyware,” Citizen Lab, 2014
22
ที่มา: “Running in Circles,” Citizen Lab, 2020
Citizen Lab พบเบำะแสว่ำ กอ.รมน. และกองทัพใช้บริกำรของ
Circles บริษัทที่ดักฟังข้อควำมและข้อมูลที่ส่งผ่ำนโทรศัพท์มือถือ
23
ที่มา: Freedom on the Net 2020, Freedom House
สภำพแวดล้อมปัจจุบัน: ยังยำกที่จะสร้ำง “ควำมไว้วำงใจ”
• พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ถูกเลื่อนกำรบังคับใช้ออกไป 1 ปี ยังไม่มี
ประกำศแต่งตั้งคณะกรรมกำรคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในรำชกิจจำนุเบกษำ ทั้งที่
ผ่ำนขั้นตอนสรรหำ มีมติ ครม. ได้ชื่อกรรมกำรครบทุกคนแล้ว
• บทบำทของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ดูจะเน้น “ปรำบปรำม” กำร
แสดงออก(ที่มองว่ำผิดกฎหมำย) มำกกว่ำ “ส่งเสริม” เศรษฐกิจดิจิทัล
• พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ฉบับแก้ไข ดูผิวเผินเหมือนดีกว่ำเดิม แต่ยังถูกนำมำใช้
คุกคำมผู้ที่วิพำกษ์วิจำรณ์รัฐและเอกชนอยู่ดี
• ข้อสงสัยเกี่ยวกับกำรสอดส่องออนไลน์ของกองทัพ และ กอ.รมน.
• ผลประโยชน์และหน้ำที่ทับซ้อน (?) ของหน่วยงำนขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล
• แพล็ตฟอร์มต่ำงชำติไม่เสียภำษี, ไม่มี Startup Sandbox / Matching Fund
• ไม่มีนโยบำยสนับสนุน Open API (เช่น กฎหมำย Open Banking ในอังกฤษ) 24
ประเด็นอื่นๆ ที่ท้ำทำยเกี่ยวกับธุรกิจใน “เศรษฐกิจดิจิทัล”
• ผลกระทบด้ำนสิ่งแวดล้อมเชิงลบ: กำรใช้พลังงำนมหำศำลของศูนย์ข้อมูล, ขยะ
อิเล็กทรอนิกส์
• ผลกระทบด้ำนสิ่งแวดล้อมเชิงบวก: “กำรแปลงเป็นดิจิทัล” (digitization) เช่น ปริน
เตอร์สำมมิติ และกำรเปลี่ยนจำก “ขำยสินค้ำ” (เช่น รถยนต์) เป็น “ขำยบริกำร” (เช่น
แอพพลิเคชั่น Grab) สำมำรถช่วยลดกำรใช้พลังงำน ลดกำรใช้วัตถุดิบ และลดขยะได้
• มูลค่ำของ “ข้อมูล” และใครควรจ่ำย เช่น ในเมื่อ Facebook/Twitter/Instagram
สร้ำงรำยได้จำกข้อมูลส่วนบุคคลของเรำ บริษัทควรจ่ำยเงินเรำหรือไม่ ?
• จุดไหนเรำควรมอง “แพล็ตฟอร์ม” ว่ำเป็น “สินค้ำสำธำรณะ” (public goods) ?
• “อำนำจเหนือตลำด” ที่ต้องขยำยนิยำม เมื่อ “ส่วนแบ่งตลำดในแง่ข้อมูล” (market
share of data) สำคัญกว่ำ “ส่วนแบ่งตลำดในแง่รำยได้” (market share of sales)
25

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Was ist angesagt? (10)

มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรมมูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
 
Data & Analytics are Driving the Future of Healthcare (March 10, 2021)
Data & Analytics are Driving the Future of Healthcare (March 10, 2021)Data & Analytics are Driving the Future of Healthcare (March 10, 2021)
Data & Analytics are Driving the Future of Healthcare (March 10, 2021)
 
Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018
 
Slide งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
Slide  งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018Slide  งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
Slide งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
 
Thai Hospitals' Adoption of Information Technology Survey: THAIS
Thai Hospitals' Adoption of Information Technology Survey: THAISThai Hospitals' Adoption of Information Technology Survey: THAIS
Thai Hospitals' Adoption of Information Technology Survey: THAIS
 
Thai Informatics Year In Review 2013
Thai Informatics Year In Review 2013Thai Informatics Year In Review 2013
Thai Informatics Year In Review 2013
 
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
 
บทความ The evolution of AI
บทความ The evolution of AIบทความ The evolution of AI
บทความ The evolution of AI
 
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformationกลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
 
Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016
 

Ähnlich wie Future of "digital economy" in Thailand

Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Settapong Malisuwan
 
3การพัฒนาด้าน ictเพื่อก้าวสู่ smart thailand
3การพัฒนาด้าน ictเพื่อก้าวสู่ smart thailand3การพัฒนาด้าน ictเพื่อก้าวสู่ smart thailand
3การพัฒนาด้าน ictเพื่อก้าวสู่ smart thailand
Supawadee Bunnual
 

Ähnlich wie Future of "digital economy" in Thailand (20)

การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
 
e-Commerce
e-Commercee-Commerce
e-Commerce
 
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
 
E-Commerce Trends 2013
E-Commerce Trends 2013E-Commerce Trends 2013
E-Commerce Trends 2013
 
20181005 etda annual 2017 seed-view-compressed
20181005 etda annual 2017 seed-view-compressed20181005 etda annual 2017 seed-view-compressed
20181005 etda annual 2017 seed-view-compressed
 
Technology Trends ผลกระต่อธุรกิจการธนาคาร
Technology Trends ผลกระต่อธุรกิจการธนาคารTechnology Trends ผลกระต่อธุรกิจการธนาคาร
Technology Trends ผลกระต่อธุรกิจการธนาคาร
 
พิชิตคู่แข่ง แซงหน้าด้วยไอที ยุคใหม่
พิชิตคู่แข่ง แซงหน้าด้วยไอที ยุคใหม่พิชิตคู่แข่ง แซงหน้าด้วยไอที ยุคใหม่
พิชิตคู่แข่ง แซงหน้าด้วยไอที ยุคใหม่
 
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in ThailandIntroduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
 
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
การใช้เทคโนโลยี 3G กับงานด้านสังคม
การใช้เทคโนโลยี 3G  กับงานด้านสังคมการใช้เทคโนโลยี 3G  กับงานด้านสังคม
การใช้เทคโนโลยี 3G กับงานด้านสังคม
 
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaEga แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
 
3G กับอนาคต ธุรกิจแอพพลิเคชันในเมืองไทย
3G กับอนาคต ธุรกิจแอพพลิเคชันในเมืองไทย3G กับอนาคต ธุรกิจแอพพลิเคชันในเมืองไทย
3G กับอนาคต ธุรกิจแอพพลิเคชันในเมืองไทย
 
3การพัฒนาด้าน ictเพื่อก้าวสู่ smart thailand
3การพัฒนาด้าน ictเพื่อก้าวสู่ smart thailand3การพัฒนาด้าน ictเพื่อก้าวสู่ smart thailand
3การพัฒนาด้าน ictเพื่อก้าวสู่ smart thailand
 
02 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-2019083102 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-20190831
 
คุณเมธินี
คุณเมธินีคุณเมธินี
คุณเมธินี
 
20181102 etda annual-2017-for_download_compressed_1
20181102 etda annual-2017-for_download_compressed_120181102 etda annual-2017-for_download_compressed_1
20181102 etda annual-2017-for_download_compressed_1
 
20181102 etda annual-2017-for_download_compressed
20181102 etda annual-2017-for_download_compressed20181102 etda annual-2017-for_download_compressed
20181102 etda annual-2017-for_download_compressed
 
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
 

Mehr von Sarinee Achavanuntakul

Mehr von Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 
Sustainable Consumption
Sustainable ConsumptionSustainable Consumption
Sustainable Consumption
 

Future of "digital economy" in Thailand

  • 3. ที่มา: World Economic Foru (WEF), Delivering Digital Infrastructure, 2014 ปัจจัยที่จำเป็นในกำรพัฒนำดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ & สังคม 3
  • 4. ที่มา: WEF, Delivering Digital Infrastructure, 2014 ข้อแนะนำของ WEF ในกำรพัฒนำโครงสร้ำงพื้นฐำนดิจิทัล 4
  • 5. ที่มา: Chakravorti & Chaturvedi et. al., Digital Planet, 2020 Digital Evolution Index & Digital Trust 2020 5
  • 6. องค์ประกอบของ Digital Evolution Index (Tufts University) 6 ที่มา: Chakravorti & Chaturvedi et. al., Digital Planet, 2020
  • 7. 7 Digital Evolution Index 2020: ภำพรวม ที่มา: Chakravorti & Chaturvedi et. al., Digital Planet, 2020
  • 8. 8 Digital Evolution Index 2020: Supply ที่มา: Chakravorti & Chaturvedi et. al., Digital Planet, 2020
  • 9. 9 Digital Evolution Index 2020: Demand ที่มา: Chakravorti & Chaturvedi et. al., Digital Planet, 2020
  • 10. 10 Digital Evolution Index 2020: Institutions ที่มา: Chakravorti & Chaturvedi et. al., Digital Planet, 2020
  • 11. 11 Digital Evolution Index 2020: Innovation ที่มา: Chakravorti & Chaturvedi et. al., Digital Planet, 2020
  • 12. 12 Digital Evolution Index 2020 vs. สัดส่วนของกำลังแรงงำนที่ สำมำรถทำงำนจำกบ้ำน ที่มา: Chakravorti & Chaturvedi et. al., Digital Planet, 2020
  • 13. 13 Digital Trust: Environment 2020 ที่มา: Chakravorti & Chaturvedi et. al., Digital Planet, 2020 ไทยอยู่อันดับที่ 34 จาก 42 ประเทศ (34.00 จาก 100 คะแนน) ในตัวชี้วัด Digital Trust: Environment (กลไกคุ้มครอง ความเป็นส่วนตัว(privacy), ความ ปลอดภัย(security) และความรับ ผิด ( accountability))
  • 14. 14 Digital Trust: Behavior 2020 ที่มา: Chakravorti & Chaturvedi et. al., Digital Planet, 2020 ไทยอยู่อันดับที่ 7 จาก 42 ประเทศ (63.59 จาก 100 คะแนน) ในตัวชี้วัด Digital Trust: Behavior (ผู้ใช้เน็ตใช้โซเชียล มีเดีย อีคอมเมิร์ซ มากน้อย เพียงใด เปิดกว้างกับประสบการณ์ ออนไลน์ที่ไม่ดีเพียงใด)
  • 17. ข้อสังเกตของทีมวิจัย Digital Evolution Index 2020 • ในห้วงยามที่เกิดโรคระบาดรุนแรง วิวัฒนาการดิจิทัลมีส่วนช่วยอย่างมากให้เศรษฐกิจของประเทศยืดหยุ่น ฟื้นตัวได้ดี (resilience) ต่อให้มันไม่สามารถเป็น “ก้าวสารพัดนึก” ที่จะลบล้างผลกระทบเชิงลบทาง เศรษฐกิจที่เกิดจากการรักษาระยะห่างทางสังคมได้ ระดับของวิวัฒนาการดิจิทัลช่วยเศรษฐกิจได้มาก แต่จะ รองรับแรงกระแทกได้มากน้อยเพียงใดก็ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของเศรษฐกิจแต่ละประเทศ • “คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมากขึ้น หวงข้อมูลน้อยลง” (More data privacy protections and less data protectionism) คือคาถาสาหรับเศรษฐกิจที่มีวิวัฒนาการดิจิทัลสูงมาก นโยบายส่งเสริมการ ไหลเวียนของข้อมูลอย่างเสรี (open data flow) ช่วยลดกาแพงสาหรับกิจกรรมทางธุรกิจที่ทาผ่าน เครือข่าย นโยบายแนวนี้บวกกับการคุ้มครองความเป็นส่วนตัวที่เข้มแข็งและสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย จะ สนับสนุนให้คนทากิจกรรมดิจิทัลมากขึ้นและสร้างข้อมูลมากขึ้น ขาดไม่ได้ในการสร้างเศรษฐกิจดิจิทัลที่ แข่งขันได้และมีนวัตกรรม • การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตผ่านมือถือเป็นสิ่งจาเป็น แต่ไม่เพียงพอต่อวิวัฒนาการดิจิทัล ประเทศ “กาลังพัฒนา ทางดิจิทัล” ควรเน้นการเพิ่มขีดการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตผ่านมือถือ ทาให้ราคาอยู่ในระดับที่คนมีกาลังจ่าย และมีคุณภาพดีพอ นอกจากนี้ยังต้องลงทุนในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงอย่างต่อเนื่อง 17
  • 18. ข้อสังเกตของทีมวิจัย Digital Evolution Index 2020 (ต่อ) • ไม่ว่าวิวัฒนาการดิจิทัลจะอยู่ในระดับใด ทุกประเทศจะต้องลงทุนในการฝึกทักษะการรู้เท่าทันดิจิทัล และ ทักษะการรักษาความปลอดภัย(ไซเบอร์) เพื่อต่อกรกับข้อมูลลวงและภัยคุกคามไซเบอร์ การจับมือเป็น พันธมิตรระหว่างรัฐกับเอกชน เน้นทางออกทั้งฝั่งอุปทานและอุปสงค์ จะช่วยเพิ่มความไว้วางใจและความ ยืดหยุ่นให้กับระบบนิเวศดิจิทัลในประเทศ • เศรษฐกิจที่วิวัฒนาการดิจิทัลอยู่ในระดับสูงแล้วจะต้องคานึงถึงการแลกได้แลกเสีย ระหว่างการรักษาโมเม นตัมของการเติบโต กับการลงทุนในสถาบันที่เข้มแข็งเพื่อสร้างเศรษฐกิจดิจิทัลที่ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ผู้ ดาเนินนโยบายจะต้องหาสมดุลที่เหมาะสมระหว่าง “โตเร็ว” กับ “สภาพแวดล้อมที่คนไว้วางใจ” • ไต้หวัน สิงคโปร์ เอสโตเนีย นิวซีแลนด์ ฮ่องกง และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็น “เมืองท่า” สาคัญของการ พัฒนาดิจิทัลระดับภูมิภาคและระดับโลก ผ่านการสร้างระบบนิเวศที่เดินหน้าด้วยตัวเอง ดึงดูดการลงทุน และมันสมองระดับโลก สาธิตให้ประเทศอื่นเห็นว่าอนาคตอาจเป็นอย่างไรได้บ้าง 18
  • 19. หลักกำรเบื้องต้น (First Principles) ด้ำนเศรษฐกิจดิจิทัล: บทบำทของรัฐ(ที่พึงเป็น) • รัฐเปลี่ยนทัศนคติจาก “ผู้ควบคุม” (Controller) เป็น “ผู้อานวยความ สะดวก” (Facilitator) เป็นหลัก • ไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อนกับเอกชน • แยกบทบาท Policy Maker / Regulator / Operator จากกันอย่างชัดเจน • หลีกเลี่ยงการชี้นาหรือ “ล็อกสเปค” เทคโนโลยี/บริษัท หรือเอื้อประโยชน์ รายใหญ่รายเดิม (ระบุเพียง “ผลลัพธ์” หรือ “คุณภาพ” ที่อยากเห็น) • กระบวนการกาหนดนโยบายโปร่งใสและเชื้อเชิญการมีส่วนร่วม • ดึงการมีส่วนร่วมจากผู้มีส่วนได้เสียที่หลากหลาย • เปิดช่องทางการรับฟังความเห็นที่หลากหลาย • ใช้งานวิจัยและความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียในการจัดทานโยบาย 19
  • 20. • เพิ่มขีดความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล, ทา e-Government จริงจัง • ส่งเสริมนโยบาย open data (ที่คุ้มครองความเป็นส่วนตัว) • ส่งเสริมให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเศรษฐกิจ-สังคมดิจิทัล แทรกแซงก็ ต่อเมื่อศึกษาแล้วพบว่าตลาดไม่สามารถ deliver ผลลัพธ์นั้นได้ • ส่งเสริมการลงทุนเชิงสถาบัน เน้นสร้าง “ความเชื่อมั่น” ให้กับทุกฝ่าย • กลไกตลาด โครงสร้างสิ่งจูงใจ (incentives) เน้นนวัตกรรม และปิดช่องว่างดิจิทัล (digital divide) • คุ้มครองความเป็นส่วนตัว ข้อมูลส่วนบุคคล ให้ได้มาตรฐานสากล • นิยาม “ความปลอดภัยไซเบอร์” ให้ชัดเจน ไม่ลิดรอนสิทธิเสรีภาพการแสดงออก • ส่งเสริมนวัตกรรม และการเติบโตทั้ง ICT value chain หลักกำรเบื้องต้น (First Principles) ด้ำนเศรษฐกิจดิจิทัล: บทบำทของรัฐ(ที่พึงเป็น) (ต่อ) 20
  • 21. 21 ที่มา: “Mapping Hacking Team’s “Untraceable” Spyware,” Citizen Lab, 2014
  • 22. 22 ที่มา: “Running in Circles,” Citizen Lab, 2020 Citizen Lab พบเบำะแสว่ำ กอ.รมน. และกองทัพใช้บริกำรของ Circles บริษัทที่ดักฟังข้อควำมและข้อมูลที่ส่งผ่ำนโทรศัพท์มือถือ
  • 23. 23 ที่มา: Freedom on the Net 2020, Freedom House
  • 24. สภำพแวดล้อมปัจจุบัน: ยังยำกที่จะสร้ำง “ควำมไว้วำงใจ” • พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ถูกเลื่อนกำรบังคับใช้ออกไป 1 ปี ยังไม่มี ประกำศแต่งตั้งคณะกรรมกำรคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในรำชกิจจำนุเบกษำ ทั้งที่ ผ่ำนขั้นตอนสรรหำ มีมติ ครม. ได้ชื่อกรรมกำรครบทุกคนแล้ว • บทบำทของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ดูจะเน้น “ปรำบปรำม” กำร แสดงออก(ที่มองว่ำผิดกฎหมำย) มำกกว่ำ “ส่งเสริม” เศรษฐกิจดิจิทัล • พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ฉบับแก้ไข ดูผิวเผินเหมือนดีกว่ำเดิม แต่ยังถูกนำมำใช้ คุกคำมผู้ที่วิพำกษ์วิจำรณ์รัฐและเอกชนอยู่ดี • ข้อสงสัยเกี่ยวกับกำรสอดส่องออนไลน์ของกองทัพ และ กอ.รมน. • ผลประโยชน์และหน้ำที่ทับซ้อน (?) ของหน่วยงำนขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล • แพล็ตฟอร์มต่ำงชำติไม่เสียภำษี, ไม่มี Startup Sandbox / Matching Fund • ไม่มีนโยบำยสนับสนุน Open API (เช่น กฎหมำย Open Banking ในอังกฤษ) 24
  • 25. ประเด็นอื่นๆ ที่ท้ำทำยเกี่ยวกับธุรกิจใน “เศรษฐกิจดิจิทัล” • ผลกระทบด้ำนสิ่งแวดล้อมเชิงลบ: กำรใช้พลังงำนมหำศำลของศูนย์ข้อมูล, ขยะ อิเล็กทรอนิกส์ • ผลกระทบด้ำนสิ่งแวดล้อมเชิงบวก: “กำรแปลงเป็นดิจิทัล” (digitization) เช่น ปริน เตอร์สำมมิติ และกำรเปลี่ยนจำก “ขำยสินค้ำ” (เช่น รถยนต์) เป็น “ขำยบริกำร” (เช่น แอพพลิเคชั่น Grab) สำมำรถช่วยลดกำรใช้พลังงำน ลดกำรใช้วัตถุดิบ และลดขยะได้ • มูลค่ำของ “ข้อมูล” และใครควรจ่ำย เช่น ในเมื่อ Facebook/Twitter/Instagram สร้ำงรำยได้จำกข้อมูลส่วนบุคคลของเรำ บริษัทควรจ่ำยเงินเรำหรือไม่ ? • จุดไหนเรำควรมอง “แพล็ตฟอร์ม” ว่ำเป็น “สินค้ำสำธำรณะ” (public goods) ? • “อำนำจเหนือตลำด” ที่ต้องขยำยนิยำม เมื่อ “ส่วนแบ่งตลำดในแง่ข้อมูล” (market share of data) สำคัญกว่ำ “ส่วนแบ่งตลำดในแง่รำยได้” (market share of sales) 25